SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ระบบบริหารราชการไทย


บทที่ 5
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการ และ การจัดระเบียบบริหาร
ราชการไทย

          สำาหรับประเทศไทยนั้น ได้ยึดหลักการรวมอำานาจไว้ที่ส่วน
กลางและหลักการแบ่งอำานาจไปให้ส่วนภูมิภาคมาโดยตลอด กล่าว
คือ รัฐบาลได้ใช้หลักการรวมอำานาจและหลักการแบ่งอำานาจผสม
ผสานกันไป ทำาให้รัฐบาลสามารถควบคุมได้ทุกส่วนของประเทศ โดย
ผ่านตัวแทนของตนในส่วนภูมิภาค มีผลทำาให้การบริหารประเทศมี
เอกภาพ และมีความมั่นคงจนถึงปัจจุบันนี้ ส่วนหลักการกระจายอำา
นาจให้ประชาชนในท้องถิ่นปกครองกันเองนั้นเป็นหลักใหม่ตาม
อุดมการณ์ของประชาธิปไตยภายหลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2475 ดังได้กล่าวมาแล้ว

แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการ

        หลักการทั่วไปในการจัดระเบียบบริหารราชการของประเทศ
ต่างๆ ในปัจจุบัน มีใช้กันอยู่ 3 หลัก คือ
        - หลักการรวมอำานาจ
        - หลักการแบ่งอำานาจ
        - หลักกระจายอำานาจ
        โดยมีลักษณะสำาคัญดังต่อไปนี้

หลักการรวมอำานาจ         (Centralization)
     เป็นหลักในการจัดระเบียบบริหารราชการรวมอำานาจในการ
บริหารไว้ที่ส่วนราชการต่างๆ ในส่วนกลาง อันได้แก่ กระทรวง
ทบวง กรม ต่างๆ โดยส่วนราชการในส่วนกลางจะแต่งตั้ง
ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ซึ่งมีสายบังคับบัญชาเป็นลำาดับชั้นออกไป
ปฏิบัติงานในทุกส่วนของประเทศ ภายใต้ การควบคุมบังคับบัญชา
ระบบบริหารราชการไทย


และวินิจฉัยสั่งการจากส่วนกลาง ดังนั้น ภายใต้หลักในการจัดระเบียบ
บริหารราชการนี้ อำานาจและความรับผิดชอบสูงสุดจึงอยู่กับผู้บังคับ
บัญชาในส่วนกลาง ซึ่งได้แก่ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ระดับรองๆ
ลงมา
               หลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วนกลาง มีข้อหลาย
ประการ เช่น เป็นหลักที่ทำาให้การบริหารประเทศมีเอกภาพ ง่ายต่อ
การรักษาความมั่นคงและสงบเรียบร้อยภายในเนื่องจากมีความ
ควบคุมบังคับบัญชากันเป็นลำาดับชั้น เป็นหลักที่อำานวยประโยชน์แก่
ประชาชนในทุกพื้นที่อย่างเสมอหน้ากันโดยไม่มีอคติ เพราะส่วน
กลางจะมุงแต่ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศมากกว่าที่จะมุ่งเอื้อ
             ่
ประโยชน์แก่ท้องถิ่นหนึ่งเป็น การเฉพาะเป็นหลักที่ทำาให้สามารถ
ระดมทรัพยากร กำาลังคน เครื่องมือเครื่องใช้จากพื้นที่ต่างๆ ได้โดย
ง่าย และสามารถใช้ทรัพยากรเหล่านี้รวมกันหรือสับเปลี่ยนกันใช้ใน
พื้นที่ที่มีความจำาเป็นได้ ซึ่งทำาให้เกิด การประหยัด เป็นต้น
               อย่างไรก็ตาม หลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วน
ราชการต่าง ๆ ในส่วนกลางทั้งหมดจะกระทำาได้ก็แต่ในประเทศทีมี      ่
พื้นที่ไม่กว้างขวางใหญ่โตมากนัก และสภาพพื้นที่ตลอดจนความเป็น
อยู่ของประชาชน ไม่มีปัญหาและความต้องการที่แตกต่างสลับซับ
ซ้อนจนเกินไป แต่ในกรณีที่เป็นประเทศซึ่งมีอาณาเขตกว้างขวาง
และมีประชาชนหนาแน่น หลักการรวมอำานาจไว้ที่ส่วนกลางจะทำาให้
เกิดผลเสียประการ เช่น เป็นหลักที่ทำา ให้ส่วนกลางจะต้องรับภาระใน
เรื่องปลีกย่อยต่างๆ ทุกเรื่อง จนกระทั่งไม่สามารถบริหารในระดับ
นโยบาย ได้ดีเท่าทีควร เป็นหลักที่ทำาให้เกิดความล่าช้าในการดำาเนิน
                        ่
งานเนื่องจากต้องรอการวินิจฉัยสั่งการจาก ส่วนกลาง ซึ่งบางครั้ง
ไม่ทันต่อความต้องการของผู้รับบริการ เป็นต้น

หลักการแบ่งอำานาจ (Deconcentration )
ระบบบริหารราชการไทย


           เป็นหลักการในการจัดระเบียบบริหารราชการเพื่อที่จะแก้
ปัญหาหรือข้อเสียของหลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วนกลาง
ดังได้กล่าวมาแล้ว จึงได้มีการแบ่งหรือมอบอำานาจในการบริหาร
ราชการบางอย่างจากส่วนกลางไปให้หน่วยราชการในส่วนภูมิภาคมี
อำานาจตัดสินใจบังคับบัญชา และวินิจฉัยสั่งการได้ในระดับหนึ่ง
           หลักการแบ่งอำานาจในการบริหารราชการไปให้ส่วนภูมิภาค
ยังถือว่า เป็นการจัดระเบียบบริหาร ราชการตามหลักการรวมอำานาจ
เป็นแต่เพียงมีการแบ่งพื้นที่ของประเทศออกเป็นเขตการบริหารระดับ
ต่างๆ แล้ว ส่วนก็ส่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่ออกไปปฏิบัติงานประจำา
เขตพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าว โดยข้าราชการและเจ้าหน้าที่เหล่านี้จะได้รับ
การแบ่งหรือมอบอำานาจในการวินิจฉัยสั่งการบางเรื่องในขอบเขตที่
แน่นอนจากส่วนราชการเจ้าสังกัดในส่วนกลาง และการแบ่งหรือมอบ
อำานาจนี้ ส่วนกลางจะเรียกคืนหรือเพิกถอนเปลี่ยนแปลงการใช้
ดุลยพินิจสั่งการของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาคได้โดย
ง่ายและอย่างกว้างขวาง และในเรื่องใดที่มิได้มีการมอบอำานาจไว้
ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาคก็ยังต้องฟังคำาสั่งจากส่วน
กลางก่อน

            หลักการแบ่งอำานาจในการบริหารราชการในส่วนภูมิภาคนั้น
มีข้อดีที่สามารถให้บริการประชาชนในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว การให้
บริการทุกเรื่องจะเป็นไปเสอมภาคกัน ซึ่งเป็นข้อดีของหลักการรวม
อำานาจไว้ที่ส่วนกลางดังได้กล่าวมาแล้ว แต่ก็ยังมีข้อเสียที่ไม่สามารถ
ให้บริการที่ตรงกับความต้องการของประชาชน และสอดคล้องกับ
สภาพปัญหาของท้องถิ่นซึ่งแตกต่างกันได้

หลักการกระจายอำานาจ (Decentralization)
          เป็นหลักในการจัดระเบียบบริหารราชการโดยการกระจาย
หรือโอนอำานาจในการบริหารไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไป
ดำาเนินการโดยตนเอง มีความเป็นอิสระ (Autonomy) ในการดำาเนิน
ระบบบริหารราชการไทย


กิจการที่อยู่ในอำานาจหน้าที่ของตนตามที่กฎหมายให้อำานาจไว้
กล่าวคือ ไม่ต้องอยู่ภายใต้ การควบคุมบังคับบัญชาโดยตรงจากส่วน
กลางหรือส่วนภูมิภาค เพียงแต่ส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาคจะคอย
กำากับดูแลให้เป็นไปตามนโยบาย กฎและระเบียบของส่วนกลาง
เท่านั้น การจัดระเบียบบริหารราชการ ตามหลักการกระจายอำานาจนี้
เป็นการลดอำานาจของส่วนกลางเท่านั้น การจัดระเบียบบริหารราชการ
ตามหลักการกระจายอำานาจนี้เป็นการลดอำานาจไปให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นไปดำาเนินการเอง มิใช่เป็นเพียงการแบ่งหรือมอบอำานาจ
เหมือนหลักการแบ่งอำานาจในการบริหารให้หน่วยราชการในส่วน
ภูมิภาค
           การกระจายอำานาจในการบริหารเป็นหลักในการจัดระเบียบ
บริหารราชการที่มีประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นหลักที่ทำาให้มี
ความคล่องตัวในการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดีกว่า
หลักการรวม อำานาจและหลักการแบ่งอำานาจ โดยเฉพาะในเรื่องที่
เป็นปัญหาเฉพาะของท้องถิ่นและไม่มีความ สลับซับซ้อนมากนัก เป็น
หลักที่จะช่วยแบ่งเบาภาระบางอย่างไปให้ท้องถิ่นดำาเนินการเองเป็น
หลักที่จะเป็นการเกื้อหนุนส่งเสริมการพัฒนาทางการเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตยที่สำาคัญที่สุดทางหนึ่ง เป็นต้น
           แต่อย่างไรก็ตาม หลักการกระจายอำานาจในการบริหารก็มี
ข้อเสียอยู่เหมือนกัน เช่น เป็นหลักที่จะทำาให้มีการต่อสู้ทางการเมือง
ระหว่างกลุ่มต่างๆ จนทำาให้เกิดความขัดแย้งกันในท้องถิ่นได้ อัน
เป็นผลให้การดำาเนินกิจการของท้องถิ่นไม่อาจดำาเนินไปด้วยดี เป็น
หลักที่ทำาให้เกิดความสิ้นเปลืองมากกว่าหลักการรวมอำานาจ เพราะ
ต้องจ้างเจ้าหน้าที่ จัดซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่จำาเป็น ของแต่ละ
ท้องถิ่น โดยไม่อาจสับเปลี่ยนหรือใช้ร่วมกับท้องถิ่นอื่นได้โดยง่ายนัก
ซึ่งจะเป็นปัญหาอย่างมากในกรณีที่มีสภาพทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน
มาก เป็นต้น
           ในการจัดระเบียบบริหารราชการในประเทศต่างๆ ไม่จำาเป็น
ต้องจัดให้มทั้ง 3 หลัก
             ี                    แต่หลักการรวมอำานาจและหลักการก
ระบบบริหารราชการไทย


ระจายอำานาจนั้น ทุกประเทศจะต้องจัดให้มีควบคู่กันไปส่วนหลักการ
แบ่งอำานาจจะจัดให้มีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความจำาเป็นและความเหมาะ
สมของแต่ละประเทศ             ซึงในปัจจุบันหลักการนี้ใช้กันน้อยมาก
                                ่

          การจัดระเบียบบริหารราชการไทยในปัจจุบัน จะใช้หลัก
การจัดระเบียบบริหารราชการตามที่กำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง
ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 กล่าวคือ
          1.ใช้หลักการรวมอำานาจในการจัดระเบียบการบริหารส่วน
ราชการส่วนกลาง อันได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ
          2.ใช้หลักการแบ่งอำานาจในการจัดระเบียบบริหารราชการ
ส่วนภูมิภาค อันได้แก่ จังหวัดและอำาเภอ
          3.ใช้หลักการกระจายอำานาจในการจัดระเบียบบริหาร
ราชการส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองส่วนท้องถิ่น อันได้แก่ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่างๆ

การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (Central
Administration)
          ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่
5 พ.ศ. 2545 ได้กำาหนดเรื่องของการแบ่งส่วนราชการ กำาหนด
อำานาจหน้าที่รับผิดชอบ การบังคับบัญชาส่วนราชการ และความ
สัมพันธ์ระหว่างส่วนราชการต่างๆไว้ ในการจัดระเบียบบริหารราชการ
ส่วนกลาง กฎหมายได้กำาหนดให้มีการตัดแบ่งส่วนราชการออกเป็น
          - สำานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเป็นกระทรวง)
          - กระทรวง หรือ ทบวงซึงมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
                                  ่
          - ทบวง ซึงสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี หรือ กระทรวง (
                     ่
ปัจจุบันไม่มีส่วนราชการที่เป็นทบวง ภายหลังประกาศใช้ พรบ.การ
ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้เปลี่ยนฐานะของทบวงมหาวิทยาลัยให้
ระบบบริหารราชการไทย


เป็น “สำานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา” ซึงส่วนราชการในสังกัด
                                             ่
กระทรวงศึกษาธิการ)
           - กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ
เป็นกรม ซึ่งสังกัด หรือ ไม่สังกัดสำานักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือ
ทบวง
           ทั้งนี้การจัดตั้ง เปลี่ยนแปลง ยุบส่วนราชการข้างต้นต้อง
ตราเป็น พระราชบัญญัติและการแบ่งส่วนราชการภายในกรมให้ตรา
เป็นกฎกระทรวง
           สำาหรับการบริหารราชการส่วนกลางนั้น เป็นการรวมอำานาจ
การตัดสินใจ การกำาหนดนโยบาย การวางแผนการจัดสรรงบ
ประมาณ การควบคุมตรวจสอบ การบริหารราชการในกิจการสำาคัญ
ไว้ให้เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สังกัดราชการส่วน
กลาง การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รายละเอียด ดังนี้

           1. สำานักนายกรัฐมนตรี สำานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นก
ระทรวง อยู่ภาคใต้การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ซึงทำาหน้าที่
                                                      ่
เป็นเครื่องมือของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีในเรื่องทีเป็นหัวใจ
ของการบริหารราชการ เช่น การวางแผนและพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติการกำาหนดนโยบายและการดำาเนินการเกี่ยวกับการ
บริหารงานบุคคลสำาหรับข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริหาร
งบประมาณแผ่นดิน การเร่งรัดและติดตามผลการดำาเนินงานของส่วน
ราชการต่างๆ รวมทั้งกิจการที่ไม่อยู่ในอำานาจหน้าที่อำานาจหน้าที่ของ
กระทรวง ทบวง กรมใด
           ในการบริหารราชการของสำานักนายกรัฐมนตรีในส่วนที่มี
ความสำาคัญที่สุดก็คือ การกำาหนดอำานาจหน้าที่ของ นายกรัฐมนตรี
ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล ให้มีอำานาจหน้าที่อย่างกว้างขวางครอบคลุม
ทั้งการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น รวม
ระบบบริหารราชการไทย


ทั้งการวางระเบียบปฏิบัติราชการเพื่อให้การบริหารและการจัดดารเป็น
ไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
          ในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดโครงสร้างส่วนราชการของสำานัก
นายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
พ.ศ. 2545 ปรากฏว่าสำานักนายกรัฐมนตรีจะประกอบด้วยส่วน
ราชการระดับกรม ซึ่งอาจแยกได้เป็น 2 ส่วน คือ
          1.1 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงกับนายก
รัฐมนตรี จำานวน 9 หน่วยงาน ได้แก่
          - สำานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
          - สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
          - สำานักข่าวกรองแห่งชาติ
          - สำานักงบประมาณ
          - สำานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
          - สำานักงานคณะกรรมกฤษฎีกา
          - สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
          - สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
          - สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

        1.2 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นกับปลัดสำานัก
นายกรัฐมนตรี จำานวน 2 หน่วยงาน ได้แก่
        - กรมประชาสัมพันธ์
        - สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

         ส่วนราชการในสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรีไม่ได้มีสายการ
บังคับบัญชาขึ้นกับปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีทั้งหมดทุกรวม ซึ่งแตก
ต่างไปจากกระทรวงอื่นๆ ที่ส่วนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงจะ
มีสายการบังคับบัญชาขึ้นกับปลัดกระทรวงเป็นส่วนใหญ่
ระบบบริหารราชการไทย


           2. กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
           สำาหรับกระทรวงซึ่งเป็นส่วนราชการหรือกลุ่มงานที่มีระดับ
ความสำาคัญที่สุดในการบริหารประเทศมีอำานาจหน้าที่ตามกำาหนดไว้
ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมโดยมีรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งการและ ปฏิบัติราชการและปลัดกระทรวงเป็น
ผู้รับผิดชอบควบคุมราชการประจำาในกระทรวง

           กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงอาจจัด
ระเบียบระบบบริหารราชการได้ดังนี้
           - สำานักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มีอำานาจหน้าที่
เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซึงเป็น
                                                     ่
ข้าราชการการเมือง เป็นผู้บังคับบัญชา และรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการของสำานักงานเลขานุการรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการ
คนหนึ่งหรือ หลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการ
ก็ได้
           - สำานักงานปลัดกระทรวง เป็นส่วนราชการที่มีฐานะเป็นก
รมเกี่ยวกับราชการประจำาทั่วไปของกระทรวงและราชการที่คณะ
รัฐมนตรีมิได้กำาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัด
กระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกำากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการใน
กระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ
กระทรวง โดยมีปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการประจำาใน
กระทรวงรองจากนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
ของสำานักงานปลัดกระทรวง
           กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เป็นส่วนราชการ
ที่มีอำานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการส่วนใดส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือ
ทบวงตามที่กำาหนดในพระราชกฤษฎีกา หรือ กฎกระทรวงแบ่งส่วน
ราชการของกรม หรือ ตามกฎหมายว่าด้วยอำานาจหน้าที่ของกรมนั้น
ระบบบริหารราชการไทย


โดยมีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการของกรมให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติ
ราชการของกระทรวง
         โครงสร้างใหม่ของราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง
เป็น 20 กระทรวง ประกอบด้วย
         1. สำานักนายกรัฐมนตรี
         2. กระทรวงกลาโหม
         3. กระทรวงการคลัง
         4. กระทรวงการต่างประเทศ
         5. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
         6. กระทรวงการศึกษา
         7. กระทรวงกีฬาและกิจการเยาวชน
         8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
         9. กระทรวงคมนาคม
         10.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
         11.กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร
         12.กระทรวงพลังงาน
         13.กระทรวงพาณิชย์
         14.กระทรวงมหาดไทย
         15.กระทรวงยุติธรรม
         16.กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ
         17.กระทรวงวัฒนธรรม
         18.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
         19.กระทรวงสาธารณสุข
         20.กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ
         สำาหรับส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี
         กระทรวง ทบวง ประกอบด้วย
         1. สำานักราชเลขาธิการ
         2. สำานักพระราชวัง
ระบบบริหารราชการไทย


         3. สำานักคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน
            เนื่องมาจากพระราชดำาริ
         4. สำานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
         5. ราชบัณฑิตยสถาน
         6. สำานักงานตำารวจแห่งชาติ
         7. สำานักงานอัยการสูงสุด

         ทั้งนี้ส่วนราชการตามข้อ 1–6 มีฐานะเป็นกรมอยู่ในบังคับ
บัญชาของนายกรัฐมนตรี        ส่วนราชการในข้อ 7 มีฐานะเป็นกรม
อยู่ในบัญชาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

           นอกจากนี้กระทรวงทั้ง 20 กระทรวงยังมีการแบ่งกลุ่ม
กระทรวงตามภารกิจได้ 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ
      กลุ่มแรก คือ กลุมกระทรวงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
                       ่
เป็นกลุ่มกระทรวงที่เกี่ยวข้องความเป็นอยู่ของประเทศลักษณะงาน
ประจำาต่อเนื่องจึงมีลักษณะถาวรมีความต่อเนื่องและมีการ
เปลี่ยนแปลงในเชิงภารกิจน้อย กลุมกระทรวงเหล่านี้ประกอบด้วย 6
                                 ่
กระทรวง คือ
           1. สำานักนายกรัฐมนตรี
           2. กระทรวงกลาโหม
           3. กระทรวงมหาดไทย
           4. กระทรวงการคลัง
           5. กระทรวงการต่างประเทศ
           6. กระทรวงยุติธรรม

     กลุ่มที่ 2 กลุ่มกระทรวงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ เป็นก
ลุ่มกระทรวงที่เน้นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ
ประกอบด้วย 10 กระทรวง คือ
          1. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ระบบบริหารราชการไทย


         2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
         3. กระทรวงคมนาคม
         4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
         5. กระทรวงพาณิชย์
         6. กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ
         7. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
         8. กระทรวงการศึกษา
         9. กระทรวงสาธารณสุข
         10.กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ

          กลุ่มสุดท้ายจัดตั้งขึ้นมาเป็นภารกิจเร่งด่วนของรัฐบาล
เป็นกลุ่มกระทรวงเพื่อดำาเนินงานที่เป็นภารกิจสำาคัญตามนโยบาย
รัฐบาล มีลักษณะเป็นพลวัต (dynamic) สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย
ประกอบด้วย 4 กระทรวง คือ
          1. กระทรวงกีฬาและกิจการเยาวชน
          2. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
          3. กระทรวงพลังงาน
          4. กระทรวงวัฒนธรรม

         นโยบายการปฏิรูประบบราชการเพื่อให้เกิดการปฏิรูปการ
ปรับปรุงและเปลี่ยนการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้นโดยการจัดแบ่งแต่ละกระทรวงให้เป็นหมวดหมู่ จำาแนก
บทบาทภารกิจของแต่กระทรวงให้ชัดเจน

การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (Provincial
Administration)
         การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นการจัด
ระเบียบราชการตามหลักการแบ่งอำานาจโดยส่วนกลางแบ่งอำานาจใน
การบริหารราชการบางอย่างไปให้หน่วยงานราชการหรือตัวแทนของ
ระบบบริหารราชการไทย


ส่วนกลางในส่วนภูมิภาคโดยให้มีอำานาจตัดสินใจ บังคับบัญชา และ
วินิจฉัยสั่งการแทนส่วนกลางได้ในระดับหนึ่ง
            การแบ่งอำานาจในการบริหารราชการให้แก่ส่วนภูมิภาค จึง
เป็นการมอบอำานาจในการตัดสินใจวินิจฉัยสั่งการโดยเจ้าหน้าที่ที่ไป
ปฏิบัติงานประจำาในภูมิภาค แต่งบประมาณยังขึ้นกับส่วนกลางทั้งสิ้น
ซึ่งเป็นผลทำาให้ส่วนภูมิภาคอยู่ใต้การควบคุม ตรวจตราจากส่วนกลาง
อย่างใกล้ชิด และส่วนกลางอาจเรียก อำานาจคืนเมื่อไรก็ได้ ดังนั้น
ฐานะและบทบาทของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคจึงขึ้นอยู่กับว่า
ส่วนกลางจะมอบความไว้วางใจแอละแบ่งอำานาจในการบริหาร
ราชการให้แก่ส่วนภูมิภาคมากน้อยเพียงใด
            การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ออกเป็น จังหวัดและอำาเภอ ส่วนการจัดระเบียบการบริหารราชการใน
ระดับตำ่ากว่าอำาเภอให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครอง
ท้องที่ พ.ศ. 2547 ซึ่งให้แบ่งเขตอำาเภอออกเป็น ตำาบล และ
หมู่บ้าน ซึงมีสาระสำาคัญโดยสรุปดังนี้
             ่

1. จังหวัด
            เขตจังหวัดจะประกอบด้วยท้องที่หลายๆ อำาเภอ และมี
ฐานะเป็น นิติบุคคล การจัดตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด
ต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ
            ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้รับนโยบายและคำาสั่งจากนายก
รัฐมนตรีในฐานะเป็นหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง
กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็น
หัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ใน
ส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัดมี รองผู้ว่าราชการจังหวัด และ ปลัดจังหวัด
เป็นผู้ช่วย
            ทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการจังหวัดสังกัด
สำานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย ส่วนปลัดจังหวัด สังกัด
ระบบบริหารราชการไทย


กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยแต่ละจังหวัด มีคณะกรมการ
จังหวัด ทำาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการ บริหาร
ราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำาแผน
พัฒนาจังหวัดตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายหรือมติของคณะ
รัฐมนตรีกำาหนด
           คณะกรรมการจังหวัดซึ่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้มีการปรับปรุง องค์ประกอบใหม่ให้มีขนาด
เล็กลงนั้น จะประกอบด้วย ผูว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน รองผู้ว่า
                              ้
ราชการจังหวัดคนหนึ่งตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ปลัด
จังหวัด อัยการจังหวัด หัวหน้าตำารวจภูธรจังหวัดและหัวหน้าส่วน
ราชการจังหวัดจากกระทรวงและทบวง ต่างๆ ตามที่กฎหมายกำาหนด
เป็นกรมการจังหวัดโดยมี หัวหน้าสำานักงานจังหวัด เป็นกรมการ
จังหวัดและเลขานุการ
           การปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการจังหวัดและ
กำาหนดอำานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ จังหวัดขึ้นใหม่ตามพระราช
บัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ก็เพื่อให้การ
บริหารราชการ ของจังหวัดมีเอกภาพมากขึ้น
           การแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารแผ่น พ.ศ.
2534 ได้เพิ่มเติมอำานาจหน้าที่ ของผู้ว่าราชการจังหวัดให้กว้างขวาง
ขึ้นกว่าเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำานาจและหน้าที่กำากับดูแล
การปฏิบัติราชการอันมิใช่ส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจำาอยู่ใน
จังหวัดนั้น (ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยข้าราชการ
ในสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู) ให้ปฏิบัติราชการให้
เป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ คำาสั่งกระทรวง ทบวง กรม
หรือของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีหรือยับยั้ง
การกระทำาใดๆ ขอข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อ
บังคับ หรือคำาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือ
ระบบบริหารราชการไทย


การสั่งของร่ายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราวแล้วรายงานกระทรวง ทบวง
กรม ที่เกี่ยวข้อง
            อำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดที่สำาคัญอีกประการ
หนึ่ง คือ การประสานงานและร่วมมือกับ ข้าราชการทหาร ข้าราชการ
ฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนใน
มหาวิทยาลัย ข้าราชการในสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และ
ข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการและหัวหน้าส่วนราชการ ในระดับเขต
หรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
            นอกจากนั้น ได้มีการเพิ่มอำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ
จังหวัด เพื่อให้จังหวัดสามารถแก้ไขปัญหาตามความต้องการของ
ประชาชน คือ ให้จังหวัดเสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ตามโครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด และรายงานให้กระทรวง
มหาดไทยทราบ
            ในส่วนที่เกี่ยวกับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ
จังหวัดนั้น พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ.
2534 กำาหนดให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัดออกเป็น
            สำานักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป และการ
วางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดนั้น มี หัวหน้าสำานักงานจังหวัด
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ
สำานักงานจังหวัด
            ส่วนต่างๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมได้ตงเป็น มีหน้าที่
                                                     ั้
เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นั้นๆมี หัวหน้าส่วน
ราชการประจำาจังหวัด นั้นๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ
บทบาทของสำานักงานจังหวัดในเรื่องวางแผนพัฒนาจังหวัด ซึงได้     ่
กำาหนดขึ้นไว้เพื่อให้สอดคล้องกับอำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ
จังหวัดที่มีหน้าที่เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้องตาม
โครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด นับว่าเป็นการปรับปรุงการบริหาร
ราชการส่วนภูมิภาคครั้งใหญ่ทั้งนีเพื่อให้จังหวัดสามารถจัดทำา
                                   ้
ระบบบริหารราชการไทย


โครงการ หรือแผนพัฒนาจังหวัด โดยมีกฎหมายรองรับและให้อำานาจ
ไว้

2. อำาเภอ
            ส่วนราชการในส่วนภูมิภาคที่รองลงมาจังหวัด ก็คือ อำาเภอ
ซึ่งจะประกอบด้วย ท้องทีหลายๆ ตำาบล การตั้ง ยุบ และ
                             ่
เปลี่ยนแปลงเขตอำาเภอ กระทำาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
            อำาเภอมี นายอำาเภอ ซึงสังกัดกรมการปกครอง กระทรวง
                                  ่
มหาดไทย เป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในอำาเภอ
และรับผิดชอบการบริหารราชการอำาเภอ นอกจากนายอำาเภอแล้วยังมี
ปลัดอำาเภอ และ หัวหน้าส่วนราชการประจำาอำาเภอ ซึ่งกระทรวง
ทบวง กรม ต่างๆ ส่งมาประจำาให้ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผูช่วยเหลือนาย
                                                      ้
อำาเภอและมีอำานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาค ซึง     ่
สังกัดกระทรวง ทบวง กรม              นั้น ในอำาเภอนั้น
            สำาหรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของอำาเภอนั้น พระ
ราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กำาหนดให้
แบ่งส่วนราชการของอำาเภอออกเป็น
            1. สำานักงานอำาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของ
อำาเภอนั้นๆ มีนายอำาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการและ
ผู้รับผิอดชอบ
            2. ส่วนต่างๆ ซึงกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้นใน
                               ่
อำาเภอนั้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นั้น มี
หัวหน้าส่วนราชการประจำาอำาเภอ นั้น เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับ
ผิดชอบ อำาเภอใดมีท้องที่กว้างขวาง ตรวจตราตลอดท้องที่ได้ยาก
แต่มีประชาชนไม่มากพอที่จะจัดตั้งเป็นอำาเภอ ต่างหาก หรือจะจัด
ตั้งเป็นอำาเภอต่างหากก็มีท้องที่เล็กไป กรณีเช่นนี้จะแบ่งท้องที่ของ
อำาเภอออกเป็นกิ่งอำาเภอ เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ
ของอำาเภอ
ระบบบริหารราชการไทย


           การตั้งกิ่งอำาเภอ เป็นอำานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด โดย
เสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกเป็นประกาศ
กระทรวงมหาดไทยด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
           การบริหารราชการส่วนภูมิภาค โดยทั่วไปจะมีหน่วยราชการ
ระดับอำาเภอเท่านั้น แต่ในปัจจุบันได้มีบางกระทรวง ทบวง กรม จัดตัง    ้
หน่วยงาน ระดับตำาบล และ หมู่บ้าน กันบ้างแล้ว เช่น กระทรวง
สาธารณสุข ได้มโครงการจัดตั้ง สถานีอนามัย ในทุกตำาบล และ
                  ี
สำานักงานผดุงครรภ์ ในทุกหมู่บ้าน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จด       ั
ตั้ง สำานักงานเกษตรตำาบล ในทุกตำาบล เป็นต้น
           ในเขตอำาเภอ นอกจากอำาเภอและกิ่งอำาเภอดังได้กล่าวมา
แล้ว พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ยัง
ได้บัญญัติว่า การบริหารราชการของอำาเภอให้เป็นไปตามกฎหมายว่า
ด้วยการปกครองท้องที่ ซึ่งปัจจุบันก็คือ “ พระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ” ซึ่งได้กำาหนดให้มีหน่วยงานในระดับ
ย่อยลงไปจากอำาเภอเป็น ตำาบล และ หมูบ้าน โดยมี รายละเอียดโดย
                                         ่
สรุปดังนี้

3. ตำาบล
           หน่วยงานบริหารราชการในส่วนภูมิภาคที่รองลงมาจาก
อำาเภอ ก็คือ ตำาบล ซึงจะ
                       ่                        ประกอบด้วยหมู่บ้าน
รวมกันตั้งแต่ 5 หมู่บ้านขึ้นไป จัดตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวง
มหาดไทย
           ตำาบลมี กำานัน เป็นหัวหน้า ได้รับค่าตอบแทนเป็นราย
เดือน ซึ่งมิใช่เงินงบประมาณประเภทเงินเดือนตามที่กระทรวง
มหาดไทยกำาหนด กำานันเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งจากผู้ใหญ่บ้าน โดย
นายอำาเภอเป็นผู้จัดให้มีการเลือกตั้งกำานันรับสมัครจากผู้ใหญ่บ้านใน
ตำาบลนั้น โดยกำานันที่ได้รับเลือกตั้ง ตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2535 มี
วาระ การดำารงตำาแหน่ง 5 ปี ส่วนผู้ที่ดำารงตำาแหน่งอยู่แล้วหรือเป็น
ผู้ใหญ่บ้านที่ดำารงตำาแหน่งอยู่ก่อนวันที่ 7 กรกฎาคม 2535 และได้
ระบบบริหารราชการไทย


รับเลือกเป็นกำานันตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2535 ยังคงอยู่ในตำาแหน่ง
ต่อไปจนกว่าจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ นอกจากนั้น ยังมีสาเหตุที่
กำานันจะต้องออกจากตำาแหน่งตามที่กฎหมายกำาหนดไว้ด้วย



4. หมูบ้าน
        ่
            หน่วยงานบริหารราชการในส่วนภูมิภาคที่เล็กที่สุด คือ
หมู่บ้าน ซึงจะประกอบด้วยบ้านหลายบ้านในท้องที่เดียวกัน โดยยึด
            ่
หลักเกณฑ์เพื่อความสะดวกในการให้บริการประชาชน ดังนี้
            1. ถ้าเป็นที่ที่คนอยู่รวมกันมาก แม้จำานวนบ้านน้อย ให้ถือ
จำานวนคนเป็นสำาคัญ คือประมาณ 200 คน เป็น 1 หมู่บ้าน
            2. ถ้าเป็นที่ที่มีผู้คนตั้งแต่บ้านเรือนอยู่ห่างไกล ถึงแม้จะมี
จำานวนคนน้อย ให้ถือ จำานวนบ้าน คือ ประมาณ 5 บ้าน ก็จัดเป็น 1
หมู่บ้านได้ในหมู่บ้านมี ผู้ใหญ่บ้าน คนหนึงเป็นหัวหน้ารับผิดชอบ
                                               ่
และมี ผูช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายบริหาร หมู่บ้านละ 2 คนเว้นแต่ละ
          ้
หมู่บ้านใดมีความจำาเป็นต้องมีมากกว่า 2 คน ต้องขออนุมัติกระทรวง
มหาดไทย และผู้ว่าราชการจังหวัดอาจพิจารณาเห็นสมควรให้มี ผู้
ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ ได้ด้วย ผู้ใหญ่บ้านได้รับค่า
ตอบแทนเป็นรายเดือน แต่มิใช่เงินงบประมาณประเภทเดือนตามที่
กระทรวงมหาดไทยกำาหนด
            ผู้ใหญ่บ้านจะได้รับจากเลือกตั้งจากประชาชนในหมู่บ้าน
โดยนายอำาเภอเป็นผู้ประชุมประชาชนที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมาย
กำาหนด และจะมีวาระการดำารงตำาแหน่งคราวละ 5 ปี เว้นแต่จะได้รับ
การเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านก่อนวันที่ 7 กรกฎาคม 2535 จะสามารถ
ดำารงตำาแหน่งไปจนกว่าจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ นอกจากนั้น ยังมี
สาเหตุที่ผใหญ่บ้านจะต้องออกจากตำาแหน่งตามที่กฎหมายกำาหนด
              ู้
ไว้ด้วย
ระบบบริหารราชการไทย


            การบริหารงานในหมู่บ้านจะมี คณะกรรมการหมู่บ้าน ทำา
หน้าที่ให้คำาแนะคำาปรึกษาเกี่ยวกับกิจการที่จะปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใหญ่
บ้านคณะกรรมการหมู่บ้านจะประกอบด้วย ผูใหญ่บ้าน ผูช่วยผู้ใหญ่
                                              ้          ้
บ้าน และผู้ซึ่งประชาชนเลือกตังเป็นกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิมี
                               ้
จำานวนตามที่นายอำาเภอเห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่า 2 คน
            การบริหารราชการในรูปของตำาบลและหมู่บ้านนี้
            ข้อสังเกตประการแรก คือ ผู้ทมีหน้าที่ รับผิดชอบในการ
                                         ี่
บริหารงาน คือ กำานัน สมาชิกสภาตำาบล ผูใหญ่บ้านและคณะ
                                            ้
กรรมการหมู่บ้านจะใช้ระบบการเลือกตั้งตามหลักการกระจายอำานาจ
แทนที่จะใช้หลักการแบ่งอำานาจเช่นเดียวกับระดับจังหวัดอำาเภอ
            ข้อสังเกตประการที่สอง คือ ความมุงหมายของการจัดตั้ง
                                                ่
ตำาบลและหมู่บ้านแต่เดิมนั้นก็เพื่อทำาหน้าที่ดูแลรักษาความสงบ
เรียบร้อยเป็นสำาคัญ แต่ในปัจจุบันได้รับเปลี่ยนมาเป็นหน่วยงานพื้น
ฐานเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ โดยเน้นให้ประชาชนในตำาบลปละ
หมู่บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตน ซึงเป็นการ
                                                       ่
รองรับการกระจายอำานาจและปรับเปลี่ยนเป็นองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่นที่สมบูรณ์แบบ คือ องค์การบริหารส่วนตำาบล (อบต.) ต่อไปนั่นเอง

การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (Local
Administration)
           การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นเป็นการจัด
ระเบียบบริหารราชการตามหลักกระจายอำานาจ (Decentralization)
ซึ่งตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้
กำาหนดไว้เพียงสั้นๆ ว่าท้องถิ่นใดเห็นสมควรให้ประชาชนมีส่วนใน
การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วน
                                ั
ท้องถิ่น จำานวน 5 รูปแบบ ทังนี้ได้มีการจำาแนกจำานวนของราชการ
                              ้
ส่วนท้องถิ่น ไว้ดังนี้
               1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จำานวน 75 แห่ง
               2. เทศบาล               จำานวน 1,148 แห่ง
ระบบบริหารราชการไทย


                  เทศบาลนคร         จำานวน 22    แห่ง
                  เทศบาลเมือง       จำานวน 117 แห่ง
                  เทศบาลตำาบล       จำานวน 1,019 แห่ง
             3. องค์การบริหารส่วนตำาบล จำานวน 6,620 แห่ง
             4. กรุงเทพมหานคร       จำานวน 1     แห่ง
             5. เมืองพัทยา          จำานวน 1     แห่ง
                                รวม 7,855 แห่ง

          ซึ่งการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (Local
Administration) ถือได้ว่ารัฐบาลเป็นผู้กระจายอำานาจให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้บริหารราชการในการจัดทำาบริการ
สาธารณะ โดยมีผู้บริหารและสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาจาก
การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในพื้นที่ การบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่นโดยการกำากับดูแลของรัฐบาลที่ผ่านทางจังหวัดและอำาเภอ
ระบบบริหารราชการไทย




กิจกรรมท้ายบท

        1.    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับ
             ที5) พ.ศ. 2545 กำาหนดให้จัดการบริหารราชการแผ่น
               ่
             ดินของไทยไว้อย่างไร

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการอ๊อฟแอ๊บ รปศ
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการtechno UCH
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมsasithorn pachareon
 

What's hot (20)

บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบภาค ก กทม.
แนวข้อสอบภาค ก กทม.แนวข้อสอบภาค ก กทม.
แนวข้อสอบภาค ก กทม.
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 

Similar to บริหารราชการไทย 5

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่Thosaporn Sirisumphand
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจPoramate Minsiri
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848CUPress
 

Similar to บริหารราชการไทย 5 (19)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่
การบริหารการพัฒนาประเทศในระดับพื้นที่
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจPlan c  แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
Plan c แนวข้อมสอบการบริหารรัฐกิจ
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
4103
41034103
4103
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848
 
Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
 

More from Saiiew

บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 

More from Saiiew (11)

บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 

บริหารราชการไทย 5

  • 1. ระบบบริหารราชการไทย บทที่ 5 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการ และ การจัดระเบียบบริหาร ราชการไทย สำาหรับประเทศไทยนั้น ได้ยึดหลักการรวมอำานาจไว้ที่ส่วน กลางและหลักการแบ่งอำานาจไปให้ส่วนภูมิภาคมาโดยตลอด กล่าว คือ รัฐบาลได้ใช้หลักการรวมอำานาจและหลักการแบ่งอำานาจผสม ผสานกันไป ทำาให้รัฐบาลสามารถควบคุมได้ทุกส่วนของประเทศ โดย ผ่านตัวแทนของตนในส่วนภูมิภาค มีผลทำาให้การบริหารประเทศมี เอกภาพ และมีความมั่นคงจนถึงปัจจุบันนี้ ส่วนหลักการกระจายอำา นาจให้ประชาชนในท้องถิ่นปกครองกันเองนั้นเป็นหลักใหม่ตาม อุดมการณ์ของประชาธิปไตยภายหลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการ ปกครองประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2475 ดังได้กล่าวมาแล้ว แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการ หลักการทั่วไปในการจัดระเบียบบริหารราชการของประเทศ ต่างๆ ในปัจจุบัน มีใช้กันอยู่ 3 หลัก คือ - หลักการรวมอำานาจ - หลักการแบ่งอำานาจ - หลักกระจายอำานาจ โดยมีลักษณะสำาคัญดังต่อไปนี้ หลักการรวมอำานาจ (Centralization) เป็นหลักในการจัดระเบียบบริหารราชการรวมอำานาจในการ บริหารไว้ที่ส่วนราชการต่างๆ ในส่วนกลาง อันได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ โดยส่วนราชการในส่วนกลางจะแต่งตั้ง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ซึ่งมีสายบังคับบัญชาเป็นลำาดับชั้นออกไป ปฏิบัติงานในทุกส่วนของประเทศ ภายใต้ การควบคุมบังคับบัญชา
  • 2. ระบบบริหารราชการไทย และวินิจฉัยสั่งการจากส่วนกลาง ดังนั้น ภายใต้หลักในการจัดระเบียบ บริหารราชการนี้ อำานาจและความรับผิดชอบสูงสุดจึงอยู่กับผู้บังคับ บัญชาในส่วนกลาง ซึ่งได้แก่ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ระดับรองๆ ลงมา หลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วนกลาง มีข้อหลาย ประการ เช่น เป็นหลักที่ทำาให้การบริหารประเทศมีเอกภาพ ง่ายต่อ การรักษาความมั่นคงและสงบเรียบร้อยภายในเนื่องจากมีความ ควบคุมบังคับบัญชากันเป็นลำาดับชั้น เป็นหลักที่อำานวยประโยชน์แก่ ประชาชนในทุกพื้นที่อย่างเสมอหน้ากันโดยไม่มีอคติ เพราะส่วน กลางจะมุงแต่ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศมากกว่าที่จะมุ่งเอื้อ ่ ประโยชน์แก่ท้องถิ่นหนึ่งเป็น การเฉพาะเป็นหลักที่ทำาให้สามารถ ระดมทรัพยากร กำาลังคน เครื่องมือเครื่องใช้จากพื้นที่ต่างๆ ได้โดย ง่าย และสามารถใช้ทรัพยากรเหล่านี้รวมกันหรือสับเปลี่ยนกันใช้ใน พื้นที่ที่มีความจำาเป็นได้ ซึ่งทำาให้เกิด การประหยัด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วน ราชการต่าง ๆ ในส่วนกลางทั้งหมดจะกระทำาได้ก็แต่ในประเทศทีมี ่ พื้นที่ไม่กว้างขวางใหญ่โตมากนัก และสภาพพื้นที่ตลอดจนความเป็น อยู่ของประชาชน ไม่มีปัญหาและความต้องการที่แตกต่างสลับซับ ซ้อนจนเกินไป แต่ในกรณีที่เป็นประเทศซึ่งมีอาณาเขตกว้างขวาง และมีประชาชนหนาแน่น หลักการรวมอำานาจไว้ที่ส่วนกลางจะทำาให้ เกิดผลเสียประการ เช่น เป็นหลักที่ทำา ให้ส่วนกลางจะต้องรับภาระใน เรื่องปลีกย่อยต่างๆ ทุกเรื่อง จนกระทั่งไม่สามารถบริหารในระดับ นโยบาย ได้ดีเท่าทีควร เป็นหลักที่ทำาให้เกิดความล่าช้าในการดำาเนิน ่ งานเนื่องจากต้องรอการวินิจฉัยสั่งการจาก ส่วนกลาง ซึ่งบางครั้ง ไม่ทันต่อความต้องการของผู้รับบริการ เป็นต้น หลักการแบ่งอำานาจ (Deconcentration )
  • 3. ระบบบริหารราชการไทย เป็นหลักการในการจัดระเบียบบริหารราชการเพื่อที่จะแก้ ปัญหาหรือข้อเสียของหลักการรวมอำานาจในการบริหารไว้ที่ส่วนกลาง ดังได้กล่าวมาแล้ว จึงได้มีการแบ่งหรือมอบอำานาจในการบริหาร ราชการบางอย่างจากส่วนกลางไปให้หน่วยราชการในส่วนภูมิภาคมี อำานาจตัดสินใจบังคับบัญชา และวินิจฉัยสั่งการได้ในระดับหนึ่ง หลักการแบ่งอำานาจในการบริหารราชการไปให้ส่วนภูมิภาค ยังถือว่า เป็นการจัดระเบียบบริหาร ราชการตามหลักการรวมอำานาจ เป็นแต่เพียงมีการแบ่งพื้นที่ของประเทศออกเป็นเขตการบริหารระดับ ต่างๆ แล้ว ส่วนก็ส่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่ออกไปปฏิบัติงานประจำา เขตพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าว โดยข้าราชการและเจ้าหน้าที่เหล่านี้จะได้รับ การแบ่งหรือมอบอำานาจในการวินิจฉัยสั่งการบางเรื่องในขอบเขตที่ แน่นอนจากส่วนราชการเจ้าสังกัดในส่วนกลาง และการแบ่งหรือมอบ อำานาจนี้ ส่วนกลางจะเรียกคืนหรือเพิกถอนเปลี่ยนแปลงการใช้ ดุลยพินิจสั่งการของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาคได้โดย ง่ายและอย่างกว้างขวาง และในเรื่องใดที่มิได้มีการมอบอำานาจไว้ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาคก็ยังต้องฟังคำาสั่งจากส่วน กลางก่อน หลักการแบ่งอำานาจในการบริหารราชการในส่วนภูมิภาคนั้น มีข้อดีที่สามารถให้บริการประชาชนในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว การให้ บริการทุกเรื่องจะเป็นไปเสอมภาคกัน ซึ่งเป็นข้อดีของหลักการรวม อำานาจไว้ที่ส่วนกลางดังได้กล่าวมาแล้ว แต่ก็ยังมีข้อเสียที่ไม่สามารถ ให้บริการที่ตรงกับความต้องการของประชาชน และสอดคล้องกับ สภาพปัญหาของท้องถิ่นซึ่งแตกต่างกันได้ หลักการกระจายอำานาจ (Decentralization) เป็นหลักในการจัดระเบียบบริหารราชการโดยการกระจาย หรือโอนอำานาจในการบริหารไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไป ดำาเนินการโดยตนเอง มีความเป็นอิสระ (Autonomy) ในการดำาเนิน
  • 4. ระบบบริหารราชการไทย กิจการที่อยู่ในอำานาจหน้าที่ของตนตามที่กฎหมายให้อำานาจไว้ กล่าวคือ ไม่ต้องอยู่ภายใต้ การควบคุมบังคับบัญชาโดยตรงจากส่วน กลางหรือส่วนภูมิภาค เพียงแต่ส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาคจะคอย กำากับดูแลให้เป็นไปตามนโยบาย กฎและระเบียบของส่วนกลาง เท่านั้น การจัดระเบียบบริหารราชการ ตามหลักการกระจายอำานาจนี้ เป็นการลดอำานาจของส่วนกลางเท่านั้น การจัดระเบียบบริหารราชการ ตามหลักการกระจายอำานาจนี้เป็นการลดอำานาจไปให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นไปดำาเนินการเอง มิใช่เป็นเพียงการแบ่งหรือมอบอำานาจ เหมือนหลักการแบ่งอำานาจในการบริหารให้หน่วยราชการในส่วน ภูมิภาค การกระจายอำานาจในการบริหารเป็นหลักในการจัดระเบียบ บริหารราชการที่มีประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นหลักที่ทำาให้มี ความคล่องตัวในการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดีกว่า หลักการรวม อำานาจและหลักการแบ่งอำานาจ โดยเฉพาะในเรื่องที่ เป็นปัญหาเฉพาะของท้องถิ่นและไม่มีความ สลับซับซ้อนมากนัก เป็น หลักที่จะช่วยแบ่งเบาภาระบางอย่างไปให้ท้องถิ่นดำาเนินการเองเป็น หลักที่จะเป็นการเกื้อหนุนส่งเสริมการพัฒนาทางการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยที่สำาคัญที่สุดทางหนึ่ง เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม หลักการกระจายอำานาจในการบริหารก็มี ข้อเสียอยู่เหมือนกัน เช่น เป็นหลักที่จะทำาให้มีการต่อสู้ทางการเมือง ระหว่างกลุ่มต่างๆ จนทำาให้เกิดความขัดแย้งกันในท้องถิ่นได้ อัน เป็นผลให้การดำาเนินกิจการของท้องถิ่นไม่อาจดำาเนินไปด้วยดี เป็น หลักที่ทำาให้เกิดความสิ้นเปลืองมากกว่าหลักการรวมอำานาจ เพราะ ต้องจ้างเจ้าหน้าที่ จัดซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่จำาเป็น ของแต่ละ ท้องถิ่น โดยไม่อาจสับเปลี่ยนหรือใช้ร่วมกับท้องถิ่นอื่นได้โดยง่ายนัก ซึ่งจะเป็นปัญหาอย่างมากในกรณีที่มีสภาพทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน มาก เป็นต้น ในการจัดระเบียบบริหารราชการในประเทศต่างๆ ไม่จำาเป็น ต้องจัดให้มทั้ง 3 หลัก ี แต่หลักการรวมอำานาจและหลักการก
  • 5. ระบบบริหารราชการไทย ระจายอำานาจนั้น ทุกประเทศจะต้องจัดให้มีควบคู่กันไปส่วนหลักการ แบ่งอำานาจจะจัดให้มีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความจำาเป็นและความเหมาะ สมของแต่ละประเทศ ซึงในปัจจุบันหลักการนี้ใช้กันน้อยมาก ่ การจัดระเบียบบริหารราชการไทยในปัจจุบัน จะใช้หลัก การจัดระเบียบบริหารราชการตามที่กำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 กล่าวคือ 1.ใช้หลักการรวมอำานาจในการจัดระเบียบการบริหารส่วน ราชการส่วนกลาง อันได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ 2.ใช้หลักการแบ่งอำานาจในการจัดระเบียบบริหารราชการ ส่วนภูมิภาค อันได้แก่ จังหวัดและอำาเภอ 3.ใช้หลักการกระจายอำานาจในการจัดระเบียบบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองส่วนท้องถิ่น อันได้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่างๆ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (Central Administration) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 ได้กำาหนดเรื่องของการแบ่งส่วนราชการ กำาหนด อำานาจหน้าที่รับผิดชอบ การบังคับบัญชาส่วนราชการ และความ สัมพันธ์ระหว่างส่วนราชการต่างๆไว้ ในการจัดระเบียบบริหารราชการ ส่วนกลาง กฎหมายได้กำาหนดให้มีการตัดแบ่งส่วนราชการออกเป็น - สำานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเป็นกระทรวง) - กระทรวง หรือ ทบวงซึงมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ่ - ทบวง ซึงสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี หรือ กระทรวง ( ่ ปัจจุบันไม่มีส่วนราชการที่เป็นทบวง ภายหลังประกาศใช้ พรบ.การ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้เปลี่ยนฐานะของทบวงมหาวิทยาลัยให้
  • 6. ระบบบริหารราชการไทย เป็น “สำานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา” ซึงส่วนราชการในสังกัด ่ กระทรวงศึกษาธิการ) - กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ เป็นกรม ซึ่งสังกัด หรือ ไม่สังกัดสำานักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือ ทบวง ทั้งนี้การจัดตั้ง เปลี่ยนแปลง ยุบส่วนราชการข้างต้นต้อง ตราเป็น พระราชบัญญัติและการแบ่งส่วนราชการภายในกรมให้ตรา เป็นกฎกระทรวง สำาหรับการบริหารราชการส่วนกลางนั้น เป็นการรวมอำานาจ การตัดสินใจ การกำาหนดนโยบาย การวางแผนการจัดสรรงบ ประมาณ การควบคุมตรวจสอบ การบริหารราชการในกิจการสำาคัญ ไว้ให้เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สังกัดราชการส่วน กลาง การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รายละเอียด ดังนี้ 1. สำานักนายกรัฐมนตรี สำานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นก ระทรวง อยู่ภาคใต้การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ซึงทำาหน้าที่ ่ เป็นเครื่องมือของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีในเรื่องทีเป็นหัวใจ ของการบริหารราชการ เช่น การวางแผนและพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติการกำาหนดนโยบายและการดำาเนินการเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคลสำาหรับข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริหาร งบประมาณแผ่นดิน การเร่งรัดและติดตามผลการดำาเนินงานของส่วน ราชการต่างๆ รวมทั้งกิจการที่ไม่อยู่ในอำานาจหน้าที่อำานาจหน้าที่ของ กระทรวง ทบวง กรมใด ในการบริหารราชการของสำานักนายกรัฐมนตรีในส่วนที่มี ความสำาคัญที่สุดก็คือ การกำาหนดอำานาจหน้าที่ของ นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล ให้มีอำานาจหน้าที่อย่างกว้างขวางครอบคลุม ทั้งการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น รวม
  • 7. ระบบบริหารราชการไทย ทั้งการวางระเบียบปฏิบัติราชการเพื่อให้การบริหารและการจัดดารเป็น ไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดโครงสร้างส่วนราชการของสำานัก นายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ปรากฏว่าสำานักนายกรัฐมนตรีจะประกอบด้วยส่วน ราชการระดับกรม ซึ่งอาจแยกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1.1 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงกับนายก รัฐมนตรี จำานวน 9 หน่วยงาน ได้แก่ - สำานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี - สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี - สำานักข่าวกรองแห่งชาติ - สำานักงบประมาณ - สำานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ - สำานักงานคณะกรรมกฤษฎีกา - สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน - สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ - สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 1.2 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นกับปลัดสำานัก นายกรัฐมนตรี จำานวน 2 หน่วยงาน ได้แก่ - กรมประชาสัมพันธ์ - สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ส่วนราชการในสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรีไม่ได้มีสายการ บังคับบัญชาขึ้นกับปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีทั้งหมดทุกรวม ซึ่งแตก ต่างไปจากกระทรวงอื่นๆ ที่ส่วนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงจะ มีสายการบังคับบัญชาขึ้นกับปลัดกระทรวงเป็นส่วนใหญ่
  • 8. ระบบบริหารราชการไทย 2. กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง สำาหรับกระทรวงซึ่งเป็นส่วนราชการหรือกลุ่มงานที่มีระดับ ความสำาคัญที่สุดในการบริหารประเทศมีอำานาจหน้าที่ตามกำาหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมโดยมีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งการและ ปฏิบัติราชการและปลัดกระทรวงเป็น ผู้รับผิดชอบควบคุมราชการประจำาในกระทรวง กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงอาจจัด ระเบียบระบบบริหารราชการได้ดังนี้ - สำานักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มีอำานาจหน้าที่ เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซึงเป็น ่ ข้าราชการการเมือง เป็นผู้บังคับบัญชา และรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสำานักงานเลขานุการรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการ คนหนึ่งหรือ หลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการ ก็ได้ - สำานักงานปลัดกระทรวง เป็นส่วนราชการที่มีฐานะเป็นก รมเกี่ยวกับราชการประจำาทั่วไปของกระทรวงและราชการที่คณะ รัฐมนตรีมิได้กำาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัด กระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกำากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการใน กระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ กระทรวง โดยมีปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการประจำาใน กระทรวงรองจากนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ของสำานักงานปลัดกระทรวง กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เป็นส่วนราชการ ที่มีอำานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการส่วนใดส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือ ทบวงตามที่กำาหนดในพระราชกฤษฎีกา หรือ กฎกระทรวงแบ่งส่วน ราชการของกรม หรือ ตามกฎหมายว่าด้วยอำานาจหน้าที่ของกรมนั้น
  • 9. ระบบบริหารราชการไทย โดยมีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของกรมให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติ ราชการของกระทรวง โครงสร้างใหม่ของราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น 20 กระทรวง ประกอบด้วย 1. สำานักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวงกลาโหม 3. กระทรวงการคลัง 4. กระทรวงการต่างประเทศ 5. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 6. กระทรวงการศึกษา 7. กระทรวงกีฬาและกิจการเยาวชน 8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9. กระทรวงคมนาคม 10.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 11.กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร 12.กระทรวงพลังงาน 13.กระทรวงพาณิชย์ 14.กระทรวงมหาดไทย 15.กระทรวงยุติธรรม 16.กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ 17.กระทรวงวัฒนธรรม 18.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 19.กระทรวงสาธารณสุข 20.กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ สำาหรับส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง ประกอบด้วย 1. สำานักราชเลขาธิการ 2. สำานักพระราชวัง
  • 10. ระบบบริหารราชการไทย 3. สำานักคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำาริ 4. สำานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 5. ราชบัณฑิตยสถาน 6. สำานักงานตำารวจแห่งชาติ 7. สำานักงานอัยการสูงสุด ทั้งนี้ส่วนราชการตามข้อ 1–6 มีฐานะเป็นกรมอยู่ในบังคับ บัญชาของนายกรัฐมนตรี ส่วนราชการในข้อ 7 มีฐานะเป็นกรม อยู่ในบัญชาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม นอกจากนี้กระทรวงทั้ง 20 กระทรวงยังมีการแบ่งกลุ่ม กระทรวงตามภารกิจได้ 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ กลุ่มแรก คือ กลุมกระทรวงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ่ เป็นกลุ่มกระทรวงที่เกี่ยวข้องความเป็นอยู่ของประเทศลักษณะงาน ประจำาต่อเนื่องจึงมีลักษณะถาวรมีความต่อเนื่องและมีการ เปลี่ยนแปลงในเชิงภารกิจน้อย กลุมกระทรวงเหล่านี้ประกอบด้วย 6 ่ กระทรวง คือ 1. สำานักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวงกลาโหม 3. กระทรวงมหาดไทย 4. กระทรวงการคลัง 5. กระทรวงการต่างประเทศ 6. กระทรวงยุติธรรม กลุ่มที่ 2 กลุ่มกระทรวงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ เป็นก ลุ่มกระทรวงที่เน้นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 กระทรวง คือ 1. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
  • 11. ระบบบริหารราชการไทย 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. กระทรวงคมนาคม 4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. กระทรวงพาณิชย์ 6. กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ 7. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. กระทรวงการศึกษา 9. กระทรวงสาธารณสุข 10.กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ กลุ่มสุดท้ายจัดตั้งขึ้นมาเป็นภารกิจเร่งด่วนของรัฐบาล เป็นกลุ่มกระทรวงเพื่อดำาเนินงานที่เป็นภารกิจสำาคัญตามนโยบาย รัฐบาล มีลักษณะเป็นพลวัต (dynamic) สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย ประกอบด้วย 4 กระทรวง คือ 1. กระทรวงกีฬาและกิจการเยาวชน 2. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. กระทรวงพลังงาน 4. กระทรวงวัฒนธรรม นโยบายการปฏิรูประบบราชการเพื่อให้เกิดการปฏิรูปการ ปรับปรุงและเปลี่ยนการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้นโดยการจัดแบ่งแต่ละกระทรวงให้เป็นหมวดหมู่ จำาแนก บทบาทภารกิจของแต่กระทรวงให้ชัดเจน การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (Provincial Administration) การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นการจัด ระเบียบราชการตามหลักการแบ่งอำานาจโดยส่วนกลางแบ่งอำานาจใน การบริหารราชการบางอย่างไปให้หน่วยงานราชการหรือตัวแทนของ
  • 12. ระบบบริหารราชการไทย ส่วนกลางในส่วนภูมิภาคโดยให้มีอำานาจตัดสินใจ บังคับบัญชา และ วินิจฉัยสั่งการแทนส่วนกลางได้ในระดับหนึ่ง การแบ่งอำานาจในการบริหารราชการให้แก่ส่วนภูมิภาค จึง เป็นการมอบอำานาจในการตัดสินใจวินิจฉัยสั่งการโดยเจ้าหน้าที่ที่ไป ปฏิบัติงานประจำาในภูมิภาค แต่งบประมาณยังขึ้นกับส่วนกลางทั้งสิ้น ซึ่งเป็นผลทำาให้ส่วนภูมิภาคอยู่ใต้การควบคุม ตรวจตราจากส่วนกลาง อย่างใกล้ชิด และส่วนกลางอาจเรียก อำานาจคืนเมื่อไรก็ได้ ดังนั้น ฐานะและบทบาทของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคจึงขึ้นอยู่กับว่า ส่วนกลางจะมอบความไว้วางใจแอละแบ่งอำานาจในการบริหาร ราชการให้แก่ส่วนภูมิภาคมากน้อยเพียงใด การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ตามพระราชบัญญัติระเบียบ ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ออกเป็น จังหวัดและอำาเภอ ส่วนการจัดระเบียบการบริหารราชการใน ระดับตำ่ากว่าอำาเภอให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครอง ท้องที่ พ.ศ. 2547 ซึ่งให้แบ่งเขตอำาเภอออกเป็น ตำาบล และ หมู่บ้าน ซึงมีสาระสำาคัญโดยสรุปดังนี้ ่ 1. จังหวัด เขตจังหวัดจะประกอบด้วยท้องที่หลายๆ อำาเภอ และมี ฐานะเป็น นิติบุคคล การจัดตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้รับนโยบายและคำาสั่งจากนายก รัฐมนตรีในฐานะเป็นหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็น หัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ใน ส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัดมี รองผู้ว่าราชการจังหวัด และ ปลัดจังหวัด เป็นผู้ช่วย ทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการจังหวัดสังกัด สำานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย ส่วนปลัดจังหวัด สังกัด
  • 13. ระบบบริหารราชการไทย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยแต่ละจังหวัด มีคณะกรมการ จังหวัด ทำาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการ บริหาร ราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำาแผน พัฒนาจังหวัดตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายหรือมติของคณะ รัฐมนตรีกำาหนด คณะกรรมการจังหวัดซึ่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการ แผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้มีการปรับปรุง องค์ประกอบใหม่ให้มีขนาด เล็กลงนั้น จะประกอบด้วย ผูว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน รองผู้ว่า ้ ราชการจังหวัดคนหนึ่งตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ปลัด จังหวัด อัยการจังหวัด หัวหน้าตำารวจภูธรจังหวัดและหัวหน้าส่วน ราชการจังหวัดจากกระทรวงและทบวง ต่างๆ ตามที่กฎหมายกำาหนด เป็นกรมการจังหวัดโดยมี หัวหน้าสำานักงานจังหวัด เป็นกรมการ จังหวัดและเลขานุการ การปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการจังหวัดและ กำาหนดอำานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ จังหวัดขึ้นใหม่ตามพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ก็เพื่อให้การ บริหารราชการ ของจังหวัดมีเอกภาพมากขึ้น การแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารแผ่น พ.ศ. 2534 ได้เพิ่มเติมอำานาจหน้าที่ ของผู้ว่าราชการจังหวัดให้กว้างขวาง ขึ้นกว่าเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำานาจและหน้าที่กำากับดูแล การปฏิบัติราชการอันมิใช่ส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจำาอยู่ใน จังหวัดนั้น (ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยข้าราชการ ในสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู) ให้ปฏิบัติราชการให้ เป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ คำาสั่งกระทรวง ทบวง กรม หรือของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีหรือยับยั้ง การกระทำาใดๆ ขอข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับ หรือคำาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือ
  • 14. ระบบบริหารราชการไทย การสั่งของร่ายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราวแล้วรายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง อำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดที่สำาคัญอีกประการ หนึ่ง คือ การประสานงานและร่วมมือกับ ข้าราชการทหาร ข้าราชการ ฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนใน มหาวิทยาลัย ข้าราชการในสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และ ข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการและหัวหน้าส่วนราชการ ในระดับเขต หรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ นอกจากนั้น ได้มีการเพิ่มอำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อให้จังหวัดสามารถแก้ไขปัญหาตามความต้องการของ ประชาชน คือ ให้จังหวัดเสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ตามโครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด และรายงานให้กระทรวง มหาดไทยทราบ ในส่วนที่เกี่ยวกับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ จังหวัดนั้น พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กำาหนดให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัดออกเป็น สำานักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป และการ วางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดนั้น มี หัวหน้าสำานักงานจังหวัด เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ สำานักงานจังหวัด ส่วนต่างๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมได้ตงเป็น มีหน้าที่ ั้ เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นั้นๆมี หัวหน้าส่วน ราชการประจำาจังหวัด นั้นๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ บทบาทของสำานักงานจังหวัดในเรื่องวางแผนพัฒนาจังหวัด ซึงได้ ่ กำาหนดขึ้นไว้เพื่อให้สอดคล้องกับอำานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ จังหวัดที่มีหน้าที่เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้องตาม โครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด นับว่าเป็นการปรับปรุงการบริหาร ราชการส่วนภูมิภาคครั้งใหญ่ทั้งนีเพื่อให้จังหวัดสามารถจัดทำา ้
  • 15. ระบบบริหารราชการไทย โครงการ หรือแผนพัฒนาจังหวัด โดยมีกฎหมายรองรับและให้อำานาจ ไว้ 2. อำาเภอ ส่วนราชการในส่วนภูมิภาคที่รองลงมาจังหวัด ก็คือ อำาเภอ ซึ่งจะประกอบด้วย ท้องทีหลายๆ ตำาบล การตั้ง ยุบ และ ่ เปลี่ยนแปลงเขตอำาเภอ กระทำาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา อำาเภอมี นายอำาเภอ ซึงสังกัดกรมการปกครอง กระทรวง ่ มหาดไทย เป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในอำาเภอ และรับผิดชอบการบริหารราชการอำาเภอ นอกจากนายอำาเภอแล้วยังมี ปลัดอำาเภอ และ หัวหน้าส่วนราชการประจำาอำาเภอ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ส่งมาประจำาให้ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผูช่วยเหลือนาย ้ อำาเภอและมีอำานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาค ซึง ่ สังกัดกระทรวง ทบวง กรม นั้น ในอำาเภอนั้น สำาหรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของอำาเภอนั้น พระ ราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กำาหนดให้ แบ่งส่วนราชการของอำาเภอออกเป็น 1. สำานักงานอำาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของ อำาเภอนั้นๆ มีนายอำาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการและ ผู้รับผิอดชอบ 2. ส่วนต่างๆ ซึงกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้นใน ่ อำาเภอนั้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นั้น มี หัวหน้าส่วนราชการประจำาอำาเภอ นั้น เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับ ผิดชอบ อำาเภอใดมีท้องที่กว้างขวาง ตรวจตราตลอดท้องที่ได้ยาก แต่มีประชาชนไม่มากพอที่จะจัดตั้งเป็นอำาเภอ ต่างหาก หรือจะจัด ตั้งเป็นอำาเภอต่างหากก็มีท้องที่เล็กไป กรณีเช่นนี้จะแบ่งท้องที่ของ อำาเภอออกเป็นกิ่งอำาเภอ เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ ของอำาเภอ
  • 16. ระบบบริหารราชการไทย การตั้งกิ่งอำาเภอ เป็นอำานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด โดย เสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกเป็นประกาศ กระทรวงมหาดไทยด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี การบริหารราชการส่วนภูมิภาค โดยทั่วไปจะมีหน่วยราชการ ระดับอำาเภอเท่านั้น แต่ในปัจจุบันได้มีบางกระทรวง ทบวง กรม จัดตัง ้ หน่วยงาน ระดับตำาบล และ หมู่บ้าน กันบ้างแล้ว เช่น กระทรวง สาธารณสุข ได้มโครงการจัดตั้ง สถานีอนามัย ในทุกตำาบล และ ี สำานักงานผดุงครรภ์ ในทุกหมู่บ้าน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จด ั ตั้ง สำานักงานเกษตรตำาบล ในทุกตำาบล เป็นต้น ในเขตอำาเภอ นอกจากอำาเภอและกิ่งอำาเภอดังได้กล่าวมา แล้ว พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ยัง ได้บัญญัติว่า การบริหารราชการของอำาเภอให้เป็นไปตามกฎหมายว่า ด้วยการปกครองท้องที่ ซึ่งปัจจุบันก็คือ “ พระราชบัญญัติลักษณะ ปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ” ซึ่งได้กำาหนดให้มีหน่วยงานในระดับ ย่อยลงไปจากอำาเภอเป็น ตำาบล และ หมูบ้าน โดยมี รายละเอียดโดย ่ สรุปดังนี้ 3. ตำาบล หน่วยงานบริหารราชการในส่วนภูมิภาคที่รองลงมาจาก อำาเภอ ก็คือ ตำาบล ซึงจะ ่ ประกอบด้วยหมู่บ้าน รวมกันตั้งแต่ 5 หมู่บ้านขึ้นไป จัดตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวง มหาดไทย ตำาบลมี กำานัน เป็นหัวหน้า ได้รับค่าตอบแทนเป็นราย เดือน ซึ่งมิใช่เงินงบประมาณประเภทเงินเดือนตามที่กระทรวง มหาดไทยกำาหนด กำานันเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งจากผู้ใหญ่บ้าน โดย นายอำาเภอเป็นผู้จัดให้มีการเลือกตั้งกำานันรับสมัครจากผู้ใหญ่บ้านใน ตำาบลนั้น โดยกำานันที่ได้รับเลือกตั้ง ตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2535 มี วาระ การดำารงตำาแหน่ง 5 ปี ส่วนผู้ที่ดำารงตำาแหน่งอยู่แล้วหรือเป็น ผู้ใหญ่บ้านที่ดำารงตำาแหน่งอยู่ก่อนวันที่ 7 กรกฎาคม 2535 และได้
  • 17. ระบบบริหารราชการไทย รับเลือกเป็นกำานันตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2535 ยังคงอยู่ในตำาแหน่ง ต่อไปจนกว่าจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ นอกจากนั้น ยังมีสาเหตุที่ กำานันจะต้องออกจากตำาแหน่งตามที่กฎหมายกำาหนดไว้ด้วย 4. หมูบ้าน ่ หน่วยงานบริหารราชการในส่วนภูมิภาคที่เล็กที่สุด คือ หมู่บ้าน ซึงจะประกอบด้วยบ้านหลายบ้านในท้องที่เดียวกัน โดยยึด ่ หลักเกณฑ์เพื่อความสะดวกในการให้บริการประชาชน ดังนี้ 1. ถ้าเป็นที่ที่คนอยู่รวมกันมาก แม้จำานวนบ้านน้อย ให้ถือ จำานวนคนเป็นสำาคัญ คือประมาณ 200 คน เป็น 1 หมู่บ้าน 2. ถ้าเป็นที่ที่มีผู้คนตั้งแต่บ้านเรือนอยู่ห่างไกล ถึงแม้จะมี จำานวนคนน้อย ให้ถือ จำานวนบ้าน คือ ประมาณ 5 บ้าน ก็จัดเป็น 1 หมู่บ้านได้ในหมู่บ้านมี ผู้ใหญ่บ้าน คนหนึงเป็นหัวหน้ารับผิดชอบ ่ และมี ผูช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายบริหาร หมู่บ้านละ 2 คนเว้นแต่ละ ้ หมู่บ้านใดมีความจำาเป็นต้องมีมากกว่า 2 คน ต้องขออนุมัติกระทรวง มหาดไทย และผู้ว่าราชการจังหวัดอาจพิจารณาเห็นสมควรให้มี ผู้ ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ ได้ด้วย ผู้ใหญ่บ้านได้รับค่า ตอบแทนเป็นรายเดือน แต่มิใช่เงินงบประมาณประเภทเดือนตามที่ กระทรวงมหาดไทยกำาหนด ผู้ใหญ่บ้านจะได้รับจากเลือกตั้งจากประชาชนในหมู่บ้าน โดยนายอำาเภอเป็นผู้ประชุมประชาชนที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมาย กำาหนด และจะมีวาระการดำารงตำาแหน่งคราวละ 5 ปี เว้นแต่จะได้รับ การเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านก่อนวันที่ 7 กรกฎาคม 2535 จะสามารถ ดำารงตำาแหน่งไปจนกว่าจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ นอกจากนั้น ยังมี สาเหตุที่ผใหญ่บ้านจะต้องออกจากตำาแหน่งตามที่กฎหมายกำาหนด ู้ ไว้ด้วย
  • 18. ระบบบริหารราชการไทย การบริหารงานในหมู่บ้านจะมี คณะกรรมการหมู่บ้าน ทำา หน้าที่ให้คำาแนะคำาปรึกษาเกี่ยวกับกิจการที่จะปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใหญ่ บ้านคณะกรรมการหมู่บ้านจะประกอบด้วย ผูใหญ่บ้าน ผูช่วยผู้ใหญ่ ้ ้ บ้าน และผู้ซึ่งประชาชนเลือกตังเป็นกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิมี ้ จำานวนตามที่นายอำาเภอเห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่า 2 คน การบริหารราชการในรูปของตำาบลและหมู่บ้านนี้ ข้อสังเกตประการแรก คือ ผู้ทมีหน้าที่ รับผิดชอบในการ ี่ บริหารงาน คือ กำานัน สมาชิกสภาตำาบล ผูใหญ่บ้านและคณะ ้ กรรมการหมู่บ้านจะใช้ระบบการเลือกตั้งตามหลักการกระจายอำานาจ แทนที่จะใช้หลักการแบ่งอำานาจเช่นเดียวกับระดับจังหวัดอำาเภอ ข้อสังเกตประการที่สอง คือ ความมุงหมายของการจัดตั้ง ่ ตำาบลและหมู่บ้านแต่เดิมนั้นก็เพื่อทำาหน้าที่ดูแลรักษาความสงบ เรียบร้อยเป็นสำาคัญ แต่ในปัจจุบันได้รับเปลี่ยนมาเป็นหน่วยงานพื้น ฐานเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ โดยเน้นให้ประชาชนในตำาบลปละ หมู่บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตน ซึงเป็นการ ่ รองรับการกระจายอำานาจและปรับเปลี่ยนเป็นองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นที่สมบูรณ์แบบ คือ องค์การบริหารส่วนตำาบล (อบต.) ต่อไปนั่นเอง การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (Local Administration) การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นเป็นการจัด ระเบียบบริหารราชการตามหลักกระจายอำานาจ (Decentralization) ซึ่งตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้ กำาหนดไว้เพียงสั้นๆ ว่าท้องถิ่นใดเห็นสมควรให้ประชาชนมีส่วนใน การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วน ั ท้องถิ่น จำานวน 5 รูปแบบ ทังนี้ได้มีการจำาแนกจำานวนของราชการ ้ ส่วนท้องถิ่น ไว้ดังนี้ 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จำานวน 75 แห่ง 2. เทศบาล จำานวน 1,148 แห่ง
  • 19. ระบบบริหารราชการไทย เทศบาลนคร จำานวน 22 แห่ง เทศบาลเมือง จำานวน 117 แห่ง เทศบาลตำาบล จำานวน 1,019 แห่ง 3. องค์การบริหารส่วนตำาบล จำานวน 6,620 แห่ง 4. กรุงเทพมหานคร จำานวน 1 แห่ง 5. เมืองพัทยา จำานวน 1 แห่ง รวม 7,855 แห่ง ซึ่งการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (Local Administration) ถือได้ว่ารัฐบาลเป็นผู้กระจายอำานาจให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้บริหารราชการในการจัดทำาบริการ สาธารณะ โดยมีผู้บริหารและสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในพื้นที่ การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นโดยการกำากับดูแลของรัฐบาลที่ผ่านทางจังหวัดและอำาเภอ
  • 20. ระบบบริหารราชการไทย กิจกรรมท้ายบท 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับ ที5) พ.ศ. 2545 กำาหนดให้จัดการบริหารราชการแผ่น ่ ดินของไทยไว้อย่างไร