SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
โดย อัครพงษ์ เขียแจ่ม
ผู้อานวยการส่วนเฝ้ าระวังและเตือนภัย
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 สป.ทส.
NPM คืออะไร
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management หรือ NPM) คือ การเพิ่มผลผลิตในการ
บริหารงานภาครัฐ โดยให้ความสาคัญต่อผลสาเร็จของงานเป็นหัวใจหลักสาคัญ เป็นแนวคิดและที่มาของ
การปฏิรูประบบราชการและการประกาศใช้ระบบการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based
Management) ของรัฐบาลไทย โดยให้ส่วนราชการระดับกรมต้องจัดทาตัวชี้วัดและเป้ าหมายของผลงานที่
จะเกิดขึ้น
แนวคิด
ในทศวรรษที่ 1984 การปฏิรูประบบราชการถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติการ
บริหารราชการที่เกี่ยวข้องกับ “การปรับกระบวนทัศน์” (Paradigm Shift) จากตัวแบบ ราชการของ Weber
Model Bureaucracy ที่มีอิทธิพลมาเกือบศตวรรษ ไปสู่หลัก “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” (New
Public Management, NPM) หรือ “แนวคิดที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการ แนวใหม่” (New Managerialism)
(Denis Saint-Martin. 1988 : 391; อ้างอิงจาก สมพงษ์ จุ้ยศิริ. เอกสารประกอบการเรียนวิชาการจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์)
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ตั้งอยู่บนสมมติฐานของความเป็นสากล
ของทฤษฎีการบริหารและเทคนิควิธีการจัดการ ว่าสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งการบริหารรัฐกิจและการ
บริหารธุรกิจ ซึ่งเป็นกระแสความคิดที่สอดคล้องกับรัฐประศาสนศาสตร์แบบคลาสสิกของ Woodrow
Wilson ที่เน้นแยกการเมืองออกจากการบริหารงาน แล ะหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ (Scientific
management) ของ Frederick Taylor โดยมุ่งเน้นให้ความสาคัญต่อการประหยัด (economy)
ประสิทธิภาพ (efficiency) และประสิทธิผล (effectiveness) (เทพศักดิ์,2554)
แนวคิดดังกล่าว ต้องการให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และวิธีการบริห ารงานภาครัฐไปจากเดิม
ที่ให้ความสาคัญต่อทรัพยากรหรือปัจจัยนาเข้า (input) และอาศัยกฏระเบียบเป็นเครื่องมือในการดาเนินงาน
โดยหันมาเน้นถึงวัตถุประสงค์และสัมฤทธิ์ผลของการดาเนินงานทั้งในแง่ผลผลิต (output) ผลลัพธ์
(outcome) และความคุ้มค่าของเงิน (value for money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและสร้างความพึงพอใจ
2
ให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ โดยนาเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวัดและประเมินผลงาน การบริหารคุณภาพโดยรวม การรื้อปรับระบบ เป็นต้น
(ทศพร,2554)
เดวิด ออสบอร์น และ เทด แกรเบร้อ (David Osborne & Ted Gaebler) ได้เสนอแนวคิดของ
Reinventing Government ว่าเป็นพาราไดม์ที่ได้รับการยอมรับสูงสุดในทางรัฐประศาสนศาสตร์ในช่วง
ทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะได้เสนอความคิดเกี่ยวกับต้องการให้ระบบราชการมีลักษณะของการแข่งขันการ
ให้บริการสาธารณะ (a competitive government) รวมถึงต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ให้
ความสาคัญต่อผลของการปฏิบัติงานมากกว่าสนใจถึงปัจจัยนาเข้าทางการบริหารงาน และขั้นตอนการ
ทางานทั้งหลาย (a results-oriented government) ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าจุดเริ่มต้นของแนวคิด
Reinventing Government มีอิทธิพลทาให้ภาครัฐหันมาสนใจต่อแนวคิดการบริหารธุรกิจมากยิ่งขึ้นในระยะ
ต่อมา ซึ่งได้พัฒนาต่อมาเป็นแนวคิดการจัดการนิยม (Managerialism) ที่ให้ความสาคัญกับการนาวิธีการ
บริหารงานแบบเอกชนและเทคนิคบริหารจัดการสมัยใหม่มาปรับใช้กับการบริหารงานในภาคราชการ โดย
การมองว่าวิธีการบริหารงานย่อมเหมือนกัน(Business-like Approach) จะต่างกันก็ตรงที่วัตถุประสงค์
เท่านั้น ซึ่งแนวคิดของการจัดการนิยมนี้ได้มาบูรณาการผสมผสานกับทฤษฎีท างเศรษศาสตร์ ได้ทาให้เกิด
ขึ้นมาเป็นแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (New Public Management) ที่ทาง รัฐประศาสนศาสตร์ถือ
ว่าเป็นจุดสนใจ(focus) ที่สาคัญของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน ทั้งหมดล้วนมีอิทธิพลที่ทาให้
รัฐประศาสนศาสตร์หันมาสนใจในเรื่องของการปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศหรือ Best Practices มาก
ยิ่งขึ้น (เทพศักดิ์ 2554)
วัตถุประสงค์หลักของ NPM คือ ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพของภาคราชการ โดยใช้วิธีการ
ทางการบริหารจัดการ และวิธีการที่ใช้กันในภาคเอกชน แต่ประสิทธิภาพเป็นเพียงหลักการเดียวของกระบวน
ทัศน์การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคม นอกเหนือจากหลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้
(Accountability) ความ โปร่งใส (Transparency) การเปิดเผย (Openness) ความยุติธรรม (Fairness) และ
ความเสมอภาค (Equity) (พิทยา,2553)
3
ทาไมต้องเป็น “NPM”
เหตุผลที่ต้องนา NPM มาใช้ เนื่องจาก
1.กระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจึง
มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการ
ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป
2.ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สาคัญคือ ความเสื่อมถอยของระบบราชการ และขาดธรรมาภิบาล ถ้า
ภาครัฐไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารจัดการของภาครัฐเพื่อไปสู่องค์กรสมัยใหม่ โดยยึดหลักธรรมาภิ
บาล ก็จะส่งผลบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมในอนาคตด้วย
ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่( New Public Management) จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของ
การบริหารจัดการภาครัฐซึ่งจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่
เป็นรูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจัดการดังนี้
- การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
- คานึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
- รัฐพึงทาบทบาทเฉพาะที่รัฐทาได้ดีเท่านั้น
เทพศักดิ์ (2554) ได้อธิบายความสาคัญของการปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ไว้ดังนี้
1.เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นฐานเดิมที่องค์กรแบบระบบราชการมีอยู่ เนื่องจากเป็นองค์การที่มีขนาดใหญ่
มีความซับซ้อนสูง มีการทางานที่ยึดกฏระเบียบเป็นลายลักษณ์อักษร มีการกาหนดหน้าที่เป็นทางการ มีสาย
การบังคับบัญชายาว ทาให้มีการยึดกฏระเบียบมากว่ายึดเป้ าหมาย มีความล้าสมัยไม่สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งมีข้อจากั ดในการตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของ
ประชาชนและไม่สามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้
2.เพื่อเป็นเครื่องมือในการทางานเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น ซึ่ง
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในการบริหารงานภาครัฐอาจจะมาจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ
การปฏิรูปการจัดการภาครัฐจะทาให้การบริหารงานภาครัฐเกิดความชัดเจนในพันธกิจและความรับผิดชอบ
ซึ่งนาไปสู่การปรับโครงสร้างขององค์การภาครัฐ
3. เพื่อให้เกิดความทันสมัย เอทซิโอนี่ (Etzioni) มองว่าองค์การที่เป็นทางการจะต้องเป็นองค์การที่
ใช้รูปแบบของเหตุและผลและความมีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับความทันสมัยของสังคมที่เกิดขึ้น โดย
4
องค์การจะต้องมีการแสดงออกถึงคุณค่าในการทางานที่ใช้วิธีการทางานในการบรรลุเป้ าหมายโดยใช้หลัก
เหตุและผล ยึดหลักความมีประสิทธิผลและการเพิ่มผลผลิต (Productivity)
4. เพื่อตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของประชาชน แนวคิดของการปฏิรูปอาจมิได้
เกิดขึ้นมาจากภายในองค์การเท่านั้น ในบางกรณีแนวคิดของการปฏิรูปอาจเกิดขึ้นจากประชาชนที่อยู่
ภายนอกองค์การได้ เนื่องจากประชาชนให้ความสนใจต่อบริการที่ได้รับจากองค์การที่เกิดขึ้น รวมถึงแนวคิด
ของการปฏิรูปอาจได้รับการสนับสนุนหรือความคาดหวังจากประชาชนภายนอกองค์การได้ เช่น ความ
คาดหวังในความมีประสิทธิภาพขององค์การ การมีจิตสานึกในการให้บริการ การมีจิตสานึกในการเป็น
ข้าราชการที่ดี เป็นต้น
การบริหารภาครัฐของไทย ได้มีการนาแนวคิด หลักการและแนวทางการบริหารที่ถือว่าเป็น NPM
มาใช้บ้าง
การบริหารภาครัฐของไทย ได้มีการนาแนวคิด หลักการและแนวทางการบริหารที่เป็นการจัดการภาครัฐแนว
ใหม่ มาใช้หลายเรื่อง ดังต่อไปนี้
1.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
แนวคิดและหลักการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง การปกครอง การ
บริหาร การควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ .ศ.2546 ประกอบด้วย
9 หมวด โดยหมว ดที่ 1 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุ
เป้ าหมายดังต่อไปนี้
(1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
(3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น
(5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(6) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ
หลักธรรมาภิบาล ประกอบด้วยหลักการสาคัญ 6 ประการ ดังนี้
5
1) หลักนิติธรรม เป็นหลักที่ถือเป็นกฎ กติกาในสังคม ที่ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้น การตรา
กฎหมายที่ถูกต้อง เป็นธรรม การบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของสมาชิก ระบบ
กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่ดีมีความเป็นธรรมและมีความชัดเจน
2) หลักคุณธรรม เป็นการพัฒนาให้บุคลากรของภาครัฐยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริม
สนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาตนเองเพื่อให้เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย
ประกอบอาชีพสุจริต
3) หลักความโปร่งใส การทางานที่เปิดเผยและสามารถตรวจสอบได้ จะส่งผลให้การทุจริต
คอรัปชั่นและความด้อยประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการลดลง
4) หลักการมีส่วนร่วม เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการดาเนินการของโครงการ รวมถึงได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถใน
การเข้ามามีส่วนร่วม
5) หลักความคุ้มค่า การพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องบริหารจัดกา รและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้
เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม คานึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า สร้างสรรสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ โดย
ยึดถือประชาชนเป็นเป้ าหมายสูงสุดในการทางาน
6) หลักความสานึกรับผิดชอบ เป็นกระบวนการทางานที่จะช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางาน
ให้ดีขึ้น ความสานึกรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานจะต้องมีลักษณะสาคัญ 6 ประการ คือ การมี
เป้ าหมายที่ชัดเจน ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน การปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการพฤติกรรมที่ไม่
เอื้ออานวยให้เกิดการรับผิดชอบ การทางานอย่างไม่หยุดยั้ง การมีแผนสารอ งการติดตามประเมินผลการ
ทางาน
2.การจัดการเชิงกลยุทธ์หรือเชิงยุทธศาสตร์
เทพศักดิ์ (2554) กล่าวว่า การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการ
ประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ การกาหนดกลยุทธ์ให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจจริงที่เกิดขึ้น
การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การนา กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลกลยุทธ์ โดยที่ในการ
ประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจก็ได้มีการพัฒนาเทคนิคต่าง ๆ ขึ้นมาเป็นจานวนมาก เพื่อนามาใช้ในการ
ประเมินสภาพแวดล้อม เทคนิคเหล่านั้นที่สาคัญ ได้แก่ เทคนิคการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ
ข้อจากัด (SWOT Analysis), เทคนิค BCG Growth Share Matrix, เทคนิค GE Business Screen , เทคนิค
การตัวแบบการวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการของพอร์ตเตอร์ ฯลฯ
โดยสามารถแบ่งกลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ออกมาได้ออกมาเป็น 4 ประเภท คือ
4.1 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรุก (SO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็น กลยุทธ์หรือยุทธ์
ศาสตร์ในเชิงรุก
6
4.2 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงป้ องกัน (ST Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์
ศาสตร์ในเชิงป้ องกัน
4.3 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงการแก้ไข (WO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์
ศาสตร์ในเชิงแก้ไข
4.4 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรับ (WT Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์
ศาสตร์ในเชิงรับ
3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award หรือ
PMQA)
ความสาคัญและเหตุผลความจาเป็น
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน
องค์การให้มีระบบที่ดี เกิดการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ซึ่งในอนาคตจะกาหนดให้มีการมอบ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ให้กับส่วนราชการที่ปรับปรุงองค์การได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไป
ตามเกณฑ์ที่กาหนด
หลักการและแนวคิด
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนาหลักเกณฑ์และ แนวคิดตามรางวัลคุณภาพ
แห่งชาติของสหรัฐอเมริการ (Malcolm Baldrige National Quality Award : MBNQA) และรางวัลคุณภาพ
แห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) มาปรับให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ระบบราชการไทย และการดาเนินงานตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณ ฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 7 หมวด
หมวด 1 การนาองค์การ
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
7
หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ
4.นโยบายกากับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance : OG)
ความหมาย : นโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี หมายถึง การประกาศเจตนารมณ์ขององค์การที่จะ
ดาเนินการและกาหนดนโยบายตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์สุข
ของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การ และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกาหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการ
หรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ
หลักการและแนวคิด :
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย มาตรา 74
กาหนดให้ “บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือ
เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวยความ
สะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติ
หน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ….”
2.เพื่อให้ภาครัฐนาหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
ราชการ สามารถเรียนรู้ ปรับตัว และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในการอานวยความสะดวกและการ
ให้บริการประชาชนได้อย่างทันกาล การจัดทานโยบายการกากั บดูแลองค์การที่ดีนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ
นาหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือธรรมาภิบาลเข้ามาประยุกต์ใช้
องค์ประกอบ :
เพื่อให้การจัดทานโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดีของภาครัฐเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และมี
ความเป็นสากลเทียบเท่าหน่วยงานในต่างประเทศ และหน่วยงานในภาคเอกชน สานักงาน ก.พ.ร. จึง
เห็นสมควรกาหนดกรอบนโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้านสาคัญได้แก่
1. นโยบายด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม
2. นโยบายด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3. นโยบายด้านองค์การ
4. นโยบายด้านผู้ปฏิบัติงาน
5. การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ : KPI (Key
Performance Indicators)
หลักการและความสาคัญ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 8 การ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการ กาหนดให้ส่วนราชการดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน
8
ราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการความ
คุ้มค่าในภารกิจ
เทพศักดิ์ กล่าวว่ากรอบแนวคิดของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ได้ให้
ความสาคัญต่อจุดสนใจหนึ่งที่สาคัญ คือ เรื่องผลสัมฤทธิ์ (result) ที่เกิดขึ้นจากการบริหาร โดยถือได้ว่าเป็น
การเปลี่ยนแปลงจากแนวคิดการจัดการภาครัฐแบบเดิม ที่ให้ความสาคัญต่อภาระรับผิดชอบที่มีต่อปัจจัย
นาเข้าหรือทรัพยากรและกระบวนการทางาน (input and process accountability) เช่น ปฏิบัติงานตาม
กฎระเบียบ ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กาหนด เป็นต้น มาเป็นภาระรับผิดชอบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
(accountability for results) แทน
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ แยกตามมิติ 4 มิติ ได้แก่
1.มิติด้านประสิทธิผล
2.มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
3.มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
4.มิติด้านการพัฒนาองค์การ
6. Balanced Scorecard
เป็นเครื่องมือทางการบริหารที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย โรเบิร์ต เอส แคปแลน และ เดวิด พี นอร์ตัน
(Robert S. Kaplan and David P. Norton) ในปี ค .ศ. 1996 ซึ่งศูนย์กลางของกระบวนการจัดการใน
องค์การในมุมมองของ แคปแลนและนอร์ตัน ก็คือ คุณค่าสี่ประการที่องค์การจะต้องใช้เป็นกรอบเพื่อ
นาไปใช้ในการตอบสนองต่อกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ที่องค์การได้กาหนดขึ้น คือ คุณค่าด้านการเงิน (Finance)
คุณค่าด้านลูกค้า (Customer) คุณค่าด้านกระบวนการ (Internal Process) และคุณด่าด้านการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (Learning&Growth)
Balanced Scorecard หมายถึง การแปลงวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์การให้ออกมาเป็นตัวชี้วัด
ต่าง ๆ และผลักดันตัวชี้วัดเหล่านั้นให้ตอบสนองต่อเป้ าหมายที่เ ป็นคุณค่าความสาเร็จของการบริหารองค์กร
เชิงกลยุทธ์ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายในธุรกิจ และด้านการเรียนรู้และ
การเติบโตขององค์การ รวมถึงการสร้างความสมดุลในแต่ละด้าน
สาระสาคัญของการบริหารงานในเครื่องมือ Balanced Scorecard
สาระสาคัญของเครื่องมือ Balanced Scorecard มีองค์ประกอบที่สาคัญอยู่ใน 6 ส่วนที่สาคัญ คือ (1)
การกาหนดคุณค่าหลักขององค์การ (Value) (2) การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) (3) การกาหนดกลยุทธ์
9
(Strategy) และการกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objective) (4) การจัดทา แผนที่กลยุทธ์
(Strategy Map) (5) การกาหนดตัวชี้วัดและเป้ าหมาย และ (6) การริเริ่มแผน โครงการ และกิจกรรม
(Initiative) โดยทั้งหมดสามารถแสดงความเชื่อมโยงกันอย่างสมดุล
7.การบริหารราชการแบบบูรณาการ (CEO)
ความหมาย
การบริหารราชการแบบบูรณาการ หมายถึง การบริหารที่ทุกหน่วยงานทางานแบบมุ่งเน้นผลงาน
(Results) ตามยุทธศาสตร์เป็นหลัก เป็นการทางานหลายหน่วยงานโดยอาศัยความเชี่ยวชาญและความ
ชานาญการของแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกันเฉพาะด้าน โดยร่วมกันคิด ร่วมกันทางาน โดยใช้ทรัพยากร
ร่วมกันเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ มุ่งสู่ผลสาเร็จและเป้ าหมายของงานร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดความ
ประหยัด เสริมสร้างประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงานเป็นหลัก
แนวคิดการบริหารราชการแบบบูรณาการ
ปัจจุบันปัญหาบ้านเมืองมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ในการแก้ไขปัญหาหรื อการตัดสินใจต้องใช้
ความรู้และทักษาหลายสาขาวิชาร่วมกัน ทาให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาโดยส่วนราชการใดส่วนราชการหนึ่ง
ได้ รวมทั้งการบริหารงานตามภารกิจ (Function) ไม่สามารถแก้ปัญหาบางอย่างได้ เพราะการจัดแบ่ง
โครงสร้างองค์การภาครัฐจะมีพันธกิจ (Mission) ขององค์กรอยู่ ซึ่ งจะทาให้แต่ละองค์กรมีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านที่แตกต่างกัน
การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO)
ผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูประบบราชการ เพื่อการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงให้มีความทันสมัย
(Modernization) และให้มีการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม โดยใช้การจัดโครงสร้างตามยุทธศาสตร์ที่
รับผิดชอบ (Agenda Base Organizaion) โดยให้มีเจ้าภาพรับผิดชอบเป็นกลุ่มงาน (Cluster) เพื่อแก้ไข
ปัญหาการไม่สามารถนานโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากระดับจังหวัด
มีหน่วยงานระดับส่วนกลาง ระดับเขตไปตั้งอยู่ในพื้นที่เป็นจานวนมาก รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ซึ่งต่างก็มีนโยบาย/แผนงาน โครงการของตนเอง ไม่มีความสอดคล้องในภาพรวมของจังหวัดหรือความ
ต้องการของประชาชน ซึ่งเป็นการพัฒนาแบบแยกส่วน ขาดความเชื่อมโยง บูรณาการซึ่งกันและกัน
10
8.การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Services)
ความหมาย หมายถึง การนางานที่ให้บริการทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง มารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน ใน
ลักษณะที่ส่งต่องานระหว่างกันทันทีหรือเสร็จในขั้นตอนหรือเสร็จในจุดให้บริการเดียว โดยมีจุดประสงค์
เพื่อให้การให้บริการมีความรวดเร็วขึ้น
รูปแบบของการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ
รูปแบบที่ 1 การนาหลายหน่วยงานมารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน
รูปแบบที่ 2 กระจายอานาจมาให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งทาหน้าที่ให้ บริการแบบเบ็ดเสร็จ
รูปแบบที่ 3 การปรับปรุงและออกแบบใหม่ในการให้บริการ
รูปแบบที่ 4 การสามารถให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้เสร็จทันที
9.อื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคลภาครัฐ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ข้าราชการ (IPA) การกาหนดมาตรฐานจริยธรรมข้าราชการ เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ 2553
เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ “รัฐประศาสนศาสตร์กับการปฏิรูประบบราชการ” ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด
ทฤษฎีและหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 7 นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช 2554
ทศพร ศิริสัมพันธ์ “ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์” ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด ทฤษฎี
และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 7 นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2554
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการ
ปฏิบัติราชการของจังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรุงเทพฯ 2553
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือคาอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 สาหรับส่วนราชการระดับกรม กรุงเทพฯ 2553
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนว
ทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี “การบริหารราชการแบบบูรณาการ” กรุงเทพฯ มปป.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือนโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี กรุงเทพฯ 2551

More Related Content

What's hot

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมปล่อยใจ ตามสบาย
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540ประพันธ์ เวารัมย์
 
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 

Viewers also liked

แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหารประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 

Viewers also liked (9)

Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 

Similar to Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ

บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการi_cavalry
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)primpatcha
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40Pattie Pattie
 

Similar to Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ (20)

บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
 
E R P4 Manager
E R P4 ManagerE R P4 Manager
E R P4 Manager
 

Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ

  • 1. 1 การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) โดย อัครพงษ์ เขียแจ่ม ผู้อานวยการส่วนเฝ้ าระวังและเตือนภัย สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 สป.ทส. NPM คืออะไร การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management หรือ NPM) คือ การเพิ่มผลผลิตในการ บริหารงานภาครัฐ โดยให้ความสาคัญต่อผลสาเร็จของงานเป็นหัวใจหลักสาคัญ เป็นแนวคิดและที่มาของ การปฏิรูประบบราชการและการประกาศใช้ระบบการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management) ของรัฐบาลไทย โดยให้ส่วนราชการระดับกรมต้องจัดทาตัวชี้วัดและเป้ าหมายของผลงานที่ จะเกิดขึ้น แนวคิด ในทศวรรษที่ 1984 การปฏิรูประบบราชการถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติการ บริหารราชการที่เกี่ยวข้องกับ “การปรับกระบวนทัศน์” (Paradigm Shift) จากตัวแบบ ราชการของ Weber Model Bureaucracy ที่มีอิทธิพลมาเกือบศตวรรษ ไปสู่หลัก “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” (New Public Management, NPM) หรือ “แนวคิดที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการ แนวใหม่” (New Managerialism) (Denis Saint-Martin. 1988 : 391; อ้างอิงจาก สมพงษ์ จุ้ยศิริ. เอกสารประกอบการเรียนวิชาการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ตั้งอยู่บนสมมติฐานของความเป็นสากล ของทฤษฎีการบริหารและเทคนิควิธีการจัดการ ว่าสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งการบริหารรัฐกิจและการ บริหารธุรกิจ ซึ่งเป็นกระแสความคิดที่สอดคล้องกับรัฐประศาสนศาสตร์แบบคลาสสิกของ Woodrow Wilson ที่เน้นแยกการเมืองออกจากการบริหารงาน แล ะหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ (Scientific management) ของ Frederick Taylor โดยมุ่งเน้นให้ความสาคัญต่อการประหยัด (economy) ประสิทธิภาพ (efficiency) และประสิทธิผล (effectiveness) (เทพศักดิ์,2554) แนวคิดดังกล่าว ต้องการให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และวิธีการบริห ารงานภาครัฐไปจากเดิม ที่ให้ความสาคัญต่อทรัพยากรหรือปัจจัยนาเข้า (input) และอาศัยกฏระเบียบเป็นเครื่องมือในการดาเนินงาน โดยหันมาเน้นถึงวัตถุประสงค์และสัมฤทธิ์ผลของการดาเนินงานทั้งในแง่ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และความคุ้มค่าของเงิน (value for money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและสร้างความพึงพอใจ
  • 2. 2 ให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ โดยนาเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวัดและประเมินผลงาน การบริหารคุณภาพโดยรวม การรื้อปรับระบบ เป็นต้น (ทศพร,2554) เดวิด ออสบอร์น และ เทด แกรเบร้อ (David Osborne & Ted Gaebler) ได้เสนอแนวคิดของ Reinventing Government ว่าเป็นพาราไดม์ที่ได้รับการยอมรับสูงสุดในทางรัฐประศาสนศาสตร์ในช่วง ทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะได้เสนอความคิดเกี่ยวกับต้องการให้ระบบราชการมีลักษณะของการแข่งขันการ ให้บริการสาธารณะ (a competitive government) รวมถึงต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ให้ ความสาคัญต่อผลของการปฏิบัติงานมากกว่าสนใจถึงปัจจัยนาเข้าทางการบริหารงาน และขั้นตอนการ ทางานทั้งหลาย (a results-oriented government) ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าจุดเริ่มต้นของแนวคิด Reinventing Government มีอิทธิพลทาให้ภาครัฐหันมาสนใจต่อแนวคิดการบริหารธุรกิจมากยิ่งขึ้นในระยะ ต่อมา ซึ่งได้พัฒนาต่อมาเป็นแนวคิดการจัดการนิยม (Managerialism) ที่ให้ความสาคัญกับการนาวิธีการ บริหารงานแบบเอกชนและเทคนิคบริหารจัดการสมัยใหม่มาปรับใช้กับการบริหารงานในภาคราชการ โดย การมองว่าวิธีการบริหารงานย่อมเหมือนกัน(Business-like Approach) จะต่างกันก็ตรงที่วัตถุประสงค์ เท่านั้น ซึ่งแนวคิดของการจัดการนิยมนี้ได้มาบูรณาการผสมผสานกับทฤษฎีท างเศรษศาสตร์ ได้ทาให้เกิด ขึ้นมาเป็นแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (New Public Management) ที่ทาง รัฐประศาสนศาสตร์ถือ ว่าเป็นจุดสนใจ(focus) ที่สาคัญของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน ทั้งหมดล้วนมีอิทธิพลที่ทาให้ รัฐประศาสนศาสตร์หันมาสนใจในเรื่องของการปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศหรือ Best Practices มาก ยิ่งขึ้น (เทพศักดิ์ 2554) วัตถุประสงค์หลักของ NPM คือ ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพของภาคราชการ โดยใช้วิธีการ ทางการบริหารจัดการ และวิธีการที่ใช้กันในภาคเอกชน แต่ประสิทธิภาพเป็นเพียงหลักการเดียวของกระบวน ทัศน์การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคม นอกเหนือจากหลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability) ความ โปร่งใส (Transparency) การเปิดเผย (Openness) ความยุติธรรม (Fairness) และ ความเสมอภาค (Equity) (พิทยา,2553)
  • 3. 3 ทาไมต้องเป็น “NPM” เหตุผลที่ต้องนา NPM มาใช้ เนื่องจาก 1.กระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจึง มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการ ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป 2.ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สาคัญคือ ความเสื่อมถอยของระบบราชการ และขาดธรรมาภิบาล ถ้า ภาครัฐไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารจัดการของภาครัฐเพื่อไปสู่องค์กรสมัยใหม่ โดยยึดหลักธรรมาภิ บาล ก็จะส่งผลบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมในอนาคตด้วย ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่( New Public Management) จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของ การบริหารจัดการภาครัฐซึ่งจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่ เป็นรูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจัดการดังนี้ - การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน - คานึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก - รัฐพึงทาบทบาทเฉพาะที่รัฐทาได้ดีเท่านั้น เทพศักดิ์ (2554) ได้อธิบายความสาคัญของการปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ไว้ดังนี้ 1.เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นฐานเดิมที่องค์กรแบบระบบราชการมีอยู่ เนื่องจากเป็นองค์การที่มีขนาดใหญ่ มีความซับซ้อนสูง มีการทางานที่ยึดกฏระเบียบเป็นลายลักษณ์อักษร มีการกาหนดหน้าที่เป็นทางการ มีสาย การบังคับบัญชายาว ทาให้มีการยึดกฏระเบียบมากว่ายึดเป้ าหมาย มีความล้าสมัยไม่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งมีข้อจากั ดในการตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของ ประชาชนและไม่สามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้ 2.เพื่อเป็นเครื่องมือในการทางานเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในการบริหารงานภาครัฐอาจจะมาจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐจะทาให้การบริหารงานภาครัฐเกิดความชัดเจนในพันธกิจและความรับผิดชอบ ซึ่งนาไปสู่การปรับโครงสร้างขององค์การภาครัฐ 3. เพื่อให้เกิดความทันสมัย เอทซิโอนี่ (Etzioni) มองว่าองค์การที่เป็นทางการจะต้องเป็นองค์การที่ ใช้รูปแบบของเหตุและผลและความมีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับความทันสมัยของสังคมที่เกิดขึ้น โดย
  • 4. 4 องค์การจะต้องมีการแสดงออกถึงคุณค่าในการทางานที่ใช้วิธีการทางานในการบรรลุเป้ าหมายโดยใช้หลัก เหตุและผล ยึดหลักความมีประสิทธิผลและการเพิ่มผลผลิต (Productivity) 4. เพื่อตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของประชาชน แนวคิดของการปฏิรูปอาจมิได้ เกิดขึ้นมาจากภายในองค์การเท่านั้น ในบางกรณีแนวคิดของการปฏิรูปอาจเกิดขึ้นจากประชาชนที่อยู่ ภายนอกองค์การได้ เนื่องจากประชาชนให้ความสนใจต่อบริการที่ได้รับจากองค์การที่เกิดขึ้น รวมถึงแนวคิด ของการปฏิรูปอาจได้รับการสนับสนุนหรือความคาดหวังจากประชาชนภายนอกองค์การได้ เช่น ความ คาดหวังในความมีประสิทธิภาพขององค์การ การมีจิตสานึกในการให้บริการ การมีจิตสานึกในการเป็น ข้าราชการที่ดี เป็นต้น การบริหารภาครัฐของไทย ได้มีการนาแนวคิด หลักการและแนวทางการบริหารที่ถือว่าเป็น NPM มาใช้บ้าง การบริหารภาครัฐของไทย ได้มีการนาแนวคิด หลักการและแนวทางการบริหารที่เป็นการจัดการภาครัฐแนว ใหม่ มาใช้หลายเรื่อง ดังต่อไปนี้ 1.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) แนวคิดและหลักการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง การปกครอง การ บริหาร การควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ .ศ.2546 ประกอบด้วย 9 หมวด โดยหมว ดที่ 1 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุ เป้ าหมายดังต่อไปนี้ (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ (6) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ หลักธรรมาภิบาล ประกอบด้วยหลักการสาคัญ 6 ประการ ดังนี้
  • 5. 5 1) หลักนิติธรรม เป็นหลักที่ถือเป็นกฎ กติกาในสังคม ที่ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้น การตรา กฎหมายที่ถูกต้อง เป็นธรรม การบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของสมาชิก ระบบ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่ดีมีความเป็นธรรมและมีความชัดเจน 2) หลักคุณธรรม เป็นการพัฒนาให้บุคลากรของภาครัฐยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาตนเองเพื่อให้เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริต 3) หลักความโปร่งใส การทางานที่เปิดเผยและสามารถตรวจสอบได้ จะส่งผลให้การทุจริต คอรัปชั่นและความด้อยประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการลดลง 4) หลักการมีส่วนร่วม เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการดาเนินการของโครงการ รวมถึงได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การเข้ามามีส่วนร่วม 5) หลักความคุ้มค่า การพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องบริหารจัดกา รและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้ เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม คานึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า สร้างสรรสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ โดย ยึดถือประชาชนเป็นเป้ าหมายสูงสุดในการทางาน 6) หลักความสานึกรับผิดชอบ เป็นกระบวนการทางานที่จะช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางาน ให้ดีขึ้น ความสานึกรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานจะต้องมีลักษณะสาคัญ 6 ประการ คือ การมี เป้ าหมายที่ชัดเจน ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน การปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการพฤติกรรมที่ไม่ เอื้ออานวยให้เกิดการรับผิดชอบ การทางานอย่างไม่หยุดยั้ง การมีแผนสารอ งการติดตามประเมินผลการ ทางาน 2.การจัดการเชิงกลยุทธ์หรือเชิงยุทธศาสตร์ เทพศักดิ์ (2554) กล่าวว่า การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการ ประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ การกาหนดกลยุทธ์ให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจจริงที่เกิดขึ้น การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การนา กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลกลยุทธ์ โดยที่ในการ ประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจก็ได้มีการพัฒนาเทคนิคต่าง ๆ ขึ้นมาเป็นจานวนมาก เพื่อนามาใช้ในการ ประเมินสภาพแวดล้อม เทคนิคเหล่านั้นที่สาคัญ ได้แก่ เทคนิคการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ ข้อจากัด (SWOT Analysis), เทคนิค BCG Growth Share Matrix, เทคนิค GE Business Screen , เทคนิค การตัวแบบการวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการของพอร์ตเตอร์ ฯลฯ โดยสามารถแบ่งกลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ออกมาได้ออกมาเป็น 4 ประเภท คือ 4.1 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรุก (SO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็น กลยุทธ์หรือยุทธ์ ศาสตร์ในเชิงรุก
  • 6. 6 4.2 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงป้ องกัน (ST Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์ ศาสตร์ในเชิงป้ องกัน 4.3 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงการแก้ไข (WO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์ ศาสตร์ในเชิงแก้ไข 4.4 กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรับ (WT Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมิน สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์ ศาสตร์ในเชิงรับ 3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award หรือ PMQA) ความสาคัญและเหตุผลความจาเป็น การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน องค์การให้มีระบบที่ดี เกิดการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ซึ่งในอนาคตจะกาหนดให้มีการมอบ รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ให้กับส่วนราชการที่ปรับปรุงองค์การได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไป ตามเกณฑ์ที่กาหนด หลักการและแนวคิด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนาหลักเกณฑ์และ แนวคิดตามรางวัลคุณภาพ แห่งชาติของสหรัฐอเมริการ (Malcolm Baldrige National Quality Award : MBNQA) และรางวัลคุณภาพ แห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) มาปรับให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ระบบราชการไทย และการดาเนินงานตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณ ฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 7 หมวด หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
  • 7. 7 หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ 4.นโยบายกากับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance : OG) ความหมาย : นโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี หมายถึง การประกาศเจตนารมณ์ขององค์การที่จะ ดาเนินการและกาหนดนโยบายตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การ และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกาหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการ หรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ หลักการและแนวคิด : 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย มาตรา 74 กาหนดให้ “บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวยความ สะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติ หน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ….” 2.เพื่อให้ภาครัฐนาหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ราชการ สามารถเรียนรู้ ปรับตัว และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในการอานวยความสะดวกและการ ให้บริการประชาชนได้อย่างทันกาล การจัดทานโยบายการกากั บดูแลองค์การที่ดีนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ นาหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือธรรมาภิบาลเข้ามาประยุกต์ใช้ องค์ประกอบ : เพื่อให้การจัดทานโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดีของภาครัฐเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และมี ความเป็นสากลเทียบเท่าหน่วยงานในต่างประเทศ และหน่วยงานในภาคเอกชน สานักงาน ก.พ.ร. จึง เห็นสมควรกาหนดกรอบนโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้านสาคัญได้แก่ 1. นโยบายด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม 2. นโยบายด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. นโยบายด้านองค์การ 4. นโยบายด้านผู้ปฏิบัติงาน 5. การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ : KPI (Key Performance Indicators) หลักการและความสาคัญ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 8 การ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ กาหนดให้ส่วนราชการดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน
  • 8. 8 ราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการความ คุ้มค่าในภารกิจ เทพศักดิ์ กล่าวว่ากรอบแนวคิดของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ได้ให้ ความสาคัญต่อจุดสนใจหนึ่งที่สาคัญ คือ เรื่องผลสัมฤทธิ์ (result) ที่เกิดขึ้นจากการบริหาร โดยถือได้ว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงจากแนวคิดการจัดการภาครัฐแบบเดิม ที่ให้ความสาคัญต่อภาระรับผิดชอบที่มีต่อปัจจัย นาเข้าหรือทรัพยากรและกระบวนการทางาน (input and process accountability) เช่น ปฏิบัติงานตาม กฎระเบียบ ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กาหนด เป็นต้น มาเป็นภาระรับผิดชอบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ (accountability for results) แทน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ แยกตามมิติ 4 มิติ ได้แก่ 1.มิติด้านประสิทธิผล 2.มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 3.มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4.มิติด้านการพัฒนาองค์การ 6. Balanced Scorecard เป็นเครื่องมือทางการบริหารที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย โรเบิร์ต เอส แคปแลน และ เดวิด พี นอร์ตัน (Robert S. Kaplan and David P. Norton) ในปี ค .ศ. 1996 ซึ่งศูนย์กลางของกระบวนการจัดการใน องค์การในมุมมองของ แคปแลนและนอร์ตัน ก็คือ คุณค่าสี่ประการที่องค์การจะต้องใช้เป็นกรอบเพื่อ นาไปใช้ในการตอบสนองต่อกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ที่องค์การได้กาหนดขึ้น คือ คุณค่าด้านการเงิน (Finance) คุณค่าด้านลูกค้า (Customer) คุณค่าด้านกระบวนการ (Internal Process) และคุณด่าด้านการเรียนรู้และ นวัตกรรม (Learning&Growth) Balanced Scorecard หมายถึง การแปลงวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์การให้ออกมาเป็นตัวชี้วัด ต่าง ๆ และผลักดันตัวชี้วัดเหล่านั้นให้ตอบสนองต่อเป้ าหมายที่เ ป็นคุณค่าความสาเร็จของการบริหารองค์กร เชิงกลยุทธ์ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายในธุรกิจ และด้านการเรียนรู้และ การเติบโตขององค์การ รวมถึงการสร้างความสมดุลในแต่ละด้าน สาระสาคัญของการบริหารงานในเครื่องมือ Balanced Scorecard สาระสาคัญของเครื่องมือ Balanced Scorecard มีองค์ประกอบที่สาคัญอยู่ใน 6 ส่วนที่สาคัญ คือ (1) การกาหนดคุณค่าหลักขององค์การ (Value) (2) การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) (3) การกาหนดกลยุทธ์
  • 9. 9 (Strategy) และการกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objective) (4) การจัดทา แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) (5) การกาหนดตัวชี้วัดและเป้ าหมาย และ (6) การริเริ่มแผน โครงการ และกิจกรรม (Initiative) โดยทั้งหมดสามารถแสดงความเชื่อมโยงกันอย่างสมดุล 7.การบริหารราชการแบบบูรณาการ (CEO) ความหมาย การบริหารราชการแบบบูรณาการ หมายถึง การบริหารที่ทุกหน่วยงานทางานแบบมุ่งเน้นผลงาน (Results) ตามยุทธศาสตร์เป็นหลัก เป็นการทางานหลายหน่วยงานโดยอาศัยความเชี่ยวชาญและความ ชานาญการของแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกันเฉพาะด้าน โดยร่วมกันคิด ร่วมกันทางาน โดยใช้ทรัพยากร ร่วมกันเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ มุ่งสู่ผลสาเร็จและเป้ าหมายของงานร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดความ ประหยัด เสริมสร้างประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงานเป็นหลัก แนวคิดการบริหารราชการแบบบูรณาการ ปัจจุบันปัญหาบ้านเมืองมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ในการแก้ไขปัญหาหรื อการตัดสินใจต้องใช้ ความรู้และทักษาหลายสาขาวิชาร่วมกัน ทาให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาโดยส่วนราชการใดส่วนราชการหนึ่ง ได้ รวมทั้งการบริหารงานตามภารกิจ (Function) ไม่สามารถแก้ปัญหาบางอย่างได้ เพราะการจัดแบ่ง โครงสร้างองค์การภาครัฐจะมีพันธกิจ (Mission) ขององค์กรอยู่ ซึ่ งจะทาให้แต่ละองค์กรมีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านที่แตกต่างกัน การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) ผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูประบบราชการ เพื่อการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงให้มีความทันสมัย (Modernization) และให้มีการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม โดยใช้การจัดโครงสร้างตามยุทธศาสตร์ที่ รับผิดชอบ (Agenda Base Organizaion) โดยให้มีเจ้าภาพรับผิดชอบเป็นกลุ่มงาน (Cluster) เพื่อแก้ไข ปัญหาการไม่สามารถนานโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากระดับจังหวัด มีหน่วยงานระดับส่วนกลาง ระดับเขตไปตั้งอยู่ในพื้นที่เป็นจานวนมาก รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งต่างก็มีนโยบาย/แผนงาน โครงการของตนเอง ไม่มีความสอดคล้องในภาพรวมของจังหวัดหรือความ ต้องการของประชาชน ซึ่งเป็นการพัฒนาแบบแยกส่วน ขาดความเชื่อมโยง บูรณาการซึ่งกันและกัน
  • 10. 10 8.การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Services) ความหมาย หมายถึง การนางานที่ให้บริการทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง มารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน ใน ลักษณะที่ส่งต่องานระหว่างกันทันทีหรือเสร็จในขั้นตอนหรือเสร็จในจุดให้บริการเดียว โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้การให้บริการมีความรวดเร็วขึ้น รูปแบบของการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ รูปแบบที่ 1 การนาหลายหน่วยงานมารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน รูปแบบที่ 2 กระจายอานาจมาให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งทาหน้าที่ให้ บริการแบบเบ็ดเสร็จ รูปแบบที่ 3 การปรับปรุงและออกแบบใหม่ในการให้บริการ รูปแบบที่ 4 การสามารถให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้เสร็จทันที 9.อื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคลภาครัฐ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ข้าราชการ (IPA) การกาหนดมาตรฐานจริยธรรมข้าราชการ เป็นต้น เอกสารอ้างอิง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ 2553 เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ “รัฐประศาสนศาสตร์กับการปฏิรูประบบราชการ” ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด ทฤษฎีและหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 7 นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช 2554 ทศพร ศิริสัมพันธ์ “ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์” ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 7 นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการ ปฏิบัติราชการของจังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรุงเทพฯ 2553 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือคาอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 สาหรับส่วนราชการระดับกรม กรุงเทพฯ 2553 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนว ทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี “การบริหารราชการแบบบูรณาการ” กรุงเทพฯ มปป. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คู่มือนโยบายการกากับดูแลองค์การที่ดี กรุงเทพฯ 2551