SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 2
                                เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                                ั ่

         เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้ศึกษาจากเอกสารดังนี้
                            ั                   ั         ้ิั
                1. แนวคิดการจดการเรียนรู้ท่ีเนนผเู้ รียนเป็นสาคญ
                                 ั                ้           ํ ั
                                   ั
                2. ปฏิสัมพันธ์กบส่ื อคอมพวเตอร์
                                            ิ
                3. เครื อข่ายสังคมการเรี ยนรู ้
                4. Ning Social Network
                5. งานวจยท่ีเก่ียวของ
                         ิั          ้

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ

           แนวคิดการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญตามพระราชบัญญัติก ารศึ กษาแห่ งชาติ
พ.ศ. 2542 จากข้อมูลนโยบายเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ นามาสู่ การทําความ
                                                                                          ํ
เข้าใจเรื่ องหลักการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ การจัดการเรี ยนการสอนโดยเน้น
ผูเ้ รียนเป็นสําคญ หรือทีรู้จกในชื่อเดิมว่า การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง
                    ั         ่ ั
(Student Centered หรือ Child Centered)ในยุคของการปฏิรูปการศึกษานี้ ได้มีการกําหนดเป็ น
               ้ ่
กฎหมายแลววา ครู ทุกคนจะต้องใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จึงเป็น
ความจําเป็ นที่ครู ทุกคนจะต้องให้ความสนใจ โดยการศึกษา ทําความเข้าใจ และหาแนวทางมาใช้ใน
การปฏิบติงานของตนให้ประสบผลสําเร็ จแนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
            ั
กล่าวถึงการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยอมรับว่า บุคคลหรื อผูเ้ รี ยนมีความแตกต่างกันและทุกคนสามารถเรี ยนรู้
ได้ ดังนั้นในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ครู หรื อผูจดการเรี ยนรู้ควรมีความเชื่อพื้นฐาน
                                                                        ้ั
      ่ ้
อยางนอย 3 ประการ คือ (คณะกรรมการการอุดมศึกษา : 2551)
           1. เชื่อว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน
           2. เชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ได้ และ
           3. เช่ือวาการเรียนรู้เกิดไดทุกท่ี ทุกเวลา
                      ่                ้
           การจัดการเรี ยนรู ้จึงเป็ นการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่ อ สถานการณ์ ฯลฯ ให้ผเู้ รี ยนเกิด
การเรี ยนรู ้ได้เต็มตามศักยภาพ ครู จึงจําเป็ นที่จะต้องรู้จกผูเ้ รี ยนอย่างรอบด้าน และสามารถวิเคราะห์
                                                             ั
ข้อมูลเพื่อนําไปเป็ นพื้นฐานการออกแบบหรื อวางแผนการเรี ยนรู ้ได้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน สําหรับใน
7


การจัดกิจกรรมหรื อออกแบบการเรี ยนรู้ อาจทําได้หลายวิธีการและเทคนิค แต่มีขอควรคํานึงว่า ใน
                                                                                       ้
การจัดการเรี ยนรู้แต่ละครั้ง แต่ละเร่ื อง ไดเ้ ปิดโอกาสใหกบผเู้ รียนในเร่ื องต่อไปน้ ีหรือไม่
                                                             ้ ั
            1. เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนเป็นผเู้ ลือกหรือตดสินใจในเน้ื อหาสาระท่ีสนใจ เป็นประโยชน์ต่อ
                             ้                        ั
ตวผเู ้ รียนหรือไม่
   ั
            2. เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยไดคิด ไดรวบรวมความรู้และ
                               ้                                              ้     ้
ลงมือปฏิบติจริงดวยตนเองหรือไม่
               ั      ้
            จากท่ีกล่าวมาสรุปไดวาแนวคิดการจดการเรียนรู้ท่ียดผเู้ รียนเป็นศนยกลาง เป็นความจาเป็น
                                   ้่               ั                ึ          ู ์             ํ
ที่ครูทุกคนจะตองให้ความสนใจโดยการศึกษา ทําความเข้าใจ และหาแนวทางมาใช้ในการ
                    ้
ปฏิบติงานของตนให้ประสบผลสําเร็ จ โดยกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยอมรับว่า บุคคลหรือผเู ้ รียน
        ั
มีความแตกต่างกันและทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ได้ บนความเชื่อพื้นฐานอย่างน้อย 3 ประการ คือ เชื่อว่า
ทุกคนมีความแตกต่างกัน เชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู้ได้ และ เชื่อว่าการเรี ยนรู้เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา
การจัดการเรี ยนรู ้ จึงเป็ นการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่ อ สถานการณ์ ฯลฯ ให้ผเู้ รียนเกิด
การเรี ยนรู ้ได้เต็มตามศักยภาพ ครู จึงจําเป็ นที่จะต้องรู้จกผูเ้ รี ยนอย่างรอบด้าน และสามารถวิเคราะห์
                                                           ั
ข้อมูลเพื่อนําไปเป็ นพื้นฐานการออกแบบหรื อวางแผนการเรี ยนรู้ได้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน และ เปิด
โอกาสให้นกเรี ยนเป็ นผูเ้ ลื อกหรื อตัดสิ นใจในเนื้ อหาสาระที่สนใจ เป็นประโยชน์ต่อตวผูเ้ รียน
                 ั                                                                            ั
หรือไม่ เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้คิด ได้รวบรวมความรู้และลง
                           ้
มือปฏิ บ ติจริงด้วยตนเอง โดยกิ จกรรมการเรีย นรู้ที่ดีที่ค วรช่ วยให้ผูเ้ รีย นได้มีส่ วนร่วมทางด้า น
            ั
ร่ างกาย ทางสติปัญญา ทางสังคม และทางอารมณ์

ปฏสัมพนธ์กบส่ื อคอมพวเตอร์
  ิ ั ั             ิ

             การเรียนรู้ในกระบวนการเรียนการสอน ผสอนและผเู้ รียนจะตองมีปฏิสมพนธ์ โดย
                                                  ู้                       ้       ั ั
ปฏิสมพนธ์ในการเรียนรู้จะเกิดข้ ึนไดตองอาศยกิจกรรมการเรียนรู้เป็นตวนา ความสําคัญของการ
      ั ั                              ้ ้    ั                              ั ํ
เรี ยนรู ้ที่มีความหมายจึงมาจากส่ วนหนึ่งคือการมีปฏิสัมพันธ์ของผูเ้ รี ยน (วิชิต เทพประสิ ทธิ์ : 2553)
             ความหมายของปฏิสัมพันธ์คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ในการจัดการ
เรียนการสอนนิยมสร้างความสมพนธ์ในหองเรียนดวยการใหผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียน
                                  ั ั       ้        ้         ้
กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ท่ีจะใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
                                ้
             ปฏิสัมพนธ์ บริบทของ สื่ อคอมพิวเตอร์ หรือส่ ื ออีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) เป็นกิจกรรมท่ีมี
                     ั
การโต้ตอบและให้แรงเสริ ม (Feedback และ Reinforcement) กับการกระทําของผูเ้ รี ยน เช่น เว็บเพจ
ที่ประกอบด้วยเนื้ อหาที่เอกสารที่ถูกอัพโหลดเอาไว้เพื่อให้ผเู้ รี ยนอ่านอย่างเดียว คําศัพท์หรื อภาพ
8


บนเว็บสามารถที่สามารถอ่านคําอธิ บายเพิ่มเติมได้ โดยผูดูเว็บคลิกลิงค์เพือไปหน้าจอถัดไป ซึ่ งเป็ น
                                                                       ้              ่
หน้าจอที่แสดงคําอธิ บายนั้น โดยเว็บเพจที่ออกแบบโดยมากแลวอาจจะเรี ยกได้วา เป็ นเว็บเพจที่มี
                                                                                ้              ่
การโต้ตอบกับการกระทําของผูใชห รือผเู ้ รียน การทีผเู ้ รียนไดศึกษาและเรียนรู้จากเว็บเพจท่ีมีการ
                                           ้ ้                   ่            ้
โต้ตอบกับการกระทําของผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู ้ รี ยนมีแรงจูงใจในการเรี ยน ทั้งนี้แรงจูงใจจะมากหรื อน้อย
เพียงไรน้ นข้ ึนอยู่กบว่า จะสร้ างโปรแกรมการโต้ตอบและให้แรงเสริ มกับการกระทําของผูเ้ รี ยน
                 ั           ั
เอาไว้แบบไหนและอย่างไร กล่าวคือ การโตตอบและให้แรงเสริมกบการกระทาของผูเ้ รียนเป็น
                                                        ้                           ั              ํ
ปั จจัยสําคัญที่สุดในการกระตุนให้เกิดแรงจูงใจของผูเ้ รี ยน ดวยเหตุน้ ี ในการสร้างระบบการเรียน
                                       ้                                    ้
หรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ บนเว็บ จึงมีความจําเป็ นที่จะต้องคิดด้วยว่าจะสร้างโปรแกรมการโต้ตอบ
และให้ แ รงเสริ ม กับ การกระทํ าของผู้ เรี ย นเอาไว้อ ย่า งไร จึ ง จะทํ าให้ร ะบบการเรี ย นนั้น มี
ประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่ งเป็ นความสําคัญของการออกแบบสื่ อการสอน
                ในบริ บทของห้องเรี ยน ปฏิ สัมพันธ์คือ การสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม
ในการจัดการเรี ยนการสอนนิ ยมสร้ างความสัมพันธ์ในห้องเรี ยนด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมใน
การเรียน กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่จะให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอน เช่น ให้ผูเ้ รียน
อธิ บาย หรื อออกมาแก้ปัญหาโจทย์บนกระดานดํา การแก้ปัญหานั้นอาจจะเป็ นงานเดี่ยว หรื องาน
กลุ่ม ให้โอกาสถามตอบข้อสงสัย หรื อแสดงความคิดเห็นขณะเรี ยน ถามปั ญหาให้ผเู้ รี ยนตอบให้
ผูเ้ รี ยนค้นคว้าหาความรู ้ กิจกรรมดังกล่าวมีลกษณะของปฏิสัมพันธ์ 2 แบบคือ ปฏิสัมพนธ์ระหวาง
                                                      ั                                              ั     ่
ผสอนกบผเู ้ รียน และผเู ้ รียนกบผเู ้ รียน สิ่งสาคญท่ ีจะทาใหเ้ กิดปฏิสัมพนธ์ในกลุ่มผเู ้ รียน คือ จํานวน
  ู้        ั                        ั            ํ ั          ํ                  ั
ผเู้ รียนในกลุ่ม ความสามารถของผูเ้ รี ยน ลักษณะของผูนากลุ่ม และความสามัคคี
                                                                   ้ ํ
                สําหรับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนนั้น ปฏิสัมพันธ์ในทางตรงที่ผสอนใช้ ได้แก่
                                               ้                                            ู้
การพดติดต่อกบผเู ้ รียน หรือใชตาราหรืออุปกรณ์การสอน หรือเคร่ ื องมือ หรื อวิธีการให้ทางานหรื อ
          ู           ั                  ้ ํ                                                           ํ
การทํากิจกรรมต่าง ๆ เป็ นสื่ อในทางอ้อม ผูสอนอาจใช้ท่าทางการแสดงออก เช่น สั่นศีรษะ ยิม พยัก
                                                    ้                                                    ้
หน้า ซึ่ งผูเ้ รี ยนก็อาจใช้ปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ เหล่านี้กบผูสอนได้เช่นกัน
                                                           ั ้
                จากเอกสารที ่ก ล่ า วมา สรุ ป ได้ว่า การสร้ า งความสั ม พันธ์ ร ะหว่า งบุ คคลในกลุ่ ม ใน
การจัดการเรีย นการสอน นิ ย มสร้ างความสัม พันธ์ใ นห้องเรี ย นด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมี ส่วนร่ วมใน
กิจกรรมการเรียนรู้ประเภทต่าง กิจกรรมปฏิสัมพนธ์กบสื่ อคอมพิวเตอร์ จะมีการโต้ตอบและให้แรง
                                                          ั ั
เสริ มกับการกระทําของผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู้ รี ยนมีแรงจูงใจในการเรี ยนได้ ซึ่ งเป็ นปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
              ั
ผสอนกบผเู ้ รียนน้ น อาจเป็ นทั้งปฏิสัมพันธ์ในทางตรงที่ผสอนใช้ หรื อวิธีการให้ทางานหรื อการทํา
  ู้                    ั                                                ู้                      ํ
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ผสอนและ/หรือผเู ้ รียนไดจดไวในกิจกรรมการเรียนรู้
                          ู้                      ้ั ้
9


เครือข่ ายสั งคมการเรียนรู้

          ทุกวันนี้คนส่ วนใหญ่หนมาใช้การสื่ อสารผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี
                                  ั
        ิ                             ์         ั         ่
คอมพวเตอร์ การส่ ื อสาร และซอฟตแวร์ มีการพฒนาอยางรวดเร็ว ทําให้เกิดความสะดวกในการนํามาใช้อีก
ทั้งราคาของอุปกรณ์และเครื อข่ายไม่สูงนัก ทําให้สามารถนํามาใช้ในชีวตประจําวันมากขึ้น (อิทธิพล ปรีติ
                                                                          ิ
ประสงค์ : 2553)
          1. ความหมายของเครือข่ายสังคม
             เครือข่ายสังคม (Social Network) หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกันเป็ นสังคมมีการทํากิจกรรม
ร่ วมกันบนอินเทอร์ เน็ต ในรู ปแบบของเว็บไซต์มีการแผ่ขยายออกไปเรื่ อย ๆ เป็ นรู ปแบบของ
การสื่ อสารข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ทําให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื ออินเทอร์ เน็ตเป็ นสังคมขึ้นมา
การสร้างชุ มชนใหม่บนอินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือสําคัญในการติดต่อสื่ อสาร สามารถทํากิจกรรม
ต่างๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุ รกิจ และความบันเทิง
          2. ประเภทของส่ื อสังคม (Social Media)
              ทุกวันนี้ มีคนใช้ชีวิตอยู่กบสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน และมีการใช้สื่อสังคม หรื อ
                                         ั
Social Media ที่ผใช้เป็ นผูสื่อสาร หรื อเขียนเล่า เนื้ อหา เรื่ องราว ประสบการณ์ บทความ รู ปภาพ
                       ู้       ้
และวิดีโอ ท่ีผใชเ้ ขียนข้ ึนเอง ทาข้ ึนเอง หรื อพบเจอจากสื่ ออื่นๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบผูอื่นที่อยู่
                    ู้              ํ                                                         ั ้
ในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนออนไลน์ ปั จจุบนการสื่ อสาร  ั
แบบน้ ี ท ํา ผ่ า นทาง Internet และโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ เช่ น กระดานความคิ ด เห็ น เว็ บ บล็ อ ก
วกิ (wiki) Podcast รู ปภาพ และวิดีโอ โดยมีเทคโนโลยีที่รองรับเน้ื อหา (Content) เหล่านี้ ได้แก่
   ิ
เว็บบล็อก เว็บไซต์ที่แชร์ รูปภาพ แชร์ เพลง แชร์วิดีโอ เวบบอร์ด อีเมล์ IM (Instant Massage)
                                                                     ็
เครื่ องมือที่ให้บริ การ เช่น Voice over IP ส่วนเวบไซตที่ให้บริการ Social Network ได้แก่ Google
                                                      ็            ์
Group Face book MySpace หรือ YouTube เป็นตน                 ้
          3. เครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้
               Social Networking เป็ นรู ปแบบของเวบไซต์ ในการสร้างเครื อข่ายสังคม สําหรับ
                                                                 ็
ผูใช้งานในอินเทอร์ เน็ต เขียนและอธิ บายความสนใจ และกิ จการที่ได้ทา และเชื่อมโยงกับความ
     ้                                                                        ํ
สนใจและกิจกรรมของผอื่น ในบริ การเครื อข่ายสังคมที่ตองติดต่อกันในลักษณะ Real Time จะ
                             ู้                                        ้
ประกอบไปดวย การแช็ต ส่ งข้อความ ส่ งอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรู ป บล็อก บริ การเครื อข่าย
                  ้
สังคมที่เป็ นที่นิยมได้แก่ Avatars United, Bubo, Face book, LinkedIn, MySpace, Orkut, Sky rock,
Net log, Hi5, Friendster, Multiply โดยเว็บเหล่านี้มีผใช้มากมาย เช่น Hi5 เคยเป็นเวบไซตที่คนไทย
                                                              ู้                          ็    ์
ใช้ม ากที่ สุ ด ส่ ว นบริ ก ารเครื อ ข่า ยสัง คมที ่ท า ขึ้ นมาสํา หรั บ คนไทยโดยเฉพาะ คื อ Bangkok
                                                        ํ
10


Space ในขณะท่ี Orkut ก็เคยเป็ นที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย ตวอย่างเว็บ Face book
                                                                              ั
และ Multiply
             Social Network Aggregation เป็ นการติดต่อสื่ อสารเชื่อมโยงความสนใจและด้วยการแชร์
กิจกรรมของผูอื่นในบริ การเครื อข่ายสังคม เหมือนกับ Social Network อื่น แต่มีโปรแกรมทํางานที่
                      ้
ให้ความยินยอมให้กลุ่มเครื อข่ายสังคมอื่นข้ามเข้ามาทําติดต่อทํากิจกรรมในเว็บได้ ด้วยการใช้ระบุ
ตัวตนและผูเ้ ป็ นสมาชิ กยอมรับ เช่น เวบ Friend feed หรือ Spokeo หมวดความร่ วมมือ และ
                                               ็
แบ่งปั น (Collaboration) จะมีกลุ่ม Wikis, Social bookmarking, Social news และ Opinion sites
Wikipedia เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง ซึ่ งก็คือสารานุ กรมออนไลน์ ที่จดทําขึ้นมาในหลาย ๆ
                                                                                ั
ภาษาในลักษณะเน้ือหาเสรี คําว่า “วกิพเี ดีย” มีทีมาของชื่อการผสมคําของคําว่า “วกิ” (Wiki) ซ่ ึ งเป็น
                                        ิ               ่                         ิ
ลักษณะของการสร้างเว็บไซต์ที่ร่วมกันปรับปรุ ง และคําว่า “เอนไซโคลพีเดีย” (Encyclopedia) ท่ี
แปลวาสารานุกรม เวบไซตก่อต้ งเม่ือปี พ.ศ. 2544 โดย จิมมี เวลส์ และ แลร์รี แซงเจอร์
         ่                 ็     ์ ั
             Social Bookmarking คือ บริการบนเวบที่แบ่งบนการคนหน้าอินเทอร์ เน็ต เวบไซตบริการ
                                                      ็         ั       ่ั            ็       ์
คันหน้าแบบรวมกลุ่มเป็ นที่นิยมในการจัดเก็บ แบ่งหมวดหมู่ แบ่งปั น และค้นหาลิงก์ดวยเทคนิค
  ่                                                                                         ้
โฟล์คโซโน (Folksonomy หรืออนุกรมวิธานที่ผูใช้สร้ างเอง) บนอิ นเทอร์ เน็ตหรื ออินทราเน็ต
                                                            ้
นอกจากการคนหนาสําหรับหน้าเว็บแล้วบริ การคันหน้าสําหรับเฉพาะเนื้อหาบางหัวข้อหรื อเฉพาะ
                    ่ั ้                                  ่
สําหรับการจดรูปแบบบางแบบ เช่น ฟีด หนังสื อ วีดิทศน์ รายการสิ นค้าและบริ การ ที่ต้ งในแผนที่
                  ั                                           ั                           ั
ฯลฯ ก็สามารถพบได้ คันหน้าแบบรวมกลุ่มยังเป็ นส่วนหน่ ึงของเว็บข่าวแบบรวมกลุ่ม เช่น Stumble
                               ่
Upon
             Social News เว็บกลุ่มข่าวสารที่ผใช้สามารถส่ งข่าว โดยผสม Social Bookmarking บล็อก
                                                 ู้
และการเชื ่อมโยงเนื้ อ หาเว็บ เข้ าด้วยกัน และมี ก ารกรองคัด เลื อ กเนื้ อหาในลั กษณะการร่ ว ม
ลงคะแนนที่ทุกคนเท่าเทียมกัน (ไม่มีลาดับชั้น) เนื้ อหาข่าวและเว็บไซต์จะถูกส่ งเข้ามาโดยผูใช้
                                             ํ                                                   ้
                             ้            ้         ่
จากน้ นจะถูกเล่ือนใหไปแสดงท่ีหนาแรกผานระบบการจดอนดบโดยผใช้ ซึ่ งข่าวอาจอยูในรู ปแบบ
       ั                                                          ั ั ั    ู้           ่
ของสิ่ งพิมพ์ การกระจายเสี ยง อินเทอร์เน็ต การบอกเล่าเร่ื องราวของบุคคลอื่น หรื อกลุ่ม
             สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ (Knowledge-based Society) (แสงหล้า เรื องพยัคฆ์. 2550) จึงเป็น
กระบวนการหนึ่งทางสังคมที่เกื้อหนุนส่ งเสริ มให้บุคคลหรื อสมาชิกในชุมชน/สังคมเกิดการเรี ยนรู ้
โดยผ่านสื่ อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการเรี ยนรู้ องค์ความรู้ ต่าง ๆ จนสามารถสร้ างความรู้
สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู ้และระบบการเรี ยนรู ้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู ้และแลกเปลี่ยน
เรี ยนรู ้ ร่วมกันทุกภาคส่ วนในสังคม ทําให้เกิดพลังสร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็ นเครื่ องมือในการ
                         ่ื ้
เลือกและตดสินใจเพอแกปัญหาและพัฒนาอย่างเหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
                ั
11


            ลักษณะสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ ไม่จากัดขนาดและสถานที่ต้ง เน้นการจัดการเรี ยนรู ้เป็ นปั จจัย
                                                 ํ                   ั
หลัก ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็ นตัวหลักใน
การริเร่ิ ม/ดําเนิ นการ (Key Institutions) มีกลุ่มภาคประชาชนเป็ นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อ
รวมตัวกันจัดกิจกรรมพฒนาชุมชน มีการพฒนานวตกรรม และระบบการเรียนรู้ มีภาคีเครือข่ายท่ีร่วม
                             ั                       ั ั
ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการริ เริ่ ม/การเปล่ียนแปลงอยตลอดเวลา สถานศึกษาเป็นส่วนหน่ ึ งของชุมชน
                                                           ู่
แห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบเป็นหนาท่ีของบุคคลและชุมชนร่วมกน และทุกคนเป็นครูและผูเ้ รียน
                                               ้                        ั
ตัวชี้วดความสําเร็ จของสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ คือ (แสงหล้า เรื องพยัคฆ์ : 2550)
       ั
               3.1 มีกระบวนการกลุ่ม มีประเดนปัญหาร่วมและมีกระบวนการแกปัญหาร่วมกนอยาง
                                                   ็                               ้          ั ่
เป็นรูปธรรม
                                                                                           ู่ ื
               3.2 มีการจัดการให้เกิดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง โดยอยบนพ้นฐาน
ของการมีส่วนร่ วมของประชาชนและทุกภาคส่ วนในสังคม
               3.3 บุคคล กลุ่มคน ชุมชน มีโอกาสเข้าถึงความรู ้ มีการเรี ยนรู ้ เกิดความคิดใหม่ ความรู ้
ใหม่ ทางเลือกใหม่ พลังใหม่ๆ ข้ ึนในสงคม      ั
               3.4 มีการพัฒนาองค์ความรู ้อย่างต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน
            สังคมแห่งการเรี ยนรู ้เป็ นสังคมแห่งภูมิปัญญา ตระหนักถึงความสําคัญ ความจําเป็ นของ
การเรี ยนรู ้ที่ทุกคนและทุกส่ วนในสังคมมีความใฝ่ รู ้และพร้อมที่จะเรี ยนรู ้อยูเ่ สมอ การเรี ยนรู ้ตลอด
ชีวตเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นและมีความต่อเนื่องเป็ นปกติวสัยในชีวตประจําวันของคนทุกคน ไปจนตลอด
    ิ                                                    ิ      ิ
สิ้นอายขย เป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ ึนไดในทุกเวลา ทุกสถานท่ี ของคนทุกคนในทุกสภาพแวดลอมท่ี
          ุ ั                              ้                                                        ้
                     ้ ั ั ํ
เหมาะสมภายใตตวช้ ีวดท่ีกาหนด

Ning Social Network

                                                                           ั ู่ ้ ั
          Ning คือ Social Network เป็นการรวมเอาผท่ีชอบอะไรท่ีเหมือนกนอยดวยกน และสร้าง
                                                      ู้
ชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการ และความสนใจของพวกเขา เนื้ อหาที่ดี จะทําให้ผเู ้ ข้าใช้มาร่ วม
  ้                                               ่                                        ํ
ดวยตนเอง และสร้างสิ่ งที่ดีเพื่อชุมชนของเขาอย่างยังยืน (ระดมพล ช่วยชูชาติ. 2553 : 1) จุดกาเนิด
Ning เกิดข้ ึนในปี 2004 โดยผูก่อตั้ง Ning.com คือ Gina Bianchini และ Marc Andreessen เจาของ
                                 ้                                                       ้
เดียวกบ Netscape เว็บเบราเซอร์ รุ่นแรก ๆ ความตั้งในในการตั้ง Ning ขึ้นมา เพื่อเป็ นชุมชน
      ั
                                                    ั      ้้ ั
ออนไลน์ ท่ีรวมเอาคนท่ีมีความช่ืนชอบในส่ิ งเดียวกนมาไวดวยกน ปัจจุบน Ning มีชุมชนภายใน
                                                                         ั
เว็บไซต์มากกว่า 270,000 ชุมชน จากสมาชิก 176 ประเทศทัวโลก เม่ือเขาเป็นสมาชิกของ Ning สามารถ
                                                         ่        ้
คนหาเวบ Ning ในสิ่งท่ีเราสนใจ โดยร่วม Join กับกลุ่มนั้น ๆ ได้ ขึ้นอยูกบความสนใจ และสมาชิก
    ้   ็                                                            ่ ั
สามารถสร้างกลุ่มที่สนใจได้ดวยตนเอง หากชุมชนมีขนาดใหญ่มาก ก็สมามารถสร้างกลุ่มย่อย
                               ้
ภายในกลุ่มใหญ่ไดอีกดวย
                    ้ ้
12


          คนไทยนํา Ning มาใชหลายรูปแบบ เช่น viralthai.ning.com ซึ่ งเป็ นแหล่งรวมผูที่ตองการ
                                        ้                                                       ้ ้
เผยแพร่ เรื่ องราวในรู ปแบบของวีดิโอคลิปที่เป็ น Viral Clip โดยมีสมาชิ กที่ชื่นชอบในการทํา Clip
                                 ่ ่ั
Video แบบ Viral กระจายอยูทวโลก เนื่องจาก Ning สามารถสร้างชุมชนและสร้างเว็บไซต์ได้อย่าง
ง่ายและสะดวก thaiweb.ning.com เป็น Human Network ที่เป็ นแหล่งรวมคนทําเว็บ ทั้งที่เป็ น
Webmaster, Web Programmer Web Design, Web Content หรื อ คนเขียนบล็อก เพื่อแลกเปลี่ยน
เรี ยนความคิดเห็ นระหว่างคนทําเว็บ และใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์น้ ี เพื่อการศึกษาหรื อการทํางาน
และโดยทวไป Ning สามารถใชเ้ ป็นเวบไซต์ ในสังคมของคนทีชอบในสิ่ ง ซึ่ งเป็ นชุ มชนที่สร้าง
             ั่                                ็                        ่
                   ั
ความสนใจให้กบสมาชิกที่มีอุดมการณ์และความชื่นชอบในสิ่ งเดียวกันเข้าร่ วมเป็ นเครื อข่าย
          ทางด้านการศึกษา สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานได้นาเว็บไซต์ Ning มาเป็ นเครื่ องมือใน
                                                                    ํ
การจัด อบรมศึ ก ษานิ เ ทศก์ อบรมครู และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาเพือส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ให้ก ับ
                                                                             ่
ศึกษานิเทศก์ จํานวน 8 รุ่ น ตามภูมิภาคภายใต้เครื อข่าย kruthai.ning.com เพื่อให้เป็ นวิทยากรอาวุโส
                                                 ั
และไปดําเนินการอบรมเพื่อถ่ายทอดให้กบครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่อไป
          จากการศึกษาเครื อข่ายสังคม ผวิจยได้มีความสนใจในการศึกษาการนา Ning Social
                                                   ู้ ั                                   ํ
Network มาใช้เป็ นเครื่ องมื อในการเรี ย นการรู้ เพื่อให้เป็ นเครื อข่ ายการเรี ยนรู้ ของผูเ้ รี ยน โดย
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ดวยประเด็นถาม-ตอบ เพื่อให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่ วมและมีปฏิสัมพันธ์ใน
                                      ้
การเรี ย นรู ้ บ นเครื อข่ า ย และเพื่ อศึ ก ษาความพึง พอใจของผูเ้ รี ย นทีมี ต่อการเรีย นรู้ด้วยเว็บ ไซต์
                                                                           ่
เครื อข่ายสังคม

งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
               ่

       วราภรณ์ ตระกลสฤษด์ ิ (2545 : ง) ได้ศึกษา เรื่ องการนําเสนอรู ปแบบการเรี ยนการสอนบน
                       ู
เว็บด้วยการเรี ยนรู ้แบบโครงงานเพื่อการเรี ยนรู ้เป็ นทีม   ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกลาธนบุรี ช้ นปีท่ี 1 ท่ีลงทะเบียนรายวชา SSC 334 จิตวทยาการปรับตว จานวน 30 คน แบ่งเป็น
    ้          ั                       ิ                  ิ          ั ํ
กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ทดลองเรี ยนตามรู ปแบบจํานวน 15 สัปดาห์ ผลการทดลองพบวา กลุ่มตวอยางมี
                                                                             ่       ั ่
คะแนนการเรียนรู้เป็ นทีมเพิมขึ้น การทํางานเป็ นทีมและความร่ วมมือในการทํางานเป็ นทีมเป็ นไป
                             ่
                                   ั              ่
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีคะแนนหลงเรียนสูงกวาคะแนนก่อนการเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ .05
                                                                         ั
และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อรู ปแบบในระดับมาก

More Related Content

What's hot

การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 

What's hot (15)

ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

Similar to Ch 2

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar to Ch 2 (20)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Ch 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้ศึกษาจากเอกสารดังนี้ ั ั ้ิั 1. แนวคิดการจดการเรียนรู้ท่ีเนนผเู้ รียนเป็นสาคญ ั ้ ํ ั ั 2. ปฏิสัมพันธ์กบส่ื อคอมพวเตอร์ ิ 3. เครื อข่ายสังคมการเรี ยนรู ้ 4. Ning Social Network 5. งานวจยท่ีเก่ียวของ ิั ้ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ แนวคิดการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญตามพระราชบัญญัติก ารศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 จากข้อมูลนโยบายเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ นามาสู่ การทําความ ํ เข้าใจเรื่ องหลักการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ การจัดการเรี ยนการสอนโดยเน้น ผูเ้ รียนเป็นสําคญ หรือทีรู้จกในชื่อเดิมว่า การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ั ่ ั (Student Centered หรือ Child Centered)ในยุคของการปฏิรูปการศึกษานี้ ได้มีการกําหนดเป็ น ้ ่ กฎหมายแลววา ครู ทุกคนจะต้องใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จึงเป็น ความจําเป็ นที่ครู ทุกคนจะต้องให้ความสนใจ โดยการศึกษา ทําความเข้าใจ และหาแนวทางมาใช้ใน การปฏิบติงานของตนให้ประสบผลสําเร็ จแนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ั กล่าวถึงการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยอมรับว่า บุคคลหรื อผูเ้ รี ยนมีความแตกต่างกันและทุกคนสามารถเรี ยนรู้ ได้ ดังนั้นในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ครู หรื อผูจดการเรี ยนรู้ควรมีความเชื่อพื้นฐาน ้ั ่ ้ อยางนอย 3 ประการ คือ (คณะกรรมการการอุดมศึกษา : 2551) 1. เชื่อว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน 2. เชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ได้ และ 3. เช่ือวาการเรียนรู้เกิดไดทุกท่ี ทุกเวลา ่ ้ การจัดการเรี ยนรู ้จึงเป็ นการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่ อ สถานการณ์ ฯลฯ ให้ผเู้ รี ยนเกิด การเรี ยนรู ้ได้เต็มตามศักยภาพ ครู จึงจําเป็ นที่จะต้องรู้จกผูเ้ รี ยนอย่างรอบด้าน และสามารถวิเคราะห์ ั ข้อมูลเพื่อนําไปเป็ นพื้นฐานการออกแบบหรื อวางแผนการเรี ยนรู ้ได้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน สําหรับใน
  • 2. 7 การจัดกิจกรรมหรื อออกแบบการเรี ยนรู้ อาจทําได้หลายวิธีการและเทคนิค แต่มีขอควรคํานึงว่า ใน ้ การจัดการเรี ยนรู้แต่ละครั้ง แต่ละเร่ื อง ไดเ้ ปิดโอกาสใหกบผเู้ รียนในเร่ื องต่อไปน้ ีหรือไม่ ้ ั 1. เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนเป็นผเู้ ลือกหรือตดสินใจในเน้ื อหาสาระท่ีสนใจ เป็นประโยชน์ต่อ ้ ั ตวผเู ้ รียนหรือไม่ ั 2. เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยไดคิด ไดรวบรวมความรู้และ ้ ้ ้ ลงมือปฏิบติจริงดวยตนเองหรือไม่ ั ้ จากท่ีกล่าวมาสรุปไดวาแนวคิดการจดการเรียนรู้ท่ียดผเู้ รียนเป็นศนยกลาง เป็นความจาเป็น ้่ ั ึ ู ์ ํ ที่ครูทุกคนจะตองให้ความสนใจโดยการศึกษา ทําความเข้าใจ และหาแนวทางมาใช้ในการ ้ ปฏิบติงานของตนให้ประสบผลสําเร็ จ โดยกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ยอมรับว่า บุคคลหรือผเู ้ รียน ั มีความแตกต่างกันและทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ได้ บนความเชื่อพื้นฐานอย่างน้อย 3 ประการ คือ เชื่อว่า ทุกคนมีความแตกต่างกัน เชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู้ได้ และ เชื่อว่าการเรี ยนรู้เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา การจัดการเรี ยนรู ้ จึงเป็ นการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่ อ สถานการณ์ ฯลฯ ให้ผเู้ รียนเกิด การเรี ยนรู ้ได้เต็มตามศักยภาพ ครู จึงจําเป็ นที่จะต้องรู้จกผูเ้ รี ยนอย่างรอบด้าน และสามารถวิเคราะห์ ั ข้อมูลเพื่อนําไปเป็ นพื้นฐานการออกแบบหรื อวางแผนการเรี ยนรู้ได้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน และ เปิด โอกาสให้นกเรี ยนเป็ นผูเ้ ลื อกหรื อตัดสิ นใจในเนื้ อหาสาระที่สนใจ เป็นประโยชน์ต่อตวผูเ้ รียน ั ั หรือไม่ เปิดโอกาสใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้คิด ได้รวบรวมความรู้และลง ้ มือปฏิ บ ติจริงด้วยตนเอง โดยกิ จกรรมการเรีย นรู้ที่ดีที่ค วรช่ วยให้ผูเ้ รีย นได้มีส่ วนร่วมทางด้า น ั ร่ างกาย ทางสติปัญญา ทางสังคม และทางอารมณ์ ปฏสัมพนธ์กบส่ื อคอมพวเตอร์ ิ ั ั ิ การเรียนรู้ในกระบวนการเรียนการสอน ผสอนและผเู้ รียนจะตองมีปฏิสมพนธ์ โดย ู้ ้ ั ั ปฏิสมพนธ์ในการเรียนรู้จะเกิดข้ ึนไดตองอาศยกิจกรรมการเรียนรู้เป็นตวนา ความสําคัญของการ ั ั ้ ้ ั ั ํ เรี ยนรู ้ที่มีความหมายจึงมาจากส่ วนหนึ่งคือการมีปฏิสัมพันธ์ของผูเ้ รี ยน (วิชิต เทพประสิ ทธิ์ : 2553) ความหมายของปฏิสัมพันธ์คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ในการจัดการ เรียนการสอนนิยมสร้างความสมพนธ์ในหองเรียนดวยการใหผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียน ั ั ้ ้ ้ กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ท่ีจะใหผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ้ ปฏิสัมพนธ์ บริบทของ สื่ อคอมพิวเตอร์ หรือส่ ื ออีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) เป็นกิจกรรมท่ีมี ั การโต้ตอบและให้แรงเสริ ม (Feedback และ Reinforcement) กับการกระทําของผูเ้ รี ยน เช่น เว็บเพจ ที่ประกอบด้วยเนื้ อหาที่เอกสารที่ถูกอัพโหลดเอาไว้เพื่อให้ผเู้ รี ยนอ่านอย่างเดียว คําศัพท์หรื อภาพ
  • 3. 8 บนเว็บสามารถที่สามารถอ่านคําอธิ บายเพิ่มเติมได้ โดยผูดูเว็บคลิกลิงค์เพือไปหน้าจอถัดไป ซึ่ งเป็ น ้ ่ หน้าจอที่แสดงคําอธิ บายนั้น โดยเว็บเพจที่ออกแบบโดยมากแลวอาจจะเรี ยกได้วา เป็ นเว็บเพจที่มี ้ ่ การโต้ตอบกับการกระทําของผูใชห รือผเู ้ รียน การทีผเู ้ รียนไดศึกษาและเรียนรู้จากเว็บเพจท่ีมีการ ้ ้ ่ ้ โต้ตอบกับการกระทําของผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู ้ รี ยนมีแรงจูงใจในการเรี ยน ทั้งนี้แรงจูงใจจะมากหรื อน้อย เพียงไรน้ นข้ ึนอยู่กบว่า จะสร้ างโปรแกรมการโต้ตอบและให้แรงเสริ มกับการกระทําของผูเ้ รี ยน ั ั เอาไว้แบบไหนและอย่างไร กล่าวคือ การโตตอบและให้แรงเสริมกบการกระทาของผูเ้ รียนเป็น ้ ั ํ ปั จจัยสําคัญที่สุดในการกระตุนให้เกิดแรงจูงใจของผูเ้ รี ยน ดวยเหตุน้ ี ในการสร้างระบบการเรียน ้ ้ หรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ บนเว็บ จึงมีความจําเป็ นที่จะต้องคิดด้วยว่าจะสร้างโปรแกรมการโต้ตอบ และให้ แ รงเสริ ม กับ การกระทํ าของผู้ เรี ย นเอาไว้อ ย่า งไร จึ ง จะทํ าให้ร ะบบการเรี ย นนั้น มี ประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่ งเป็ นความสําคัญของการออกแบบสื่ อการสอน ในบริ บทของห้องเรี ยน ปฏิ สัมพันธ์คือ การสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ในการจัดการเรี ยนการสอนนิ ยมสร้ างความสัมพันธ์ในห้องเรี ยนด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมใน การเรียน กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่จะให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอน เช่น ให้ผูเ้ รียน อธิ บาย หรื อออกมาแก้ปัญหาโจทย์บนกระดานดํา การแก้ปัญหานั้นอาจจะเป็ นงานเดี่ยว หรื องาน กลุ่ม ให้โอกาสถามตอบข้อสงสัย หรื อแสดงความคิดเห็นขณะเรี ยน ถามปั ญหาให้ผเู้ รี ยนตอบให้ ผูเ้ รี ยนค้นคว้าหาความรู ้ กิจกรรมดังกล่าวมีลกษณะของปฏิสัมพันธ์ 2 แบบคือ ปฏิสัมพนธ์ระหวาง ั ั ่ ผสอนกบผเู ้ รียน และผเู ้ รียนกบผเู ้ รียน สิ่งสาคญท่ ีจะทาใหเ้ กิดปฏิสัมพนธ์ในกลุ่มผเู ้ รียน คือ จํานวน ู้ ั ั ํ ั ํ ั ผเู้ รียนในกลุ่ม ความสามารถของผูเ้ รี ยน ลักษณะของผูนากลุ่ม และความสามัคคี ้ ํ สําหรับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนนั้น ปฏิสัมพันธ์ในทางตรงที่ผสอนใช้ ได้แก่ ้ ู้ การพดติดต่อกบผเู ้ รียน หรือใชตาราหรืออุปกรณ์การสอน หรือเคร่ ื องมือ หรื อวิธีการให้ทางานหรื อ ู ั ้ ํ ํ การทํากิจกรรมต่าง ๆ เป็ นสื่ อในทางอ้อม ผูสอนอาจใช้ท่าทางการแสดงออก เช่น สั่นศีรษะ ยิม พยัก ้ ้ หน้า ซึ่ งผูเ้ รี ยนก็อาจใช้ปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ เหล่านี้กบผูสอนได้เช่นกัน ั ้ จากเอกสารที ่ก ล่ า วมา สรุ ป ได้ว่า การสร้ า งความสั ม พันธ์ ร ะหว่า งบุ คคลในกลุ่ ม ใน การจัดการเรีย นการสอน นิ ย มสร้ างความสัม พันธ์ใ นห้องเรี ย นด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมี ส่วนร่ วมใน กิจกรรมการเรียนรู้ประเภทต่าง กิจกรรมปฏิสัมพนธ์กบสื่ อคอมพิวเตอร์ จะมีการโต้ตอบและให้แรง ั ั เสริ มกับการกระทําของผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู้ รี ยนมีแรงจูงใจในการเรี ยนได้ ซึ่ งเป็ นปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ั ผสอนกบผเู ้ รียนน้ น อาจเป็ นทั้งปฏิสัมพันธ์ในทางตรงที่ผสอนใช้ หรื อวิธีการให้ทางานหรื อการทํา ู้ ั ู้ ํ กิจกรรมต่าง ๆ ที่ผสอนและ/หรือผเู ้ รียนไดจดไวในกิจกรรมการเรียนรู้ ู้ ้ั ้
  • 4. 9 เครือข่ ายสั งคมการเรียนรู้ ทุกวันนี้คนส่ วนใหญ่หนมาใช้การสื่ อสารผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี ั ิ ์ ั ่ คอมพวเตอร์ การส่ ื อสาร และซอฟตแวร์ มีการพฒนาอยางรวดเร็ว ทําให้เกิดความสะดวกในการนํามาใช้อีก ทั้งราคาของอุปกรณ์และเครื อข่ายไม่สูงนัก ทําให้สามารถนํามาใช้ในชีวตประจําวันมากขึ้น (อิทธิพล ปรีติ ิ ประสงค์ : 2553) 1. ความหมายของเครือข่ายสังคม เครือข่ายสังคม (Social Network) หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกันเป็ นสังคมมีการทํากิจกรรม ร่ วมกันบนอินเทอร์ เน็ต ในรู ปแบบของเว็บไซต์มีการแผ่ขยายออกไปเรื่ อย ๆ เป็ นรู ปแบบของ การสื่ อสารข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ทําให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื ออินเทอร์ เน็ตเป็ นสังคมขึ้นมา การสร้างชุ มชนใหม่บนอินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือสําคัญในการติดต่อสื่ อสาร สามารถทํากิจกรรม ต่างๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุ รกิจ และความบันเทิง 2. ประเภทของส่ื อสังคม (Social Media) ทุกวันนี้ มีคนใช้ชีวิตอยู่กบสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน และมีการใช้สื่อสังคม หรื อ ั Social Media ที่ผใช้เป็ นผูสื่อสาร หรื อเขียนเล่า เนื้ อหา เรื่ องราว ประสบการณ์ บทความ รู ปภาพ ู้ ้ และวิดีโอ ท่ีผใชเ้ ขียนข้ ึนเอง ทาข้ ึนเอง หรื อพบเจอจากสื่ ออื่นๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบผูอื่นที่อยู่ ู้ ํ ั ้ ในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนออนไลน์ ปั จจุบนการสื่ อสาร ั แบบน้ ี ท ํา ผ่ า นทาง Internet และโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ เช่ น กระดานความคิ ด เห็ น เว็ บ บล็ อ ก วกิ (wiki) Podcast รู ปภาพ และวิดีโอ โดยมีเทคโนโลยีที่รองรับเน้ื อหา (Content) เหล่านี้ ได้แก่ ิ เว็บบล็อก เว็บไซต์ที่แชร์ รูปภาพ แชร์ เพลง แชร์วิดีโอ เวบบอร์ด อีเมล์ IM (Instant Massage) ็ เครื่ องมือที่ให้บริ การ เช่น Voice over IP ส่วนเวบไซตที่ให้บริการ Social Network ได้แก่ Google ็ ์ Group Face book MySpace หรือ YouTube เป็นตน ้ 3. เครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้ Social Networking เป็ นรู ปแบบของเวบไซต์ ในการสร้างเครื อข่ายสังคม สําหรับ ็ ผูใช้งานในอินเทอร์ เน็ต เขียนและอธิ บายความสนใจ และกิ จการที่ได้ทา และเชื่อมโยงกับความ ้ ํ สนใจและกิจกรรมของผอื่น ในบริ การเครื อข่ายสังคมที่ตองติดต่อกันในลักษณะ Real Time จะ ู้ ้ ประกอบไปดวย การแช็ต ส่ งข้อความ ส่ งอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรู ป บล็อก บริ การเครื อข่าย ้ สังคมที่เป็ นที่นิยมได้แก่ Avatars United, Bubo, Face book, LinkedIn, MySpace, Orkut, Sky rock, Net log, Hi5, Friendster, Multiply โดยเว็บเหล่านี้มีผใช้มากมาย เช่น Hi5 เคยเป็นเวบไซตที่คนไทย ู้ ็ ์ ใช้ม ากที่ สุ ด ส่ ว นบริ ก ารเครื อ ข่า ยสัง คมที ่ท า ขึ้ นมาสํา หรั บ คนไทยโดยเฉพาะ คื อ Bangkok ํ
  • 5. 10 Space ในขณะท่ี Orkut ก็เคยเป็ นที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย ตวอย่างเว็บ Face book ั และ Multiply Social Network Aggregation เป็ นการติดต่อสื่ อสารเชื่อมโยงความสนใจและด้วยการแชร์ กิจกรรมของผูอื่นในบริ การเครื อข่ายสังคม เหมือนกับ Social Network อื่น แต่มีโปรแกรมทํางานที่ ้ ให้ความยินยอมให้กลุ่มเครื อข่ายสังคมอื่นข้ามเข้ามาทําติดต่อทํากิจกรรมในเว็บได้ ด้วยการใช้ระบุ ตัวตนและผูเ้ ป็ นสมาชิ กยอมรับ เช่น เวบ Friend feed หรือ Spokeo หมวดความร่ วมมือ และ ็ แบ่งปั น (Collaboration) จะมีกลุ่ม Wikis, Social bookmarking, Social news และ Opinion sites Wikipedia เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง ซึ่ งก็คือสารานุ กรมออนไลน์ ที่จดทําขึ้นมาในหลาย ๆ ั ภาษาในลักษณะเน้ือหาเสรี คําว่า “วกิพเี ดีย” มีทีมาของชื่อการผสมคําของคําว่า “วกิ” (Wiki) ซ่ ึ งเป็น ิ ่ ิ ลักษณะของการสร้างเว็บไซต์ที่ร่วมกันปรับปรุ ง และคําว่า “เอนไซโคลพีเดีย” (Encyclopedia) ท่ี แปลวาสารานุกรม เวบไซตก่อต้ งเม่ือปี พ.ศ. 2544 โดย จิมมี เวลส์ และ แลร์รี แซงเจอร์ ่ ็ ์ ั Social Bookmarking คือ บริการบนเวบที่แบ่งบนการคนหน้าอินเทอร์ เน็ต เวบไซตบริการ ็ ั ่ั ็ ์ คันหน้าแบบรวมกลุ่มเป็ นที่นิยมในการจัดเก็บ แบ่งหมวดหมู่ แบ่งปั น และค้นหาลิงก์ดวยเทคนิค ่ ้ โฟล์คโซโน (Folksonomy หรืออนุกรมวิธานที่ผูใช้สร้ างเอง) บนอิ นเทอร์ เน็ตหรื ออินทราเน็ต ้ นอกจากการคนหนาสําหรับหน้าเว็บแล้วบริ การคันหน้าสําหรับเฉพาะเนื้อหาบางหัวข้อหรื อเฉพาะ ่ั ้ ่ สําหรับการจดรูปแบบบางแบบ เช่น ฟีด หนังสื อ วีดิทศน์ รายการสิ นค้าและบริ การ ที่ต้ งในแผนที่ ั ั ั ฯลฯ ก็สามารถพบได้ คันหน้าแบบรวมกลุ่มยังเป็ นส่วนหน่ ึงของเว็บข่าวแบบรวมกลุ่ม เช่น Stumble ่ Upon Social News เว็บกลุ่มข่าวสารที่ผใช้สามารถส่ งข่าว โดยผสม Social Bookmarking บล็อก ู้ และการเชื ่อมโยงเนื้ อ หาเว็บ เข้ าด้วยกัน และมี ก ารกรองคัด เลื อ กเนื้ อหาในลั กษณะการร่ ว ม ลงคะแนนที่ทุกคนเท่าเทียมกัน (ไม่มีลาดับชั้น) เนื้ อหาข่าวและเว็บไซต์จะถูกส่ งเข้ามาโดยผูใช้ ํ ้ ้ ้ ่ จากน้ นจะถูกเล่ือนใหไปแสดงท่ีหนาแรกผานระบบการจดอนดบโดยผใช้ ซึ่ งข่าวอาจอยูในรู ปแบบ ั ั ั ั ู้ ่ ของสิ่ งพิมพ์ การกระจายเสี ยง อินเทอร์เน็ต การบอกเล่าเร่ื องราวของบุคคลอื่น หรื อกลุ่ม สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ (Knowledge-based Society) (แสงหล้า เรื องพยัคฆ์. 2550) จึงเป็น กระบวนการหนึ่งทางสังคมที่เกื้อหนุนส่ งเสริ มให้บุคคลหรื อสมาชิกในชุมชน/สังคมเกิดการเรี ยนรู ้ โดยผ่านสื่ อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการเรี ยนรู้ องค์ความรู้ ต่าง ๆ จนสามารถสร้ างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู ้และระบบการเรี ยนรู ้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู ้และแลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ ร่วมกันทุกภาคส่ วนในสังคม ทําให้เกิดพลังสร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็ นเครื่ องมือในการ ่ื ้ เลือกและตดสินใจเพอแกปัญหาและพัฒนาอย่างเหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ั
  • 6. 11 ลักษณะสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ ไม่จากัดขนาดและสถานที่ต้ง เน้นการจัดการเรี ยนรู ้เป็ นปั จจัย ํ ั หลัก ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็ นตัวหลักใน การริเร่ิ ม/ดําเนิ นการ (Key Institutions) มีกลุ่มภาคประชาชนเป็ นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อ รวมตัวกันจัดกิจกรรมพฒนาชุมชน มีการพฒนานวตกรรม และระบบการเรียนรู้ มีภาคีเครือข่ายท่ีร่วม ั ั ั ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการริ เริ่ ม/การเปล่ียนแปลงอยตลอดเวลา สถานศึกษาเป็นส่วนหน่ ึ งของชุมชน ู่ แห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบเป็นหนาท่ีของบุคคลและชุมชนร่วมกน และทุกคนเป็นครูและผูเ้ รียน ้ ั ตัวชี้วดความสําเร็ จของสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ คือ (แสงหล้า เรื องพยัคฆ์ : 2550) ั 3.1 มีกระบวนการกลุ่ม มีประเดนปัญหาร่วมและมีกระบวนการแกปัญหาร่วมกนอยาง ็ ้ ั ่ เป็นรูปธรรม ู่ ื 3.2 มีการจัดการให้เกิดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง โดยอยบนพ้นฐาน ของการมีส่วนร่ วมของประชาชนและทุกภาคส่ วนในสังคม 3.3 บุคคล กลุ่มคน ชุมชน มีโอกาสเข้าถึงความรู ้ มีการเรี ยนรู ้ เกิดความคิดใหม่ ความรู ้ ใหม่ ทางเลือกใหม่ พลังใหม่ๆ ข้ ึนในสงคม ั 3.4 มีการพัฒนาองค์ความรู ้อย่างต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน สังคมแห่งการเรี ยนรู ้เป็ นสังคมแห่งภูมิปัญญา ตระหนักถึงความสําคัญ ความจําเป็ นของ การเรี ยนรู ้ที่ทุกคนและทุกส่ วนในสังคมมีความใฝ่ รู ้และพร้อมที่จะเรี ยนรู ้อยูเ่ สมอ การเรี ยนรู ้ตลอด ชีวตเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นและมีความต่อเนื่องเป็ นปกติวสัยในชีวตประจําวันของคนทุกคน ไปจนตลอด ิ ิ ิ สิ้นอายขย เป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ ึนไดในทุกเวลา ทุกสถานท่ี ของคนทุกคนในทุกสภาพแวดลอมท่ี ุ ั ้ ้ ้ ั ั ํ เหมาะสมภายใตตวช้ ีวดท่ีกาหนด Ning Social Network ั ู่ ้ ั Ning คือ Social Network เป็นการรวมเอาผท่ีชอบอะไรท่ีเหมือนกนอยดวยกน และสร้าง ู้ ชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการ และความสนใจของพวกเขา เนื้ อหาที่ดี จะทําให้ผเู ้ ข้าใช้มาร่ วม ้ ่ ํ ดวยตนเอง และสร้างสิ่ งที่ดีเพื่อชุมชนของเขาอย่างยังยืน (ระดมพล ช่วยชูชาติ. 2553 : 1) จุดกาเนิด Ning เกิดข้ ึนในปี 2004 โดยผูก่อตั้ง Ning.com คือ Gina Bianchini และ Marc Andreessen เจาของ ้ ้ เดียวกบ Netscape เว็บเบราเซอร์ รุ่นแรก ๆ ความตั้งในในการตั้ง Ning ขึ้นมา เพื่อเป็ นชุมชน ั ั ้้ ั ออนไลน์ ท่ีรวมเอาคนท่ีมีความช่ืนชอบในส่ิ งเดียวกนมาไวดวยกน ปัจจุบน Ning มีชุมชนภายใน ั เว็บไซต์มากกว่า 270,000 ชุมชน จากสมาชิก 176 ประเทศทัวโลก เม่ือเขาเป็นสมาชิกของ Ning สามารถ ่ ้ คนหาเวบ Ning ในสิ่งท่ีเราสนใจ โดยร่วม Join กับกลุ่มนั้น ๆ ได้ ขึ้นอยูกบความสนใจ และสมาชิก ้ ็ ่ ั สามารถสร้างกลุ่มที่สนใจได้ดวยตนเอง หากชุมชนมีขนาดใหญ่มาก ก็สมามารถสร้างกลุ่มย่อย ้ ภายในกลุ่มใหญ่ไดอีกดวย ้ ้
  • 7. 12 คนไทยนํา Ning มาใชหลายรูปแบบ เช่น viralthai.ning.com ซึ่ งเป็ นแหล่งรวมผูที่ตองการ ้ ้ ้ เผยแพร่ เรื่ องราวในรู ปแบบของวีดิโอคลิปที่เป็ น Viral Clip โดยมีสมาชิ กที่ชื่นชอบในการทํา Clip ่ ่ั Video แบบ Viral กระจายอยูทวโลก เนื่องจาก Ning สามารถสร้างชุมชนและสร้างเว็บไซต์ได้อย่าง ง่ายและสะดวก thaiweb.ning.com เป็น Human Network ที่เป็ นแหล่งรวมคนทําเว็บ ทั้งที่เป็ น Webmaster, Web Programmer Web Design, Web Content หรื อ คนเขียนบล็อก เพื่อแลกเปลี่ยน เรี ยนความคิดเห็ นระหว่างคนทําเว็บ และใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์น้ ี เพื่อการศึกษาหรื อการทํางาน และโดยทวไป Ning สามารถใชเ้ ป็นเวบไซต์ ในสังคมของคนทีชอบในสิ่ ง ซึ่ งเป็ นชุ มชนที่สร้าง ั่ ็ ่ ั ความสนใจให้กบสมาชิกที่มีอุดมการณ์และความชื่นชอบในสิ่ งเดียวกันเข้าร่ วมเป็ นเครื อข่าย ทางด้านการศึกษา สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานได้นาเว็บไซต์ Ning มาเป็ นเครื่ องมือใน ํ การจัด อบรมศึ ก ษานิ เ ทศก์ อบรมครู และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาเพือส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ให้ก ับ ่ ศึกษานิเทศก์ จํานวน 8 รุ่ น ตามภูมิภาคภายใต้เครื อข่าย kruthai.ning.com เพื่อให้เป็ นวิทยากรอาวุโส ั และไปดําเนินการอบรมเพื่อถ่ายทอดให้กบครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่อไป จากการศึกษาเครื อข่ายสังคม ผวิจยได้มีความสนใจในการศึกษาการนา Ning Social ู้ ั ํ Network มาใช้เป็ นเครื่ องมื อในการเรี ย นการรู้ เพื่อให้เป็ นเครื อข่ ายการเรี ยนรู้ ของผูเ้ รี ยน โดย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ดวยประเด็นถาม-ตอบ เพื่อให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่ วมและมีปฏิสัมพันธ์ใน ้ การเรี ย นรู ้ บ นเครื อข่ า ย และเพื่ อศึ ก ษาความพึง พอใจของผูเ้ รี ย นทีมี ต่อการเรีย นรู้ด้วยเว็บ ไซต์ ่ เครื อข่ายสังคม งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ วราภรณ์ ตระกลสฤษด์ ิ (2545 : ง) ได้ศึกษา เรื่ องการนําเสนอรู ปแบบการเรี ยนการสอนบน ู เว็บด้วยการเรี ยนรู ้แบบโครงงานเพื่อการเรี ยนรู ้เป็ นทีม ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี ช้ นปีท่ี 1 ท่ีลงทะเบียนรายวชา SSC 334 จิตวทยาการปรับตว จานวน 30 คน แบ่งเป็น ้ ั ิ ิ ั ํ กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ทดลองเรี ยนตามรู ปแบบจํานวน 15 สัปดาห์ ผลการทดลองพบวา กลุ่มตวอยางมี ่ ั ่ คะแนนการเรียนรู้เป็ นทีมเพิมขึ้น การทํางานเป็ นทีมและความร่ วมมือในการทํางานเป็ นทีมเป็ นไป ่ ั ่ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีคะแนนหลงเรียนสูงกวาคะแนนก่อนการเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ .05 ั และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อรู ปแบบในระดับมาก