SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
งอกทำไมหนอเนื้อ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นำงสำวจิณณรัตน์ จอมอูป เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) งอกทำไมหนอเนื้อ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Brain tumor
ประเภทโครงงาน พัฒนำสื่อเพื่อกำรศึกษำ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นำงสำวจิณณรัตน์ จอมอูป
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภำคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบำยถึงที่มำ แนวคิด และเหตุผล ของกำรทำโครงงำน)
ปัจจุบันผู้สูงอำยุในประเทศไทยป่วยเป็นโรคต่ำงๆมำกมำยและอำจจะเกิดควำมรุนแรงจนถึง
ชีวิตได้ถ้ำหำกเรำทำกำรรักษำไม่ทันเวลำ โรคเนื้องอกในสมองก็เป็นอีกโรคหนึ่งที่สำมำรถพบได้ในกลุ่มของ
ผู้สูงอำยุเรำอำจจะมองว่ำเนื้องอกในสมองนั้นเป็นโรคที่น่ำกลัวและอันตรำย ไม่มีทำงรักษำให้หำยขำดได้ไม่
ว่ำจะเป็นแค่เนื้องอกที่ธรรมดำ หรือเป็นเนื้องอกที่เป็นมะเร็ง แต่เรำลืมคิดไปว่ำปัจจุบันนี้เทคโนโลยีทำงกำร
แพทย์ได้มีกำรพัฒนำมำกขึ้นกว่ำเมื่อก่อนมำก ในกำรที่จะรักษำผู้ป่วยที่เป็นโรคเนื้องอกในสมองนั้นอำจจะ
ไม่ใช่เรื่องที่ยำกอีกต่อไป ถึงแม้ว่ำจะไม่สำมำรถที่จะรักษำให้หำยขำดได้แต่ก็สำมำรถที่จะช่วยลดอำกำร
เจ็บป่วยหรือควำมคิดวิตกกังวลของผู้ที่เป็นโรคนี้ได้เป็นอย่ำงมำก ผู้จัดทำโครงงำนได้ศึกษำและพบว่ำกำร
รักษำโรคเนื้องอกในสมองปัจจุบันนั้นได้มีกำรรักษำได้หลำยแบบ ไม่ว่ำจะเป็นกำรผ่ำตัด กำรฉำยรังสี หรื
กำรเคมีบำบัด สำมำรที่จะช่วยเหลือผู้ที่ป่วยเป็นเนื้องอกในสมองได้ไม่เพียงแต่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น และยัง
ทำให้ครอบครัวของผู้ป่วยหรือคนรอบข้ำงรู้สึกดีอีกด้วย จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทำโครงงำนตัดสินใจเลือก
หัวข้อนี้ เพรำะไม่เพียงแต่ผู้จัดทำจะได้รับควำมรู้ แต่ผู้จัดทำยังสำมำรเผยแพร่ควำมรู้ต่อผู้ที่สนใจได้อีกด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องกำรในกำรทำโครงงำน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษำกำรดูแลรักษำผู้ป่วยเป็นเนื้องอกในสมอง
2. ศึกษำเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำเนื้องอกในสมอง
3. สำมำรถนำควำมรู้มำปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของกำรทำโครงงำน)
1. กำรป้องกันกำรเกิดเนื้องอกในสมอง
2. สำเหตุกำรเกิดเนื้องอกในสมอง
3. กำรดูแลผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกในสมอง
4. เทคโนโลยีที่ใช้ในกำรรักษำ
หลักการและทฤษฎี (ควำมรู้ หลักกำร หรือทฤษฎีที่สนับสนุนกำรทำโครงงำน)
ปัจจุบันแนวทำงกำรรักษำเนื้องอกในสมองมีอยู่3 วิธีใหญ่ๆ คือ กำรผ่ำตัด กำรฉำยรังสี และกำรให้ยำเคมี
บำบัด
การผ่าตัดสมองด้วยวิธีจุลศัลยกรรม (Microneurosurgery)
การผ่าตัดสมองด้วยวิธีจุลศัลยกรรมเป็นการผ่าตัดแบบมีผลต่อเนื้อเยื่อข้างเคียงน้อย (minimally
invasive neurosurgery) โดยกำรใช้กล้องผ่ำตัดที่มีกำลังขยำยสูง (microscope) ให้ภำพที่มีควำมละเอียดสูง
แบบ 3 มิติ ช่วยขยำยให้แพทย์สำมำรถมองเห็นส่วนต่ำงๆ ได้ชัดเจน โดยเฉพำะควำมผิดปกติที่อยู่ในสมอง
ส่วนที่อยู่ลึก ทำให้กำรผ่ำตัดมีควำมแม่นยำ ปลอดภัย และได้ผลกำรรักษำดีกว่ำกำรผ่ำตัดโดยอำศัยตำเปล่ำ
โรคทางสมองที่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีจุลศัลยกรรม
 หลอดเลือดในสมองโป่งพอง
 เนื้องอกในสมองและไขสันหลัง
 เลือดออกในเนื้อสมอง
เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ช่วยในการผ่าตัด
นอกเหนือจำกกำรใช้กล้องผ่ำตัดที่มีกำลังขยำยสูงแล้ว กำรผ่ำตัดวิธีจุลศัลยกรรมอำจจำเป็นต้องใช้เครื่องมือ
และเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์อื่นที่มีประสิทธิภำพร่วมด้วยเพื่อช่วยให้กำรผ่ำตัดสำเร็จได้ด้วยดี เช่น
 เครื่องสลำยเนื้อเยื่อด้วยคลื่นเสียง (ultrasonic aspirator) – ใช้ในกำรสลำยและดูดเนื้องอกด้วยคลื่น
ควำมถี่สูง ช่วยให้เส้นเลือดไม่ถูกกระทบกระเทือนมำก จึงทำให้ไม่มีเลือดออกมำกระหว่ำงผ่ำตัด
 เครื่องกระตุ้นเส้นประสำท (nerve stimulator) – ใช้ในกำรหำตำแหน่งของเส้นประสำทที่อยู่ติดกับ
ก้อนเนื้องอก เพื่อช่วยให้แพทย์สำมำรถผ่ำตัดได้อย่ำงแม่นยำ
4
 กำรใช้สำรเรืองแสง (fluorescent dye) ในเนื้องอกบำงชนิด – เพื่อช่วยให้แพทย์เห็นตำแหน่งของเนื้อ
งอกและเส้นเลือดได้ชัดเจน
ข้อดีของวิธีจุลศัลยกรรม
 กระทบต่อเนื้อเยื่อต่ำงๆ บริเวณที่ผ่ำตัดและบริเวณข้ำงเคียงน้อย ลดควำมบอบช้ำของเนื้อเยื่อ ทำให้
ลดควำมเจ็บปวดของแผลหลังกำรผ่ำตัด
 ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็ว ใช้เวลำพักฟื้นในโรงพยำบำลน้อยลง
 กำรผ่ำตัดแม่นยำ ปลอดภัย ทำให้เกิดข้อแทรกซ้อนน้อยลง
การฉายรังสี (การฉายแสง)
การฉายรังสี หรือที่มักจะเรียกกันว่ำการฉายแสง เป็นประเภทหนึ่งของรังสีรักษำ (radiotherapy) ที่
ใช้สำหรับบำบัดรักษำโรคมะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงำนสูงฉำยไปตำแหน่งของเซลล์มะเร็งเพื่อทำลำยกลุ่มก้อน
เซลล์มะเร็งนั้น ทั้งนี้กำรรักษำโรคมะเร็งด้วยวิธีกำรฉำยรังสีจะขึ้นกับระยะของโรคมะเร็ง ชนิดของ
โรคมะเร็ง และสุขภำพของผู้ป่วยเอง
การรักษาโรคมะเร็งด้วยวิธีการฉายรังสีตามตาแหน่งของเซลล์มะเร็งมีดังนี้
 บริเวณศีรษะและลำคอ ได้แก่ มะเร็งสมอง มะเร็งในโพรงจมูกและไซนัส มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งในช่องปำก มะเร็งในลำคอ มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งต่อมน้ำลำยและไทรอยด์
 บริเวณทรวงอก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งหลอดอำหำร มะเร็งระบบน้ำเหลือง มะเร็งเต้ำนม
 บริเวณช่องท้อง ได้แก่ มะเร็งที่กระเพำะอำหำร มะเร็งตับ มะเร็งตับอ่อน มะเร็งไต และมะเร็งระบบ
น้ำเหลืองในช่องท้อง
 บริเวณท้องน้อย ได้แก่ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพำะปัสสำวะ มะเร็งมดลูก มะเร็งปำกมดลูก และ
มะเร็งต่อมลูกหมำก
5
การฉายรังสีบริเวณศีรษะและลาคอ
กำรฉำยรังสีบริเวณศีรษะและลำคอใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งในสมอง มะเร็งในโพรงจมูก
และไซนัส มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งในช่องปำก มะเร็งในลำคอ มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งต่อมน้ำลำยและ
ไทรอยด์
วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี
ผู้ป่วยจะถูกจัดตำแหน่งของศีรษะและลำคอ อำจใช้หน้ำกำกพลำสติกยึดบริเวณศีรษะและลำคอให้
อยู่นิ่งกับที่ จำกนั้นนักรังสีรักษำจะทำกำรฉำยรังสีตำมแผนกำรรักษำที่วำงไว้รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้เวลำที่
แตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ฉำย ซึ่งจะใช้เวลำประมำณ 2-10 นำที แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่กำรจัดตำแหน่ง
จนเสร็จวันละประมำณ 15-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-8 สัปดำห์ตำมแต่
ชนิดของโรคและแผนกำรรักษำของแพทย์
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ
อำกำร ข้อควรปฏิบัติ
ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่
ไม่ให้ถูกแดด
- บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ
ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ
- ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่
ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง
เจ็บคอ ปำกแห้ง กำรรับรสผิดปกติ - ควรจิบน้ำบ่อยๆ
- หมั่นดูแลสุขภำพในช่องปำกและลำคอให้สะอำด
โดยใช้แปรงสีฟันอ่อนๆ และไหมขัดฟันทำควำม
สะอำดฟันปลอมหลังอำหำร ไม่ใช้น้ำยำบ้วนปำกที่
ขำยในท้องตลำด
- งดบุหรี่ แอลกอฮอล์อำหำรรสจัด ร้อน-เย็นจัด ควร
รับประทำนอำหำรอ่อน จืด เปื่อย เหลวและกลืนง่ำย
- หำกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ
- รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์
- ลดควำมวิตกกังวล
- โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ
หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
6
หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ
แพทย์เจ้ำของไข้
การฉายรังสีบริเวณทรวงอก
กำรฉำยรังสีบริเวณทรวงอกใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งปอด มะเร็งหลอดอำหำร มะเร็ง
ระบบน้ำเหลือง มะเร็งเต้ำนม
วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี
ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ อำจยกมือทั้งสองข้ำงไว้เหนือศีรษะหรือวำงข้ำงลำตัว หำยใจ
ตำมจังหวะปกติ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่จัด
ตำแหน่งจนเสร็จวันละประมำณ 20-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-6 สัปดำห์
ตำมแต่ชนิดของโรคและแผนกำรรักษำของแพทย์
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ
อำกำร ข้อควรปฏิบัติ
ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่
ไม่ให้ถูกแดด
- บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ
ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ
- ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่
ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง
มีอำกำรเจ็บเวลำกลืน - ควรรับประทำนอำหำรเหลวอ่อนๆ จิบน้ำบ่อยๆ ถ้ำ
ไม่สำมำรถรับประทำนอำหำรได้ควรปรึกษำแพทย์
ทันที
ไอแห้งๆ เล็กน้อย - จิบน้ำบ่อยๆ ถ้ำเป็นมำกควรปรึกษำแพทย์
อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ
- รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์
- ลดควำมวิตกกังวล
- โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ
หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ
แพทย์เจ้ำของไข้
7
การฉายรังสีบริเวณช่องท้อง
กำรฉำยรังสีบริเวณช่องท้องใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งที่กระเพำะอำหำร มะเร็งตับ มะเร็ง
ตับอ่อน มะเร็งไต และมะเร็งระบบน้ำเหลืองในช่องท้อง
วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี
ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ หำยใจตำมจังหวะปกติ นักรังสีรักษำจะจัดท่ำและตำแหน่งของ
กำรฉำยรังสีให้ตรงกับที่วำงแผนไว้และทำกำรฉำยรังสีตำมเทคนิคของแผนกำรรักษำ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้
เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่กำรจัดท่ำและตำแหน่งจนเสร็จวันละ
ประมำณ 20- 25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 4-6 สัปดำห์ตำมแต่ชนิดของโรค
และแผนกำรรักษำของแพทย์
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ
อำกำร ข้อควรปฏิบัติ
ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่
ไม่ให้ถูกแดด
- บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ
ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ
- ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่
ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง
รู้สึกผะอืดผะอมหลังฉำยรังสี 2-3 ชั่วโมง - งดรับประทำนอำหำรภำยใน 2-3 ชั่วโมงก่อนกำร
ฉำยรังสีหรือรับประทำนอำหำรเบำๆ จะรู้สึกดีขึ้น
คลื่นไส้ อำเจียน - ปรึกษำแพทย์อำจต้องรับประทำนยำแก้คลื่นไส้
อำเจียน
ท้องเดิน หลังจำกฉำยรังสี 2-4 สัปดำห์ - รับประทำนอำหำรที่มีกำกน้อย งดผัก ผลไม้สด
สำมำรถรับประทำนผักที่ปรุงสุกเปื่อย ผลไม้สุก
กล้วย
- งดของมันของทอด นม อำหำรรสจัด แอลกอฮอล์
- ดื่มน้ำมำกๆ
- ถ้ำถ่ำยบ่อยมำกให้ปรึกษำแพทย์
อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ
- รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์
- ลดควำมวิตกกังวล
- โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ
8
หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ
แพทย์เจ้ำของไข้
การฉายรังสีบริเวณท้องน้อย
กำรฉำยรังสีบริเวณท้องน้อยใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพำะ
ปัสสำวะ มะเร็งมดลูก มะเร็งปำกมดลูก และมะเร็งต่อมลูกหมำก
วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี
ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ หำยใจตำมจังหวะปกติ นักรังสีรักษำจะจัดท่ำและตำแหน่งของ
กำรฉำยรังสีให้ตรงกับที่วำงแผนไว้และทำกำรฉำยรังสีตำมเทคนิคของแผนกำรรักษำ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้
เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่จัดท่ำและตำแหน่งจนเสร็จวันละประมำณ
20-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-8 สัปดำห์ตำมแต่ชนิดของโรคและแผนกำร
รักษำของแพทย์ในบำงรำยผู้ป่วยจำเป็นต้องดื่มน้ำมำกๆ และกลั้นปัสสำวะไว้ก่อนกำรฉำยรังสีเพื่อลด
ผลข้ำงเคียงที่จะเกิดกับลำไส้เล็ก ยกเว้นผู้ป่วยมะเร็งกระเพำะปัสสำวะจะต้องปัสสำวะก่อนกำรฉำยรังสี
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ
อำกำร ข้อควรปฏิบัติ
ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน
- ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่
ไม่ให้ถูกแดด
- บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ
ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ
- ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่
ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง
ปัสสำวะบ่อยหรือปวดเล็กน้อย - ควรดื่มน้ำมำกๆ โดยเฉพำะน้ำผลไม้ที่เป็นกรด
อ่อนๆ
- อย่ำกลั้นปัสสำวะ
ท้องเดินหรือมีอำกำรปวดเบ่ง - รับประทำนอำหำรที่มีกำกน้อย งดผัก ผลไม้สด
สำมำรถรับประทำนผักที่ปรุงสุกเปื่อย ผลไม้สุก
กล้วย
- งดของมันของทอด นม อำหำรรสจัด แอลกอฮอล์
- ดื่มน้ำมำกๆ
- ถ้ำถ่ำยบ่อยมำกให้ปรึกษำแพทย์
9
ถ่ำยอุจจำระได้น้อยหลังจำกฉำยรังสี 2-4 สัปดำห์ - กำรถ่ำยอุจจำระลำบำกหรือไม่สำมำรถถ่ำยอุจจำระ
ได้ควรปรึกษำแพทย์
อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ
- รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์
- ลดควำมวิตกกังวล
- โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ
หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ
แพทย์เจ้ำของไข้
การติดตามผลการรักษา
ระหว่ำงกำรฉำยรังสี รังสีแพทย์จะตรวจประเมินผลกำรรักษำ และดูแลบรรเทำอำกำรผลข้ำงเคียง
จำกกำรฉำยรังสีประมำณสัปดำห์ละครั้ง แต่หำกมีอำกำรผิดปกติก็สำมำรถเข้ำปรึกษำแพทย์ได้ทันที
นอกจำกนี้ผู้ป่วยอำจต้องได้รับกำรตรวจควำมสมบูรณ์ของเลือด สำหรับผู้ป่วยที่มีอำกำรข้ำงเคียงจำกกำรฉำย
รังสีมำก บำงรำยอำจต้องหยุดพัก หรือเข้ำรับกำรดูแลรักษำในโรงพยำบำล หรือได้รับยำเพื่อลดอำกำรตำมแต่
แพทย์เห็นสมควร
หลังครบกำรฉำยรังสี ผู้ป่วยยังคงต้องปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับช่วงฉำยรังสีต่อ 2-3 สัปดำห์ แพทย์จะนัด
ให้มำตรวจประเมินผลกำรรักษำประมำณ 2-4 สัปดำห์หลังฉำยรังสีเสร็จ จำกนั้นนัดตรวจทุก 1-3 เดือน
แล้วแต่ชนิดและขั้นตอนกำรรักษำของโรค กำรติดตำมผลกำรรักษำจะห่ำงขึ้นเป็น 4-6 เดือนจนกระทั่ง 5 ปี
ถ้ำผู้ป่วยปกติไม่มีอำกำรของโรค ควรติดตำมห่ำงขึ้นเป็นปีละครั้งตลอดไป
10
เคมีบาบัด
การรักษาด้วยเคมีบาบัด (chemotherapy) หมำยถึง กำรให้ยำเพื่อทำลำยหรือหยุดยั้งกำรเจริญเติบโตของ
เซลล์มะเร็ง
มีวัตถุประสงค์เพื่อ
 รักษำผู้ป่วยให้หำยจำกโรคมะเร็งและไม่กลับมำเป็นซ้ำ
 ควบคุมโรคให้ก้อนมะเร็งมีขนำดเล็กลงหรือไม่โตขึ้น และไม่แพร่กระจำยไปยังอวัยวะส่วนอื่น
 บรรเทำอำกำรสำหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะแพร่กระจำย เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภำพชีวิตดีขึ้น
อย่ำงไรก็ดี เนื่องจำกยำเคมีบำบัดไม่ได้ออกฤทธิ์จำเพำะเจำะจงที่เซลล์มะเร็งเท่ำนั้น จึงอำจส่งผลกระทบต่อ
เซลล์ปกติทั่วไปและกำรทำงำนของอวัยวะอื่นๆ ทำให้เกิดอำกำรข้ำงเคียง เช่น คลื่นไส้ อำเจียน ปำกอักเสบ
เบื่ออำหำร ภูมิต้ำนทำนต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอำกำรเหล่ำนี้จะมำกหรือน้อยขึ้นกับชนิดของยำ ควำมแข็งแรง
ของร่ำงกำย และควำมพร้อมด้ำนจิตใจของผู้ป่วย
วิธีการให้เคมีบาบัด
ยำเคมีบำบัดสำมำรถบริหำรเข้ำสู่ร่ำงกำยของผู้ป่วยได้หลำยวิธี ได้แก่
 เคมีบำบัดชนิดรับประทำน ยำเคมีบำบัดบำงชนิดอำจไม่สำมำรถรับประทำนได้เนื่องจำกระบบ
ทำงเดินอำหำรดูดซึมไม่ดี หรือยำมีกำรระคำยเคืองระบบทำงเดินอำหำรมำก ทำให้ผู้ป่วยมีอำกำร
คลื่นไส้ อำเจียน หรือท้องเสียได้
 เคมีบำบัดชนิดฉีดเข้ำหลอดเลือดดำ เป็นวิธีที่นิยมมำกที่สุด เนื่องจำกช่วยให้ยำสำมำรถกระจำยไปทั่ว
ร่ำงกำยได้รวดเร็ว
 เคมีบำบัดชนิดฉีดเข้ำกล้ำมเนื้อ วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยม เพรำะยำทำให้เกิดกำรระคำยเคืองและทำลำย
ผิวหนังและกล้ำมเนื้อได้
อย่ำงไรก็ดี ผู้ป่วยอำจได้รับยำเคมีบำบัดหลำยชนิดร่วมกัน และอำจได้รับเพียงวันเดียวหรือหลำยวันติดต่อกัน
หรือสัปดำห์ละครั้งก็ได้ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้เลือกสูตรยำและตำรำงกำรให้ยำเคมีบำบัดที่เหมำะสมกับชนิดของ
โรคและสภำพร่ำงกำยของผู้ป่วย
การเลือกใช้ยาเคมีบาบัด
กำรเลือกใช้ยำเคมีบำบัดที่ถูกต้องทั้งชนิด ปริมำณ และระยะเวลำกำรให้ยำ มีควำมสำคัญต่อ
ประสิทธิผลของกำรรักษำโรคมะเร็งเป็นอย่ำงมำก เนื่องจำกยำเคมีบำบัดจัดเป็นยำอันตรำย กำรได้รับยำใน
ปริมำณที่มำกเกินไปอำจส่งผลให้เกิดอำกำรข้ำงเคียงที่รุนแรง แต่หำกได้รับยำในปริมำณที่น้อยเกินไปก็อำจ
ไม่สำมำรถทำลำยเซลล์มะเร็งได้
ในกำรเลือกสูตรยำเคมีบำบัด แพทย์จะพิจำรณำจำกปัจจัยต่ำงๆ เช่น ชนิดของมะเร็ง ระยะของมะเร็ง อำยุ
ภำวะสุขภำพของผู้ป่วย โรคประจำตัว ประวัติกำรรักษำมะเร็งในอดีต ผลข้ำงเคียง กำรออกฤทธิ์เสริมหรือ
11
ต้ำนฤทธิ์ระหว่ำงยำเคมีบำบัดเมื่อใช้หลำยชนิดร่วมกัน โดยผู้ป่วยอำจได้รับยำเคมีบำบัดเพียงชนิดเดียวหรือ
หลำยชนิด ซึ่งกำรใช้ยำหลำยชนิดร่วมกันจะมีประสิทธิภำพมำกกว่ำกำรใช้ยำเพียงชนิดเดียว
ระยะเวลาในการรักษาด้วยเคมีบาบัด
ระยะเวลำในกำรรักษำด้วยเคมีบำบัดขึ้นอยู่กับชนิดของโรค ระยะของโรค และกำรตอบสนองต่อยำ
โดยปกติยำเคมีบำบัดจะให้เป็นชุด ใช้เวลำ 1-5 วันต่อชุด แต่ละชุดห่ำงกัน 3-4 สัปดำห์ ซึ่งผู้ป่วยอำจได้รับ
เคมีบำบัดเฉลี่ย 6-8 ชุด (ขึ้นกับแผนกำรรักษำของแพทย์) โดยผู้ป่วยควรมำรับยำตำมนัดทุกครั้งเพื่อ
ผลกำรรักษำที่ดี
การเตรียมตัวก่อนเข้ารับเคมีบาบัด
 รับประทำนอำหำรให้ครบ 5 หมู่
 พักผ่อนให้เพียงพอและเพิ่มกำรนอนพักในช่วงกลำงวันอย่ำงน้อย 1-2 ชั่วโมงต่อวัน
 หำกมีโรคประจำตัว เช่น หัวใจ เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง หรือโรคที่ต้องรับประทำนยำเป็นประจำ
ต้องแจ้งให้แพทย์ผู้รักษำทรำบ
 ควรทำอำรมณ์และจิตใจให้พร้อมรับกำรรักษำ โดยลดควำมกลัวและควำมวิตกกังวลลง
การดูแลตนเองขณะรับเคมีบาบัด
 สังเกตผิวหนังบริเวณที่ฉีดยำ ถ้ำรู้สึกปวด บวม แดง หรือสงสัยมียำรั่วซึมออกนอกหลอดเลือด ต้อง
แจ้งพยำบำลทันที
 ดื่มน้ำมำกๆ เพื่อช่วยขับสำรเคมีที่อำจตกค้ำงในร่ำงกำยออกทำงปัสสำวะ
 ถ้ำมีอำกำรคลื่นไส้ อำเจียน ให้แจ้งพยำบำลทันที
12
CT scan (ซีที สแกน หรือ Computerized Tomography Scan) คือ กำรตรวจวินิจฉัยโรคด้วยเครื่องเอกซเรย์
คอมพิวเตอร์ ซึ่งแพทย์จะฉำยรังสีเอกซเรย์ตำมร่ำงกำยบริเวณที่ต้องกำรตรวจ แล้วใช้คอมพิวเตอร์สร้ำงเป็น
ภำพฉำยลักษณะและอวัยวะภำยในร่ำงกำย เพื่อประกอบกำรวินิจฉัยหำควำมผิดปกติของร่ำงกำยต่อไป โดย
วิธีกำรนี้จะได้ภำพที่มีควำมละเอียดสูงกว่ำกำรเอกซเรย์แบบธรรมดำ และสำมำรถใช้ตรวจอวัยวะภำยใน
ร่ำงกำยได้เกือบทุกส่วน
ประเภทของ CT scan
 เอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบภำพตัดขวำงพื้นฐำน (Conventional CT Scan) เครื่องเอกซเรย์
คอมพิวเตอร์จะหมุนเป็นวงรอบตัวผู้ป่วย เพื่อให้รังสเอ็กซเรย์ผ่ำนตัวผู้ป่วย 1 รอบ จะได้ภำพ 1 ภำพ
โดยเตียงจะเลื่อนไปทีละตำแหน่ง ภำพที่ได้จะถูกนำมำสร้ำงเป็นภำพตัดขวำงของอวัยวะได้ทีละภำพ
 เอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบเกลียว (Spiral/Helical CT Scan) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จะหมุนเป็น
วงอยำงต่อเนื่องรอบตัวผู้ป่วย เมื่อรังสีเอกซเรย์ผ่ำนตัวผู้ป่วยจะได้ภำพหลำยภำพ ซึ่งใช้เวลำน้อยกว่ำ
แบบพื้นฐำน และได้ภำพที่มีควำมแม่นยำสูงกว่ำ
ข้อจากัดในการทา CT Scan
 ตั้งครรภ์หำกไม่ใช่ในกรณีฉุกเฉินเร่งด่วน แพทย์จะให้ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ใช้วิธีกำรอื่นในกำรตรวจ
วินิจฉัย เพื่อเลี่ยงไม่ให้รังสีเอกซเรย์ส่งผลกระทบต่อทำรกในครรภ์ได้
 เด็ก ในผู้ป่วยที่เป็นเด็ก ผู้ปกครองควรปรึกษำและรับคำแนะนำจำกแพทย์ถึงกำรเตรียมตัวก่อนให้เด็ก
เข้ำเครื่อง CT Scan หำกเด็กยังเล็กมำก หรือรู้สึกตื่นกลัวมำก แพทย์จะให้ยำระงับประสำทเพื่อ
บรรเทำอำกำรก่อนทำ CT Scan
 สแกนเมื่อจำเป็น ผู้ป่วยควรทำ CT Scan เมื่อมีเหตุจำเป็นอันสมควเมื่อผู้ป่วยมีอำกำรป่วยที่ปรำกฏ
เท่ำนั้น โดยจะไม่ใช้CT Scan เพื่อกำรคัดกรองเบื้องต้น เพรำะเพิ่มควำมเสี่ยงต่อปัญหำสุขภำพจำก
กำรได้รับรังสีเอกซเรย์และเพิ่มควำมวิตกกังวลเกินจำเป็น
ขั้นตอนในการทา CT Scan
การเตรียมตัว
ผู้ป่วยควรซักถำมถึงข้อสงสัยที่มี อย่ำงสำเหตุ ควำมจำเป็น ควำมเสี่ยง และประโยชน์ที่ได้จำกกำร
ตรวจด้วย CT Scan โดยก่อนทำ CT Scan ผู้ป่วยควรสวมเสื้อผ้ำหลวม ๆ ที่ไม่มีส่วนประกอบของโลหะ เช่น
ซิป เข็มขัด ถอดแว่นตำ ฟันปลอม และไม่สวมใส่เครื่องประดับใด ๆ ในบำงกรณี ผู้ป่วยอำจต้องเปลี่ยนใส่ชุด
ที่ทำงโรงพยำบำลจัดให้ เพื่อให้สะดวกต่อกำรฉำยรังสีและกำรสร้ำงภำพ
สำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรเอกซเรย์ช่องท้อง แพทย์อำจแนะนำให้งดอำหำรเป็นเวลำหลำยชั่วโมงก่อนทำ CT
Scan เพื่อไม่ให้รบกวนผลกำรตรวจ และให้ได้ภำพฉำยที่ชัดเจน หรือแพทย์อำจให้รับประทำนยำระบำยก่อน
13
การทา CT Scan
ก่อนทา CT Scan
ในผู้ป่วยบำงรำย แพทย์อำจให้สำรทึบรังสี (Contrast Material) เข้ำไปในร่ำงกำยเพื่อช่วยให้ภำพ
ฉำยในบริเวณต่ำง ๆ ที่ต้องกำรตรวจเห็นได้ชัดเจนขึ้น โดยอำจใช้วิธีให้ผู้ป่วยดื่มสำรทึบรังสีเข้ำไป ฉีดสำร
ทึบรังสีเข้ำสู่เส้นเลือด หรือสอดสำรทึบรังสีเข้ำสู่ลำไส้ผ่ำนทำงทวำรหนัก
หำกผู้ป่วยมีควำมวิตกกังวลเป็นอย่ำงมำก แพทย์อำจให้ยำระงับประสำทเพื่อคลำยควำมกังวลก่อนกำร
เอกซเรย์โดยผู้ป่วยที่ต้องใช้ยำดังกล่ำวนี้ ต้องเตรียมกำรให้ญำติหรือบุคคลใกล้ชิดมำรับกลับหลังจำกเสร็จ
ขั้นตอน เนื่องจำกฤทธิ์ของยำจะทำให้ผู้ป่วยไม่สำมำรถขับขี่ยำนพำหนะได้ตำมปกติ
การทา CT Scan
เมื่อเริ่มทำ CT Scan ผู้ป่วยต้องนอนรำบลงบนเตียงของเครื่องสแกน เตียงจะถูกเคลื่อนเข้ำไป
ภำยในเครื่อง ให้บริเวณที่ต้องกำรจะสแกนอยู่ตรงกับวงแหวนสแกน และเครื่องจะเริ่มทำกำรสแกนด้วยกำร
หมุนเพื่อฉำยรังสีเอกซเรย์ไปรอบ ๆ ตัวผู้ป่วย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะฉำยภำพที่ได้ออกมำเรื่อย ๆ ผู้ป่วย
ควรผ่อนคลำยควำมกังวล นอนรำบนิ่ง ๆ และหำยใจตำมปกติ ในบำงกรณีผู้ป่วยอำจต้องหำยใจเข้ำ หำยใจ
ออก หรือกลั้นหำยใจตำมคำสั่งแพทย์เพื่อให้ภำพถ่ำยรังสีออกมำชัดเจน โดยในระหว่ำงที่อยู่ในเครื่อง CT
Scan ผู้ป่วยสำมำรถสื่อสำรกับแพทย์และนักเทคนิคที่ดูแลกำรสแกนได้ผ่ำนอินเตอร์คอม (Intercom: เครื่อง
สื่อสำรด้วยเสียง) และกำรสแกนจะสิ้นสุดลงภำยในเวลำประมำณ 10-20 นำที
การดูแลตนเองหลังทา CT Scan
หลังทำ CT Scan ผู้ป่วยสำมำรถกลับบ้ำนและทำกิจกรรมต่ำง ๆ อย่ำงกำรรับประทำนอำหำร ดื่มน้ำ
หรือขับรถได้ตำมปกติ แล้วมำตำมนัดหมำยเพื่อฟังผลจำกแพทย์ยกเว้นผู้ป่วยที่ต้องใช้ยำระงับประสำทเพื่อ
คลำยควำมกังวลก่อนเข้ำเครื่องสแกน ซึ่งจะทำให้รู้สึกมึนงงหรือง่วงซึมได้ควรให้คนมำรับกลับ ไม่ควรขับขี่
ยำนพำหนะด้วยตนเองเพรำะอำจเกิดอันตรำยได้
ส่วนผู้ป่วยที่ต้องใช้สำรทึบแสงช่วยให้กำรฉำยภำพเอกซเรย์ชัดเจนขึ้น หลังทำ CT Scan แพทย์อำจให้อยู่รอดู
อำกำรที่โรงพยำบำลประมำณ 1 ชั่วโมง เพื่อดูว่ำผู้ป่วยมีอำกำรแพ้จำกกำรใช้สำรทึบรังสีหรือไม่ โดยผู้ป่วย
ควรดื่มน้ำในปริมำณมำก เพื่อช่วยให้ไตขับสำรทึบรังสีออกจำกร่ำงกำยผ่ำนทำงปัสสำวะ
ข้อดีของการทา CT Scan
 สำมำรถสแกนตรวจอวัยวะในร่ำงกำยส่วนใหญ่ได้
 ไม่ทำให้เกิดควำมเจ็บปวดในขณะตรวจสแกน
 ภำพที่ได้มีรำยละเอียดสูงกว่ำกำรทำอัลตรำซำวนด์ทำให้แพทย์สำมำรถวินิจฉัยได้แม่นยำขึ้น
 สำมำรถสแกนได้รวดเร็วกว่ำเมื่อเปรียบเทียบกับกำรสแกนแบบ MRI
14
ข้อเสียของการทา CT Scan
 อำจมีวัตถุแปลกปลอมที่รบกวนกำรแปลผลเอกซเรย์เช่น เครื่องประดับต่ำง ๆ
 ในขณะสแกน ต้องมีกำรกลั้นหำยใจ ซึ่งผู้ป่วยบำงรำยไม่สำมำรถปฏิบัติได้
 ในกำรสแกนสมองด้วย CT Scan อำจถูกกระดูกส่วนกะโหลกศีรษะบัง ทำให้แปลผลคลำดเคลื่อนได้
 ในตำแหน่งอื่น ๆ ที่มีกระดูกอยู่จำนวนมำก เช่น บริเวณกระดูกสันหลัง อำจเกิดกำรบดบังอวัยวะ
ส่วนที่ต้องกำรตรวจวินิจฉัย จึงทำให้ภำพที่ได้จำก CT Scan มีโอกำสแปลผลคำดเคลื่อนได้
 CT Scan ใช้รังสีปริมำณมำก อำจเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับรังสีมำกเกินไป
ความเสี่ยงและผลข้างเคียงจากการทา CT Scan
 กำรได้รับรังสีเข้ำสู่ร่ำงกำย อำจเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับรังสีมำกเกินไป แต่ยังไม่
พบว่ำกำรทำ CT Scan จะส่งผลกระทบที่เป็นอันตรำยในระยะยำวได้และด้วยเทคโนโลยีทำง
กำรแพทย์ในปัจจุบัน มีโอกำสที่ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อกำรเป็นโรคมะเร็งจำกรังสีใน CT Scan น้อยมำก
อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสี่ยงในกำรเกิดมะเร็งในผู้ป่วยที่ทำ CT Scan จะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อผู้ป่วยเป็นเด็ก
หรือเด็กโต และผู้ที่เข้ำรับกำรตรวจด้วยกำรฉำยรังสีเป็นประจำ
 ปฏิกิริยำตอบสนองต่อสำรทึบรังสี มีโอกำสที่ผู้ป่วยที่ต้องใช้สำรทึบรังสีจะมีอำกำรแพ้หลังจำกได้รับ
สำรเข้ำสู่ร่ำงกำย เช่น มีผดผื่นคัน หำยใจติดขัด ปวดท้อง ระบบทำงเดินอำหำรผิดปกติ เป็นต้น
 เสี่ยงเกิดอันตรำยต่อทำรกในครรภ์รังสีจำกกำรสแกนอำจกระทบต่อทำรกในครรภ์และทำให้เกิด
ควำมผิดปกติซึ่งเป็นอันตรำยต่อเด็กที่จะเกิดมำ หำกผู้ป่วยตั้งครรภ์แพทย์จะแนะนำให้ใช้วิธีกำรอื่น
ในกำรตรวจวินิจฉัย
 เสี่ยงเกิดอันตรำยต่อทำรกแรกเกิด สำรทึบแสงที่อยู่ภำยในร่ำงกำยอำจส่งผ่ำนไปยังทำรกในขณะที่
ผู้ป่วยให้นมบุตร ทำให้เด็กมีควำมเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับสำรทึบรังสีเข้ำสู่
ร่ำงกำย
15
เครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค Rapid Arc
เครื่องฉำยรังสีเร่งอนุภำค Rapid Arc เป็นเครื่องฉำยรังสีชนิดเร่งอนุภำคพลังงำนสูง จำกบริษัทแว
เรียนประเทศสหรัฐอเมริกำที่สำมำรถทำกำรฉำยรังสีด้วยเทคนิคกำรฉำยแบบหมุนรอบตัวผู้ป่วยหรือที่
เรียกว่ำ Volumetric Modulated Arc Therapy และเรียกสั้นๆ ว่ำ “Rapid Arc” มีควำมพิเศษสุดตรงที่เป็น
เทคนิคใหม่ซึ่งพัฒนำมำกขึ้นกว่ำกำรฉำยรังสีแปรควำมเข้มสำมมิติธรรมดำ ด้วยวิธีกำรฉำยรังสีแปรควำมเข้ม
หมุนรอบตัว ทำให้เนื้องอกได้รับปริมำณรังสีในปริมำณสูง และช่วยลดปริมำณรังสีใหกั้บอวัยวะข้ำงเคียง
และเนื้อเยื่อปกติ เหมำะสำหรับโรคมะเร็งที่มีควำมซับซ้อน เช่น มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งบริเวณศีรษะ
และลำคอ มะเร็งปอดมะเร็งต่อมลูกหมำก หรือสำหรับอวัยวะทุกส่วนของร่ำงกำยก็สำมำรถรักษำได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพเช่นกัน
ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นจากเครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค Rapid Arc.
1. ผู้รับบริกำรได้รับควำมสะดวก สบำย รวดเร็วยิ่งขึ้น
ด้วยควำมที่กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc นี้เป็นเทคโนโลยีใหม่ล่ำสุด พัฒนำขึ้นมำเพื่อลดเวลำในกำรฉำยรังสี
ลงโดยคุณภำพในกำรรักษำดีขึ้นเครื่องฉำยจะหมุนรอบตัวผู้ป่วยอย่ำงต่อเนื่องในหนึ่งรอบกำรหมุนจะมีกำร
ปรับรูปร่ำงของลำรังสี ปรับปริมำณรังสีไปพร้อมกับกำรปรับควำมเร็วของกำรหมุนของเครื่องฉำย เทคนิคนี้
จะช่วยลดเวลำในกำรฉำยรังสีให้เร็วขึ้นได้มำกกว่ำเทคนิคแปรควำมเข้มสำมมิติถึง 8-10 เท่ำ แปลง่ำยๆ ว่ำ
ผู้ป่วยจะใช้เวลำในกำรฉำยรังสีเพียง 2-5 นำที จำกเดิมใช้เวลำ 15-20 นำที ผู้ป่วยจะได้รับควำมสะดวกสบำย
ในกำรรักษำ ลดอำกำรปวดเมื่อยจำกกำรกดทับเมื่อมีกำรนอนรักษำเป็นเวลำนำน และสำมำรถใชชี้วิตตำม
ปกติได้อย่ำงรวดเร็ว
2. ประสิทธิภำพในกำรรักษำดีขึ้น
เมื่อสำมำรถปรับเปลี่ยนรูปร่ำงของลำรังสีตำมขอบเขตของก้อนเนื้องอก จำกกำรใช้อุปกรณ์กำบังรังสีแบบซี่
(Multi-Leaf Collimator: MLC) ก็ยิ่งทำให้กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc มีควำมแม่นยำตรงตำมแผนกำรรักษำ
ที่วำงไว้มำกยิ่งขึ้น นอกจำกนั้นกำรควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่มีควำมถูกต้องและแม่นยำสูงยังช่วยให้
สำมำรถเพิ่มปริมำณรังสีได้สูงขึ้น จึงถือว่ำเป็นแผนกำรให้รังสีที่ดีที่สุดในขณะนี้ ซึ่งนอกจำกจะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภำพในกำรรักษำแล้วยังเพิ่มโอกำสในกำรหำยขำดจำกโรคสูงยิ่งขึ้นด้วย ทั้งนี้น่ำสังเกตว่ำด้วย
เทคนิคดังกล่ำว ทำให้ผู้ป่วยนอนในห้องฉำยแสงเป็นเวลำสั้นๆ ทำให้ลดควำมคลำดเคลื่อนที่อำจจะเกิดขึ้น
จำกกำรเคลื่อนไหวของผู้ป่วยในระหว่ำงกำรฉำยรังสีลงได้อีกด้วย
3. ลดผลข้ำงเคียงจำกกำรฉำยรังสี
เมื่อเปรียบเทียบกับกำรฉำยรังสีด้วยเทคนิคเดิมแล้ว พบว่ำกำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc ช่วยใหอวัยวะ
ข้ำงเคียงได้รับปริมำณรังสีลดลงโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง อวัยวะที่ติดกับก้อนเนื้องอกหรือมีควำมทนต่อรังสี น้อย
ทำให้ภำวะแทรกซ้อนจำกกำรฉำยรังสีเกิดขึ้นน้อยลง เช่น อำกำรน้ำลำยแห้ง กระเพำะปัสสำวะอักเสบ และ
อำกำรถ่ำยเป็นเลือดจำกลำไส้อักเสบ เป็นต้น ส่งผลให้ผู้รับกำรรักษำมีคุณภำพชีวิตในระยะ ยำวที่ดีขึ้น
16
4. เพิ่มควำมถูกต้องแม่นยำในกำรฉำยรังสี
กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc สำมำรถให้กำรรักษำได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำ เนื่องจำกกำรติดตั้งระบบภำพนำวิถี
ภำยในตัวเครื่อง หรือ On-Board Imager: OBI ซึ่งสำมำรถถ่ำยภำพเอกซเรย์และเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Cone
Beam CT: CBCT) เพื่อตรวจสอบควำมถูกต้องของตำแหน่งกำรฉำยรังสีก่อนทำกำรฉำยรังสีจริงใหกั้บผู้ป่วย
ทำให้กำรรักษำถูกต้อง ตรงตำมตำแหน่งและมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น
17
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ปรึกษำเลือกหัวข้อ
- นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
- ศึกษำรวบรวมข้อมูล
- จัดทำรำยงำน
- นำเสนอครู
- ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อิเทอร์เน็ต
- หนังสือที่เกี่ยวข้อง
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงำน
2 ศึกษำและค้นคว้ำ
ข้อมูล
3 จัดทำโครงร่ำงงำน
4 ปฏิบัติกำรสร้ำง
โครงงำน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 กำรทำ
เอกสำรรำยงำน
7 ประเมินผลงำน
8 นำเสนอโครงงำน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดกำรทำโครงงำน)
1. ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในหัวข้อที่สนใจ
18
2. สำมำรถนำไปประยุกต์ในในชีวิตประจำวัน
3. สำมำรถนำควำมรู้ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได
4. ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย
2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
2. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศุกษำ
3. กลุ่มพัฒนำผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง (เอกสำร หรือแหล่งข้อมูลต่ำง ๆ ที่นำมำใช้กำรทำโครงงำน)
เนื้องอกในสอง https://health.kapook.com/view173838.html
19
กำรรักษำเนื้องอกในสอง https://www.bumrungrad.com/healthspot/January-2015/brain-tumor
กำรผ่ำตัด https://www.bumrungrad.com/th/neurology-stroke-dementia-neurosurgery-treatment-center-
bangkok-thailand/procedures/microneurosurgery
กำรฉำยรังสี https://www.bumrungrad.com/th/horizon-cancer-treatment-center-chemotherapy-bangkok-
thailand/procedures/radiotherapy
เคมีบำบัด https://www.bumrungrad.com/th/horizon-cancer-treatment-center-chemotherapy-bangkok-
thailand/procedures/chemo-therapy
CT scan https://www.pobpad.com/ct-scan
เครื่องฉำยรังสีเร่งอนุภำค Rapid Arc http://www.siphhospital.com/th/news/article/share/243

More Related Content

Similar to งานคอม

โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKnooknickk Pinpukvan
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5kanyaluk dornsanoi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22dalika
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 

Similar to งานคอม (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Comproject12_2
Comproject12_2Comproject12_2
Comproject12_2
 
2561 project 03
2561 project  032561 project  03
2561 project 03
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Project
ProjectProject
Project
 
Pingpong
PingpongPingpong
Pingpong
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2560 project opal
2560 project opal2560 project opal
2560 project opal
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Work1
Work1Work1
Work1
 

More from Dduang07

โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Dduang07
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560Dduang07
 

More from Dduang07 (6)

โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560
 

งานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน งอกทำไมหนอเนื้อ ชื่อผู้ทาโครงงาน นำงสำวจิณณรัตน์ จอมอูป เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) งอกทำไมหนอเนื้อ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Brain tumor ประเภทโครงงาน พัฒนำสื่อเพื่อกำรศึกษำ ชื่อผู้ทาโครงงาน นำงสำวจิณณรัตน์ จอมอูป ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภำคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบำยถึงที่มำ แนวคิด และเหตุผล ของกำรทำโครงงำน) ปัจจุบันผู้สูงอำยุในประเทศไทยป่วยเป็นโรคต่ำงๆมำกมำยและอำจจะเกิดควำมรุนแรงจนถึง ชีวิตได้ถ้ำหำกเรำทำกำรรักษำไม่ทันเวลำ โรคเนื้องอกในสมองก็เป็นอีกโรคหนึ่งที่สำมำรถพบได้ในกลุ่มของ ผู้สูงอำยุเรำอำจจะมองว่ำเนื้องอกในสมองนั้นเป็นโรคที่น่ำกลัวและอันตรำย ไม่มีทำงรักษำให้หำยขำดได้ไม่ ว่ำจะเป็นแค่เนื้องอกที่ธรรมดำ หรือเป็นเนื้องอกที่เป็นมะเร็ง แต่เรำลืมคิดไปว่ำปัจจุบันนี้เทคโนโลยีทำงกำร แพทย์ได้มีกำรพัฒนำมำกขึ้นกว่ำเมื่อก่อนมำก ในกำรที่จะรักษำผู้ป่วยที่เป็นโรคเนื้องอกในสมองนั้นอำจจะ ไม่ใช่เรื่องที่ยำกอีกต่อไป ถึงแม้ว่ำจะไม่สำมำรถที่จะรักษำให้หำยขำดได้แต่ก็สำมำรถที่จะช่วยลดอำกำร เจ็บป่วยหรือควำมคิดวิตกกังวลของผู้ที่เป็นโรคนี้ได้เป็นอย่ำงมำก ผู้จัดทำโครงงำนได้ศึกษำและพบว่ำกำร รักษำโรคเนื้องอกในสมองปัจจุบันนั้นได้มีกำรรักษำได้หลำยแบบ ไม่ว่ำจะเป็นกำรผ่ำตัด กำรฉำยรังสี หรื กำรเคมีบำบัด สำมำรที่จะช่วยเหลือผู้ที่ป่วยเป็นเนื้องอกในสมองได้ไม่เพียงแต่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น และยัง ทำให้ครอบครัวของผู้ป่วยหรือคนรอบข้ำงรู้สึกดีอีกด้วย จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทำโครงงำนตัดสินใจเลือก หัวข้อนี้ เพรำะไม่เพียงแต่ผู้จัดทำจะได้รับควำมรู้ แต่ผู้จัดทำยังสำมำรเผยแพร่ควำมรู้ต่อผู้ที่สนใจได้อีกด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องกำรในกำรทำโครงงำน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษำกำรดูแลรักษำผู้ป่วยเป็นเนื้องอกในสมอง 2. ศึกษำเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำเนื้องอกในสมอง 3. สำมำรถนำควำมรู้มำปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของกำรทำโครงงำน) 1. กำรป้องกันกำรเกิดเนื้องอกในสมอง 2. สำเหตุกำรเกิดเนื้องอกในสมอง 3. กำรดูแลผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกในสมอง 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในกำรรักษำ หลักการและทฤษฎี (ควำมรู้ หลักกำร หรือทฤษฎีที่สนับสนุนกำรทำโครงงำน) ปัจจุบันแนวทำงกำรรักษำเนื้องอกในสมองมีอยู่3 วิธีใหญ่ๆ คือ กำรผ่ำตัด กำรฉำยรังสี และกำรให้ยำเคมี บำบัด การผ่าตัดสมองด้วยวิธีจุลศัลยกรรม (Microneurosurgery) การผ่าตัดสมองด้วยวิธีจุลศัลยกรรมเป็นการผ่าตัดแบบมีผลต่อเนื้อเยื่อข้างเคียงน้อย (minimally invasive neurosurgery) โดยกำรใช้กล้องผ่ำตัดที่มีกำลังขยำยสูง (microscope) ให้ภำพที่มีควำมละเอียดสูง แบบ 3 มิติ ช่วยขยำยให้แพทย์สำมำรถมองเห็นส่วนต่ำงๆ ได้ชัดเจน โดยเฉพำะควำมผิดปกติที่อยู่ในสมอง ส่วนที่อยู่ลึก ทำให้กำรผ่ำตัดมีควำมแม่นยำ ปลอดภัย และได้ผลกำรรักษำดีกว่ำกำรผ่ำตัดโดยอำศัยตำเปล่ำ โรคทางสมองที่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีจุลศัลยกรรม  หลอดเลือดในสมองโป่งพอง  เนื้องอกในสมองและไขสันหลัง  เลือดออกในเนื้อสมอง เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ช่วยในการผ่าตัด นอกเหนือจำกกำรใช้กล้องผ่ำตัดที่มีกำลังขยำยสูงแล้ว กำรผ่ำตัดวิธีจุลศัลยกรรมอำจจำเป็นต้องใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์อื่นที่มีประสิทธิภำพร่วมด้วยเพื่อช่วยให้กำรผ่ำตัดสำเร็จได้ด้วยดี เช่น  เครื่องสลำยเนื้อเยื่อด้วยคลื่นเสียง (ultrasonic aspirator) – ใช้ในกำรสลำยและดูดเนื้องอกด้วยคลื่น ควำมถี่สูง ช่วยให้เส้นเลือดไม่ถูกกระทบกระเทือนมำก จึงทำให้ไม่มีเลือดออกมำกระหว่ำงผ่ำตัด  เครื่องกระตุ้นเส้นประสำท (nerve stimulator) – ใช้ในกำรหำตำแหน่งของเส้นประสำทที่อยู่ติดกับ ก้อนเนื้องอก เพื่อช่วยให้แพทย์สำมำรถผ่ำตัดได้อย่ำงแม่นยำ
  • 4. 4  กำรใช้สำรเรืองแสง (fluorescent dye) ในเนื้องอกบำงชนิด – เพื่อช่วยให้แพทย์เห็นตำแหน่งของเนื้อ งอกและเส้นเลือดได้ชัดเจน ข้อดีของวิธีจุลศัลยกรรม  กระทบต่อเนื้อเยื่อต่ำงๆ บริเวณที่ผ่ำตัดและบริเวณข้ำงเคียงน้อย ลดควำมบอบช้ำของเนื้อเยื่อ ทำให้ ลดควำมเจ็บปวดของแผลหลังกำรผ่ำตัด  ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็ว ใช้เวลำพักฟื้นในโรงพยำบำลน้อยลง  กำรผ่ำตัดแม่นยำ ปลอดภัย ทำให้เกิดข้อแทรกซ้อนน้อยลง การฉายรังสี (การฉายแสง) การฉายรังสี หรือที่มักจะเรียกกันว่ำการฉายแสง เป็นประเภทหนึ่งของรังสีรักษำ (radiotherapy) ที่ ใช้สำหรับบำบัดรักษำโรคมะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงำนสูงฉำยไปตำแหน่งของเซลล์มะเร็งเพื่อทำลำยกลุ่มก้อน เซลล์มะเร็งนั้น ทั้งนี้กำรรักษำโรคมะเร็งด้วยวิธีกำรฉำยรังสีจะขึ้นกับระยะของโรคมะเร็ง ชนิดของ โรคมะเร็ง และสุขภำพของผู้ป่วยเอง การรักษาโรคมะเร็งด้วยวิธีการฉายรังสีตามตาแหน่งของเซลล์มะเร็งมีดังนี้  บริเวณศีรษะและลำคอ ได้แก่ มะเร็งสมอง มะเร็งในโพรงจมูกและไซนัส มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งในช่องปำก มะเร็งในลำคอ มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งต่อมน้ำลำยและไทรอยด์  บริเวณทรวงอก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งหลอดอำหำร มะเร็งระบบน้ำเหลือง มะเร็งเต้ำนม  บริเวณช่องท้อง ได้แก่ มะเร็งที่กระเพำะอำหำร มะเร็งตับ มะเร็งตับอ่อน มะเร็งไต และมะเร็งระบบ น้ำเหลืองในช่องท้อง  บริเวณท้องน้อย ได้แก่ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพำะปัสสำวะ มะเร็งมดลูก มะเร็งปำกมดลูก และ มะเร็งต่อมลูกหมำก
  • 5. 5 การฉายรังสีบริเวณศีรษะและลาคอ กำรฉำยรังสีบริเวณศีรษะและลำคอใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งในสมอง มะเร็งในโพรงจมูก และไซนัส มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งในช่องปำก มะเร็งในลำคอ มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งต่อมน้ำลำยและ ไทรอยด์ วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี ผู้ป่วยจะถูกจัดตำแหน่งของศีรษะและลำคอ อำจใช้หน้ำกำกพลำสติกยึดบริเวณศีรษะและลำคอให้ อยู่นิ่งกับที่ จำกนั้นนักรังสีรักษำจะทำกำรฉำยรังสีตำมแผนกำรรักษำที่วำงไว้รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้เวลำที่ แตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ฉำย ซึ่งจะใช้เวลำประมำณ 2-10 นำที แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่กำรจัดตำแหน่ง จนเสร็จวันละประมำณ 15-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-8 สัปดำห์ตำมแต่ ชนิดของโรคและแผนกำรรักษำของแพทย์ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ อำกำร ข้อควรปฏิบัติ ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่ ไม่ให้ถูกแดด - บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ - ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่ ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง เจ็บคอ ปำกแห้ง กำรรับรสผิดปกติ - ควรจิบน้ำบ่อยๆ - หมั่นดูแลสุขภำพในช่องปำกและลำคอให้สะอำด โดยใช้แปรงสีฟันอ่อนๆ และไหมขัดฟันทำควำม สะอำดฟันปลอมหลังอำหำร ไม่ใช้น้ำยำบ้วนปำกที่ ขำยในท้องตลำด - งดบุหรี่ แอลกอฮอล์อำหำรรสจัด ร้อน-เย็นจัด ควร รับประทำนอำหำรอ่อน จืด เปื่อย เหลวและกลืนง่ำย - หำกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์ อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ - รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ - ลดควำมวิตกกังวล - โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์
  • 6. 6 หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ แพทย์เจ้ำของไข้ การฉายรังสีบริเวณทรวงอก กำรฉำยรังสีบริเวณทรวงอกใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งปอด มะเร็งหลอดอำหำร มะเร็ง ระบบน้ำเหลือง มะเร็งเต้ำนม วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ อำจยกมือทั้งสองข้ำงไว้เหนือศีรษะหรือวำงข้ำงลำตัว หำยใจ ตำมจังหวะปกติ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่จัด ตำแหน่งจนเสร็จวันละประมำณ 20-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-6 สัปดำห์ ตำมแต่ชนิดของโรคและแผนกำรรักษำของแพทย์ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ อำกำร ข้อควรปฏิบัติ ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่ ไม่ให้ถูกแดด - บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ - ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่ ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง มีอำกำรเจ็บเวลำกลืน - ควรรับประทำนอำหำรเหลวอ่อนๆ จิบน้ำบ่อยๆ ถ้ำ ไม่สำมำรถรับประทำนอำหำรได้ควรปรึกษำแพทย์ ทันที ไอแห้งๆ เล็กน้อย - จิบน้ำบ่อยๆ ถ้ำเป็นมำกควรปรึกษำแพทย์ อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ - รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ - ลดควำมวิตกกังวล - โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์ หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ แพทย์เจ้ำของไข้
  • 7. 7 การฉายรังสีบริเวณช่องท้อง กำรฉำยรังสีบริเวณช่องท้องใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งที่กระเพำะอำหำร มะเร็งตับ มะเร็ง ตับอ่อน มะเร็งไต และมะเร็งระบบน้ำเหลืองในช่องท้อง วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ หำยใจตำมจังหวะปกติ นักรังสีรักษำจะจัดท่ำและตำแหน่งของ กำรฉำยรังสีให้ตรงกับที่วำงแผนไว้และทำกำรฉำยรังสีตำมเทคนิคของแผนกำรรักษำ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้ เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่กำรจัดท่ำและตำแหน่งจนเสร็จวันละ ประมำณ 20- 25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 4-6 สัปดำห์ตำมแต่ชนิดของโรค และแผนกำรรักษำของแพทย์ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ อำกำร ข้อควรปฏิบัติ ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่ ไม่ให้ถูกแดด - บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ - ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่ ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง รู้สึกผะอืดผะอมหลังฉำยรังสี 2-3 ชั่วโมง - งดรับประทำนอำหำรภำยใน 2-3 ชั่วโมงก่อนกำร ฉำยรังสีหรือรับประทำนอำหำรเบำๆ จะรู้สึกดีขึ้น คลื่นไส้ อำเจียน - ปรึกษำแพทย์อำจต้องรับประทำนยำแก้คลื่นไส้ อำเจียน ท้องเดิน หลังจำกฉำยรังสี 2-4 สัปดำห์ - รับประทำนอำหำรที่มีกำกน้อย งดผัก ผลไม้สด สำมำรถรับประทำนผักที่ปรุงสุกเปื่อย ผลไม้สุก กล้วย - งดของมันของทอด นม อำหำรรสจัด แอลกอฮอล์ - ดื่มน้ำมำกๆ - ถ้ำถ่ำยบ่อยมำกให้ปรึกษำแพทย์ อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ - รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ - ลดควำมวิตกกังวล - โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ
  • 8. 8 หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์ หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ แพทย์เจ้ำของไข้ การฉายรังสีบริเวณท้องน้อย กำรฉำยรังสีบริเวณท้องน้อยใช้ในกำรรักษำมะเร็งต่อไปนี้ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพำะ ปัสสำวะ มะเร็งมดลูก มะเร็งปำกมดลูก และมะเร็งต่อมลูกหมำก วิธีการรักษาด้วยการฉายรังสี ขณะฉำยรังสีให้ผู้ป่วยนอนอยู่นิ่งๆ หำยใจตำมจังหวะปกติ นักรังสีรักษำจะจัดท่ำและตำแหน่งของ กำรฉำยรังสีให้ตรงกับที่วำงแผนไว้และทำกำรฉำยรังสีตำมเทคนิคของแผนกำรรักษำ รังสีที่ให้แต่ละครั้งใช้ เวลำเพียง 2-10 นำที ขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้แต่ใช้เวลำทั้งสิ้นตั้งแต่จัดท่ำและตำแหน่งจนเสร็จวันละประมำณ 20-25 นำที ทำกำรฉำยสัปดำห์ละ 5 วัน ใช้เวลำทั้งสิ้นประมำณ 5-8 สัปดำห์ตำมแต่ชนิดของโรคและแผนกำร รักษำของแพทย์ในบำงรำยผู้ป่วยจำเป็นต้องดื่มน้ำมำกๆ และกลั้นปัสสำวะไว้ก่อนกำรฉำยรังสีเพื่อลด ผลข้ำงเคียงที่จะเกิดกับลำไส้เล็ก ยกเว้นผู้ป่วยมะเร็งกระเพำะปัสสำวะจะต้องปัสสำวะก่อนกำรฉำยรังสี ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและข้อควรปฏิบัติ อำกำร ข้อควรปฏิบัติ ผิวหนังแดงคล้ำหรือแห้งคัน - ปล่อยให้ผิวหนังส่วนนั้นถูกอำกำศมำกที่สุด แต่ ไม่ให้ถูกแดด - บริเวณที่ฉำยรังสีสำมำรถให้น้ำไหลผ่ำนได้แล้วซับ ให้แห้งด้วยผ้ำนุ่มๆ - ไม่ใช้สบู่ น้ำหอม แป้ง เครื่องสำอำง ทำบริเวณที่ ฉำยรังสี ยกเว้นเป็นยำที่แพทย์สั่ง ปัสสำวะบ่อยหรือปวดเล็กน้อย - ควรดื่มน้ำมำกๆ โดยเฉพำะน้ำผลไม้ที่เป็นกรด อ่อนๆ - อย่ำกลั้นปัสสำวะ ท้องเดินหรือมีอำกำรปวดเบ่ง - รับประทำนอำหำรที่มีกำกน้อย งดผัก ผลไม้สด สำมำรถรับประทำนผักที่ปรุงสุกเปื่อย ผลไม้สุก กล้วย - งดของมันของทอด นม อำหำรรสจัด แอลกอฮอล์ - ดื่มน้ำมำกๆ - ถ้ำถ่ำยบ่อยมำกให้ปรึกษำแพทย์
  • 9. 9 ถ่ำยอุจจำระได้น้อยหลังจำกฉำยรังสี 2-4 สัปดำห์ - กำรถ่ำยอุจจำระลำบำกหรือไม่สำมำรถถ่ำยอุจจำระ ได้ควรปรึกษำแพทย์ อ่อนเพลีย - พักผ่อนให้มำกๆ - รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ - ลดควำมวิตกกังวล - โดยปกติอำกำรจะค่อยๆ หำยไปหลังฉำยรังสีเสร็จ หำกรู้สึกมีอำกำรมำกควรปรึกษำแพทย์ หมำยเหตุ: อำจพบผลข้ำงเคียงอื่นๆ ได้ขึ้นกับบริเวณที่ฉำยรังสีในผู้ป่วยแต่ละรำยซึ่งแตกต่ำงกัน ควรปรึกษำ แพทย์เจ้ำของไข้ การติดตามผลการรักษา ระหว่ำงกำรฉำยรังสี รังสีแพทย์จะตรวจประเมินผลกำรรักษำ และดูแลบรรเทำอำกำรผลข้ำงเคียง จำกกำรฉำยรังสีประมำณสัปดำห์ละครั้ง แต่หำกมีอำกำรผิดปกติก็สำมำรถเข้ำปรึกษำแพทย์ได้ทันที นอกจำกนี้ผู้ป่วยอำจต้องได้รับกำรตรวจควำมสมบูรณ์ของเลือด สำหรับผู้ป่วยที่มีอำกำรข้ำงเคียงจำกกำรฉำย รังสีมำก บำงรำยอำจต้องหยุดพัก หรือเข้ำรับกำรดูแลรักษำในโรงพยำบำล หรือได้รับยำเพื่อลดอำกำรตำมแต่ แพทย์เห็นสมควร หลังครบกำรฉำยรังสี ผู้ป่วยยังคงต้องปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับช่วงฉำยรังสีต่อ 2-3 สัปดำห์ แพทย์จะนัด ให้มำตรวจประเมินผลกำรรักษำประมำณ 2-4 สัปดำห์หลังฉำยรังสีเสร็จ จำกนั้นนัดตรวจทุก 1-3 เดือน แล้วแต่ชนิดและขั้นตอนกำรรักษำของโรค กำรติดตำมผลกำรรักษำจะห่ำงขึ้นเป็น 4-6 เดือนจนกระทั่ง 5 ปี ถ้ำผู้ป่วยปกติไม่มีอำกำรของโรค ควรติดตำมห่ำงขึ้นเป็นปีละครั้งตลอดไป
  • 10. 10 เคมีบาบัด การรักษาด้วยเคมีบาบัด (chemotherapy) หมำยถึง กำรให้ยำเพื่อทำลำยหรือหยุดยั้งกำรเจริญเติบโตของ เซลล์มะเร็ง มีวัตถุประสงค์เพื่อ  รักษำผู้ป่วยให้หำยจำกโรคมะเร็งและไม่กลับมำเป็นซ้ำ  ควบคุมโรคให้ก้อนมะเร็งมีขนำดเล็กลงหรือไม่โตขึ้น และไม่แพร่กระจำยไปยังอวัยวะส่วนอื่น  บรรเทำอำกำรสำหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะแพร่กระจำย เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภำพชีวิตดีขึ้น อย่ำงไรก็ดี เนื่องจำกยำเคมีบำบัดไม่ได้ออกฤทธิ์จำเพำะเจำะจงที่เซลล์มะเร็งเท่ำนั้น จึงอำจส่งผลกระทบต่อ เซลล์ปกติทั่วไปและกำรทำงำนของอวัยวะอื่นๆ ทำให้เกิดอำกำรข้ำงเคียง เช่น คลื่นไส้ อำเจียน ปำกอักเสบ เบื่ออำหำร ภูมิต้ำนทำนต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอำกำรเหล่ำนี้จะมำกหรือน้อยขึ้นกับชนิดของยำ ควำมแข็งแรง ของร่ำงกำย และควำมพร้อมด้ำนจิตใจของผู้ป่วย วิธีการให้เคมีบาบัด ยำเคมีบำบัดสำมำรถบริหำรเข้ำสู่ร่ำงกำยของผู้ป่วยได้หลำยวิธี ได้แก่  เคมีบำบัดชนิดรับประทำน ยำเคมีบำบัดบำงชนิดอำจไม่สำมำรถรับประทำนได้เนื่องจำกระบบ ทำงเดินอำหำรดูดซึมไม่ดี หรือยำมีกำรระคำยเคืองระบบทำงเดินอำหำรมำก ทำให้ผู้ป่วยมีอำกำร คลื่นไส้ อำเจียน หรือท้องเสียได้  เคมีบำบัดชนิดฉีดเข้ำหลอดเลือดดำ เป็นวิธีที่นิยมมำกที่สุด เนื่องจำกช่วยให้ยำสำมำรถกระจำยไปทั่ว ร่ำงกำยได้รวดเร็ว  เคมีบำบัดชนิดฉีดเข้ำกล้ำมเนื้อ วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยม เพรำะยำทำให้เกิดกำรระคำยเคืองและทำลำย ผิวหนังและกล้ำมเนื้อได้ อย่ำงไรก็ดี ผู้ป่วยอำจได้รับยำเคมีบำบัดหลำยชนิดร่วมกัน และอำจได้รับเพียงวันเดียวหรือหลำยวันติดต่อกัน หรือสัปดำห์ละครั้งก็ได้ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้เลือกสูตรยำและตำรำงกำรให้ยำเคมีบำบัดที่เหมำะสมกับชนิดของ โรคและสภำพร่ำงกำยของผู้ป่วย การเลือกใช้ยาเคมีบาบัด กำรเลือกใช้ยำเคมีบำบัดที่ถูกต้องทั้งชนิด ปริมำณ และระยะเวลำกำรให้ยำ มีควำมสำคัญต่อ ประสิทธิผลของกำรรักษำโรคมะเร็งเป็นอย่ำงมำก เนื่องจำกยำเคมีบำบัดจัดเป็นยำอันตรำย กำรได้รับยำใน ปริมำณที่มำกเกินไปอำจส่งผลให้เกิดอำกำรข้ำงเคียงที่รุนแรง แต่หำกได้รับยำในปริมำณที่น้อยเกินไปก็อำจ ไม่สำมำรถทำลำยเซลล์มะเร็งได้ ในกำรเลือกสูตรยำเคมีบำบัด แพทย์จะพิจำรณำจำกปัจจัยต่ำงๆ เช่น ชนิดของมะเร็ง ระยะของมะเร็ง อำยุ ภำวะสุขภำพของผู้ป่วย โรคประจำตัว ประวัติกำรรักษำมะเร็งในอดีต ผลข้ำงเคียง กำรออกฤทธิ์เสริมหรือ
  • 11. 11 ต้ำนฤทธิ์ระหว่ำงยำเคมีบำบัดเมื่อใช้หลำยชนิดร่วมกัน โดยผู้ป่วยอำจได้รับยำเคมีบำบัดเพียงชนิดเดียวหรือ หลำยชนิด ซึ่งกำรใช้ยำหลำยชนิดร่วมกันจะมีประสิทธิภำพมำกกว่ำกำรใช้ยำเพียงชนิดเดียว ระยะเวลาในการรักษาด้วยเคมีบาบัด ระยะเวลำในกำรรักษำด้วยเคมีบำบัดขึ้นอยู่กับชนิดของโรค ระยะของโรค และกำรตอบสนองต่อยำ โดยปกติยำเคมีบำบัดจะให้เป็นชุด ใช้เวลำ 1-5 วันต่อชุด แต่ละชุดห่ำงกัน 3-4 สัปดำห์ ซึ่งผู้ป่วยอำจได้รับ เคมีบำบัดเฉลี่ย 6-8 ชุด (ขึ้นกับแผนกำรรักษำของแพทย์) โดยผู้ป่วยควรมำรับยำตำมนัดทุกครั้งเพื่อ ผลกำรรักษำที่ดี การเตรียมตัวก่อนเข้ารับเคมีบาบัด  รับประทำนอำหำรให้ครบ 5 หมู่  พักผ่อนให้เพียงพอและเพิ่มกำรนอนพักในช่วงกลำงวันอย่ำงน้อย 1-2 ชั่วโมงต่อวัน  หำกมีโรคประจำตัว เช่น หัวใจ เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง หรือโรคที่ต้องรับประทำนยำเป็นประจำ ต้องแจ้งให้แพทย์ผู้รักษำทรำบ  ควรทำอำรมณ์และจิตใจให้พร้อมรับกำรรักษำ โดยลดควำมกลัวและควำมวิตกกังวลลง การดูแลตนเองขณะรับเคมีบาบัด  สังเกตผิวหนังบริเวณที่ฉีดยำ ถ้ำรู้สึกปวด บวม แดง หรือสงสัยมียำรั่วซึมออกนอกหลอดเลือด ต้อง แจ้งพยำบำลทันที  ดื่มน้ำมำกๆ เพื่อช่วยขับสำรเคมีที่อำจตกค้ำงในร่ำงกำยออกทำงปัสสำวะ  ถ้ำมีอำกำรคลื่นไส้ อำเจียน ให้แจ้งพยำบำลทันที
  • 12. 12 CT scan (ซีที สแกน หรือ Computerized Tomography Scan) คือ กำรตรวจวินิจฉัยโรคด้วยเครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแพทย์จะฉำยรังสีเอกซเรย์ตำมร่ำงกำยบริเวณที่ต้องกำรตรวจ แล้วใช้คอมพิวเตอร์สร้ำงเป็น ภำพฉำยลักษณะและอวัยวะภำยในร่ำงกำย เพื่อประกอบกำรวินิจฉัยหำควำมผิดปกติของร่ำงกำยต่อไป โดย วิธีกำรนี้จะได้ภำพที่มีควำมละเอียดสูงกว่ำกำรเอกซเรย์แบบธรรมดำ และสำมำรถใช้ตรวจอวัยวะภำยใน ร่ำงกำยได้เกือบทุกส่วน ประเภทของ CT scan  เอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบภำพตัดขวำงพื้นฐำน (Conventional CT Scan) เครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์จะหมุนเป็นวงรอบตัวผู้ป่วย เพื่อให้รังสเอ็กซเรย์ผ่ำนตัวผู้ป่วย 1 รอบ จะได้ภำพ 1 ภำพ โดยเตียงจะเลื่อนไปทีละตำแหน่ง ภำพที่ได้จะถูกนำมำสร้ำงเป็นภำพตัดขวำงของอวัยวะได้ทีละภำพ  เอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบเกลียว (Spiral/Helical CT Scan) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จะหมุนเป็น วงอยำงต่อเนื่องรอบตัวผู้ป่วย เมื่อรังสีเอกซเรย์ผ่ำนตัวผู้ป่วยจะได้ภำพหลำยภำพ ซึ่งใช้เวลำน้อยกว่ำ แบบพื้นฐำน และได้ภำพที่มีควำมแม่นยำสูงกว่ำ ข้อจากัดในการทา CT Scan  ตั้งครรภ์หำกไม่ใช่ในกรณีฉุกเฉินเร่งด่วน แพทย์จะให้ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ใช้วิธีกำรอื่นในกำรตรวจ วินิจฉัย เพื่อเลี่ยงไม่ให้รังสีเอกซเรย์ส่งผลกระทบต่อทำรกในครรภ์ได้  เด็ก ในผู้ป่วยที่เป็นเด็ก ผู้ปกครองควรปรึกษำและรับคำแนะนำจำกแพทย์ถึงกำรเตรียมตัวก่อนให้เด็ก เข้ำเครื่อง CT Scan หำกเด็กยังเล็กมำก หรือรู้สึกตื่นกลัวมำก แพทย์จะให้ยำระงับประสำทเพื่อ บรรเทำอำกำรก่อนทำ CT Scan  สแกนเมื่อจำเป็น ผู้ป่วยควรทำ CT Scan เมื่อมีเหตุจำเป็นอันสมควเมื่อผู้ป่วยมีอำกำรป่วยที่ปรำกฏ เท่ำนั้น โดยจะไม่ใช้CT Scan เพื่อกำรคัดกรองเบื้องต้น เพรำะเพิ่มควำมเสี่ยงต่อปัญหำสุขภำพจำก กำรได้รับรังสีเอกซเรย์และเพิ่มควำมวิตกกังวลเกินจำเป็น ขั้นตอนในการทา CT Scan การเตรียมตัว ผู้ป่วยควรซักถำมถึงข้อสงสัยที่มี อย่ำงสำเหตุ ควำมจำเป็น ควำมเสี่ยง และประโยชน์ที่ได้จำกกำร ตรวจด้วย CT Scan โดยก่อนทำ CT Scan ผู้ป่วยควรสวมเสื้อผ้ำหลวม ๆ ที่ไม่มีส่วนประกอบของโลหะ เช่น ซิป เข็มขัด ถอดแว่นตำ ฟันปลอม และไม่สวมใส่เครื่องประดับใด ๆ ในบำงกรณี ผู้ป่วยอำจต้องเปลี่ยนใส่ชุด ที่ทำงโรงพยำบำลจัดให้ เพื่อให้สะดวกต่อกำรฉำยรังสีและกำรสร้ำงภำพ สำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรเอกซเรย์ช่องท้อง แพทย์อำจแนะนำให้งดอำหำรเป็นเวลำหลำยชั่วโมงก่อนทำ CT Scan เพื่อไม่ให้รบกวนผลกำรตรวจ และให้ได้ภำพฉำยที่ชัดเจน หรือแพทย์อำจให้รับประทำนยำระบำยก่อน
  • 13. 13 การทา CT Scan ก่อนทา CT Scan ในผู้ป่วยบำงรำย แพทย์อำจให้สำรทึบรังสี (Contrast Material) เข้ำไปในร่ำงกำยเพื่อช่วยให้ภำพ ฉำยในบริเวณต่ำง ๆ ที่ต้องกำรตรวจเห็นได้ชัดเจนขึ้น โดยอำจใช้วิธีให้ผู้ป่วยดื่มสำรทึบรังสีเข้ำไป ฉีดสำร ทึบรังสีเข้ำสู่เส้นเลือด หรือสอดสำรทึบรังสีเข้ำสู่ลำไส้ผ่ำนทำงทวำรหนัก หำกผู้ป่วยมีควำมวิตกกังวลเป็นอย่ำงมำก แพทย์อำจให้ยำระงับประสำทเพื่อคลำยควำมกังวลก่อนกำร เอกซเรย์โดยผู้ป่วยที่ต้องใช้ยำดังกล่ำวนี้ ต้องเตรียมกำรให้ญำติหรือบุคคลใกล้ชิดมำรับกลับหลังจำกเสร็จ ขั้นตอน เนื่องจำกฤทธิ์ของยำจะทำให้ผู้ป่วยไม่สำมำรถขับขี่ยำนพำหนะได้ตำมปกติ การทา CT Scan เมื่อเริ่มทำ CT Scan ผู้ป่วยต้องนอนรำบลงบนเตียงของเครื่องสแกน เตียงจะถูกเคลื่อนเข้ำไป ภำยในเครื่อง ให้บริเวณที่ต้องกำรจะสแกนอยู่ตรงกับวงแหวนสแกน และเครื่องจะเริ่มทำกำรสแกนด้วยกำร หมุนเพื่อฉำยรังสีเอกซเรย์ไปรอบ ๆ ตัวผู้ป่วย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะฉำยภำพที่ได้ออกมำเรื่อย ๆ ผู้ป่วย ควรผ่อนคลำยควำมกังวล นอนรำบนิ่ง ๆ และหำยใจตำมปกติ ในบำงกรณีผู้ป่วยอำจต้องหำยใจเข้ำ หำยใจ ออก หรือกลั้นหำยใจตำมคำสั่งแพทย์เพื่อให้ภำพถ่ำยรังสีออกมำชัดเจน โดยในระหว่ำงที่อยู่ในเครื่อง CT Scan ผู้ป่วยสำมำรถสื่อสำรกับแพทย์และนักเทคนิคที่ดูแลกำรสแกนได้ผ่ำนอินเตอร์คอม (Intercom: เครื่อง สื่อสำรด้วยเสียง) และกำรสแกนจะสิ้นสุดลงภำยในเวลำประมำณ 10-20 นำที การดูแลตนเองหลังทา CT Scan หลังทำ CT Scan ผู้ป่วยสำมำรถกลับบ้ำนและทำกิจกรรมต่ำง ๆ อย่ำงกำรรับประทำนอำหำร ดื่มน้ำ หรือขับรถได้ตำมปกติ แล้วมำตำมนัดหมำยเพื่อฟังผลจำกแพทย์ยกเว้นผู้ป่วยที่ต้องใช้ยำระงับประสำทเพื่อ คลำยควำมกังวลก่อนเข้ำเครื่องสแกน ซึ่งจะทำให้รู้สึกมึนงงหรือง่วงซึมได้ควรให้คนมำรับกลับ ไม่ควรขับขี่ ยำนพำหนะด้วยตนเองเพรำะอำจเกิดอันตรำยได้ ส่วนผู้ป่วยที่ต้องใช้สำรทึบแสงช่วยให้กำรฉำยภำพเอกซเรย์ชัดเจนขึ้น หลังทำ CT Scan แพทย์อำจให้อยู่รอดู อำกำรที่โรงพยำบำลประมำณ 1 ชั่วโมง เพื่อดูว่ำผู้ป่วยมีอำกำรแพ้จำกกำรใช้สำรทึบรังสีหรือไม่ โดยผู้ป่วย ควรดื่มน้ำในปริมำณมำก เพื่อช่วยให้ไตขับสำรทึบรังสีออกจำกร่ำงกำยผ่ำนทำงปัสสำวะ ข้อดีของการทา CT Scan  สำมำรถสแกนตรวจอวัยวะในร่ำงกำยส่วนใหญ่ได้  ไม่ทำให้เกิดควำมเจ็บปวดในขณะตรวจสแกน  ภำพที่ได้มีรำยละเอียดสูงกว่ำกำรทำอัลตรำซำวนด์ทำให้แพทย์สำมำรถวินิจฉัยได้แม่นยำขึ้น  สำมำรถสแกนได้รวดเร็วกว่ำเมื่อเปรียบเทียบกับกำรสแกนแบบ MRI
  • 14. 14 ข้อเสียของการทา CT Scan  อำจมีวัตถุแปลกปลอมที่รบกวนกำรแปลผลเอกซเรย์เช่น เครื่องประดับต่ำง ๆ  ในขณะสแกน ต้องมีกำรกลั้นหำยใจ ซึ่งผู้ป่วยบำงรำยไม่สำมำรถปฏิบัติได้  ในกำรสแกนสมองด้วย CT Scan อำจถูกกระดูกส่วนกะโหลกศีรษะบัง ทำให้แปลผลคลำดเคลื่อนได้  ในตำแหน่งอื่น ๆ ที่มีกระดูกอยู่จำนวนมำก เช่น บริเวณกระดูกสันหลัง อำจเกิดกำรบดบังอวัยวะ ส่วนที่ต้องกำรตรวจวินิจฉัย จึงทำให้ภำพที่ได้จำก CT Scan มีโอกำสแปลผลคำดเคลื่อนได้  CT Scan ใช้รังสีปริมำณมำก อำจเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับรังสีมำกเกินไป ความเสี่ยงและผลข้างเคียงจากการทา CT Scan  กำรได้รับรังสีเข้ำสู่ร่ำงกำย อำจเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับรังสีมำกเกินไป แต่ยังไม่ พบว่ำกำรทำ CT Scan จะส่งผลกระทบที่เป็นอันตรำยในระยะยำวได้และด้วยเทคโนโลยีทำง กำรแพทย์ในปัจจุบัน มีโอกำสที่ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อกำรเป็นโรคมะเร็งจำกรังสีใน CT Scan น้อยมำก อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสี่ยงในกำรเกิดมะเร็งในผู้ป่วยที่ทำ CT Scan จะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อผู้ป่วยเป็นเด็ก หรือเด็กโต และผู้ที่เข้ำรับกำรตรวจด้วยกำรฉำยรังสีเป็นประจำ  ปฏิกิริยำตอบสนองต่อสำรทึบรังสี มีโอกำสที่ผู้ป่วยที่ต้องใช้สำรทึบรังสีจะมีอำกำรแพ้หลังจำกได้รับ สำรเข้ำสู่ร่ำงกำย เช่น มีผดผื่นคัน หำยใจติดขัด ปวดท้อง ระบบทำงเดินอำหำรผิดปกติ เป็นต้น  เสี่ยงเกิดอันตรำยต่อทำรกในครรภ์รังสีจำกกำรสแกนอำจกระทบต่อทำรกในครรภ์และทำให้เกิด ควำมผิดปกติซึ่งเป็นอันตรำยต่อเด็กที่จะเกิดมำ หำกผู้ป่วยตั้งครรภ์แพทย์จะแนะนำให้ใช้วิธีกำรอื่น ในกำรตรวจวินิจฉัย  เสี่ยงเกิดอันตรำยต่อทำรกแรกเกิด สำรทึบแสงที่อยู่ภำยในร่ำงกำยอำจส่งผ่ำนไปยังทำรกในขณะที่ ผู้ป่วยให้นมบุตร ทำให้เด็กมีควำมเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำสุขภำพจำกกำรได้รับสำรทึบรังสีเข้ำสู่ ร่ำงกำย
  • 15. 15 เครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค Rapid Arc เครื่องฉำยรังสีเร่งอนุภำค Rapid Arc เป็นเครื่องฉำยรังสีชนิดเร่งอนุภำคพลังงำนสูง จำกบริษัทแว เรียนประเทศสหรัฐอเมริกำที่สำมำรถทำกำรฉำยรังสีด้วยเทคนิคกำรฉำยแบบหมุนรอบตัวผู้ป่วยหรือที่ เรียกว่ำ Volumetric Modulated Arc Therapy และเรียกสั้นๆ ว่ำ “Rapid Arc” มีควำมพิเศษสุดตรงที่เป็น เทคนิคใหม่ซึ่งพัฒนำมำกขึ้นกว่ำกำรฉำยรังสีแปรควำมเข้มสำมมิติธรรมดำ ด้วยวิธีกำรฉำยรังสีแปรควำมเข้ม หมุนรอบตัว ทำให้เนื้องอกได้รับปริมำณรังสีในปริมำณสูง และช่วยลดปริมำณรังสีใหกั้บอวัยวะข้ำงเคียง และเนื้อเยื่อปกติ เหมำะสำหรับโรคมะเร็งที่มีควำมซับซ้อน เช่น มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งบริเวณศีรษะ และลำคอ มะเร็งปอดมะเร็งต่อมลูกหมำก หรือสำหรับอวัยวะทุกส่วนของร่ำงกำยก็สำมำรถรักษำได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพเช่นกัน ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นจากเครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค Rapid Arc. 1. ผู้รับบริกำรได้รับควำมสะดวก สบำย รวดเร็วยิ่งขึ้น ด้วยควำมที่กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc นี้เป็นเทคโนโลยีใหม่ล่ำสุด พัฒนำขึ้นมำเพื่อลดเวลำในกำรฉำยรังสี ลงโดยคุณภำพในกำรรักษำดีขึ้นเครื่องฉำยจะหมุนรอบตัวผู้ป่วยอย่ำงต่อเนื่องในหนึ่งรอบกำรหมุนจะมีกำร ปรับรูปร่ำงของลำรังสี ปรับปริมำณรังสีไปพร้อมกับกำรปรับควำมเร็วของกำรหมุนของเครื่องฉำย เทคนิคนี้ จะช่วยลดเวลำในกำรฉำยรังสีให้เร็วขึ้นได้มำกกว่ำเทคนิคแปรควำมเข้มสำมมิติถึง 8-10 เท่ำ แปลง่ำยๆ ว่ำ ผู้ป่วยจะใช้เวลำในกำรฉำยรังสีเพียง 2-5 นำที จำกเดิมใช้เวลำ 15-20 นำที ผู้ป่วยจะได้รับควำมสะดวกสบำย ในกำรรักษำ ลดอำกำรปวดเมื่อยจำกกำรกดทับเมื่อมีกำรนอนรักษำเป็นเวลำนำน และสำมำรถใชชี้วิตตำม ปกติได้อย่ำงรวดเร็ว 2. ประสิทธิภำพในกำรรักษำดีขึ้น เมื่อสำมำรถปรับเปลี่ยนรูปร่ำงของลำรังสีตำมขอบเขตของก้อนเนื้องอก จำกกำรใช้อุปกรณ์กำบังรังสีแบบซี่ (Multi-Leaf Collimator: MLC) ก็ยิ่งทำให้กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc มีควำมแม่นยำตรงตำมแผนกำรรักษำ ที่วำงไว้มำกยิ่งขึ้น นอกจำกนั้นกำรควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่มีควำมถูกต้องและแม่นยำสูงยังช่วยให้ สำมำรถเพิ่มปริมำณรังสีได้สูงขึ้น จึงถือว่ำเป็นแผนกำรให้รังสีที่ดีที่สุดในขณะนี้ ซึ่งนอกจำกจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภำพในกำรรักษำแล้วยังเพิ่มโอกำสในกำรหำยขำดจำกโรคสูงยิ่งขึ้นด้วย ทั้งนี้น่ำสังเกตว่ำด้วย เทคนิคดังกล่ำว ทำให้ผู้ป่วยนอนในห้องฉำยแสงเป็นเวลำสั้นๆ ทำให้ลดควำมคลำดเคลื่อนที่อำจจะเกิดขึ้น จำกกำรเคลื่อนไหวของผู้ป่วยในระหว่ำงกำรฉำยรังสีลงได้อีกด้วย 3. ลดผลข้ำงเคียงจำกกำรฉำยรังสี เมื่อเปรียบเทียบกับกำรฉำยรังสีด้วยเทคนิคเดิมแล้ว พบว่ำกำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc ช่วยใหอวัยวะ ข้ำงเคียงได้รับปริมำณรังสีลดลงโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง อวัยวะที่ติดกับก้อนเนื้องอกหรือมีควำมทนต่อรังสี น้อย ทำให้ภำวะแทรกซ้อนจำกกำรฉำยรังสีเกิดขึ้นน้อยลง เช่น อำกำรน้ำลำยแห้ง กระเพำะปัสสำวะอักเสบ และ อำกำรถ่ำยเป็นเลือดจำกลำไส้อักเสบ เป็นต้น ส่งผลให้ผู้รับกำรรักษำมีคุณภำพชีวิตในระยะ ยำวที่ดีขึ้น
  • 16. 16 4. เพิ่มควำมถูกต้องแม่นยำในกำรฉำยรังสี กำรฉำยรังสีแบบ Rapid Arc สำมำรถให้กำรรักษำได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำ เนื่องจำกกำรติดตั้งระบบภำพนำวิถี ภำยในตัวเครื่อง หรือ On-Board Imager: OBI ซึ่งสำมำรถถ่ำยภำพเอกซเรย์และเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Cone Beam CT: CBCT) เพื่อตรวจสอบควำมถูกต้องของตำแหน่งกำรฉำยรังสีก่อนทำกำรฉำยรังสีจริงใหกั้บผู้ป่วย ทำให้กำรรักษำถูกต้อง ตรงตำมตำแหน่งและมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น
  • 17. 17 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ปรึกษำเลือกหัวข้อ - นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน - ศึกษำรวบรวมข้อมูล - จัดทำรำยงำน - นำเสนอครู - ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อิเทอร์เน็ต - หนังสือที่เกี่ยวข้อง - คอมพิวเตอร์ - โทรศัพท์ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงำน 2 ศึกษำและค้นคว้ำ ข้อมูล 3 จัดทำโครงร่ำงงำน 4 ปฏิบัติกำรสร้ำง โครงงำน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 กำรทำ เอกสำรรำยงำน 7 ประเมินผลงำน 8 นำเสนอโครงงำน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดกำรทำโครงงำน) 1. ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในหัวข้อที่สนใจ
  • 18. 18 2. สำมำรถนำไปประยุกต์ในในชีวิตประจำวัน 3. สำมำรถนำควำมรู้ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได 4. ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย 2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ 2. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศุกษำ 3. กลุ่มพัฒนำผู้เรียน แหล่งอ้างอิง (เอกสำร หรือแหล่งข้อมูลต่ำง ๆ ที่นำมำใช้กำรทำโครงงำน) เนื้องอกในสอง https://health.kapook.com/view173838.html
  • 19. 19 กำรรักษำเนื้องอกในสอง https://www.bumrungrad.com/healthspot/January-2015/brain-tumor กำรผ่ำตัด https://www.bumrungrad.com/th/neurology-stroke-dementia-neurosurgery-treatment-center- bangkok-thailand/procedures/microneurosurgery กำรฉำยรังสี https://www.bumrungrad.com/th/horizon-cancer-treatment-center-chemotherapy-bangkok- thailand/procedures/radiotherapy เคมีบำบัด https://www.bumrungrad.com/th/horizon-cancer-treatment-center-chemotherapy-bangkok- thailand/procedures/chemo-therapy CT scan https://www.pobpad.com/ct-scan เครื่องฉำยรังสีเร่งอนุภำค Rapid Arc http://www.siphhospital.com/th/news/article/share/243