SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มำและควำมสำคัญ
จากการศึกษางานวิจัย เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบ
ของผักช้าเลือด ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichai coli
ของนายณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ พบว่า ส่วนต่างๆของผักช้าเลือด อาทิ เช่น ใบ ยอด และดอก
มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcusaureus และ Escherichia coli
โดยส่วนใบของผักช้าเลือดมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียได้มากที่สุด
ซึ่ง ผักช้าเลือดใ น ภ าคอีสาน ห รือใน ท้อง ถิ่น อาเภ อเลิงน กทา มีชื่อเรียกว่า ผักกาดย่า
ซึ่งผักกาดย่ามีจานวนมาก หาได้ง่ายและชาวบ้านนิยมนามารับประทานเป็นเครื่องเคียงกับลาบก้อย
แ ก ง ห น่ อ ไ ม้ ซุ ป ห น่ อ ไ ม้ ฯ ล ฯ
เป็ นการเพิ่มรสชาติอาหารให้กับการรับประทานเป็นได้อย่างดีและยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพ
อีกด้วย
ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า
โ ด ย ใ ช้ ตั ว ท า ล ะ ล า ย เ อ ท า น อ ล แ ล ะ เ ม ท า น อ ล
และได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้นต่างกัน ได้แก่500mg/ml300mg/ml
และ 100mg/ml ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน
1.2.1 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า
โดยใช้ตัวทาละลายเอทานอลและเมทานอล
1.2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้นต่างกัน ได้แก่ 500 mg/ml,
300 mg/ml และ 100mg/ml ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
1.3 สมมติฐำนในกำรศึกษำ
1.3.1 เมื่อใช้ตัวทาละลายแตกต่างกัน ก็จะได้สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีประสิทธิภาพการยับยั้ง
เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ต่างกัน
1.3.2 เมื่อสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีความเข้มข้นต่างกัน ก็จะมีผลต่อประสิทธิภาพการยับยั้ง
เชื้อแบคทีเรีย
1.4 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น ตัวทาละลายที่แตกต่างกัน ได้แก่เอทานอลและเมทานอล ,
ความเข้นข้นของสารสกัดหยาบ 500mg/ml, 300 mg/ml และ 100mg/ml
ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
ตัวแปรควบคุม สารสกัดหยาบที่ได้จากใบของผักกาดย่า ปริมาณเชื้อ ระยะเวลาในการบ่มเชื้อ
อุณหภูมิในการบ่มเชื้อ และความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ
1.5 ขอบเขตในกำรศึกษำ
ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบของใบผักกาดย่า จากตัวทาละลาย 2 ชนิดได้แก่
เอทานอล เมทานอล และศึกษาเมื่อนาสารสกัดหยาบในความเข้มข้น 500 mg/ml, 300 mg/ml
และ 100mg/ml จะส่งผลต่อประสิทธิภาพสารสกัดหยาบในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย
Escherichia coli
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ
1.6.1 สามารถนาผักพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
1.6.2 สามารถนาสารสกัดจากใบผักกาดย่ามาใช้ในการผลิตยารักษาโรคได้
1.6.3 ทาให้ทราบว่าตัวทาละลายชนิดใดและความเข้มข้นเท่าใด
ที่ทาให้สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia
coli ได้ดีที่สุด
1.7 ระยะเวลำในกำรทำโครงงำน
โครงงานนี้มีระยะเวลา 3 เดือน เริ่มตั้งแต่มิถุนายน - สิงหาคม พ.ศ. 2555
1.8 สถำนที่ทำโครงงำน
ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา และห้องปฏิบัติการเคมี โรงเรียนเลิงนกทา
1.9 นิยำมคำศัพท์เฉพำะ
โซนใส (Clear Zone หรือ Inhibition Zone) คือ บริเวณที่เกิดการยับยั้งเชื้อ วิธีการวัดโซนใส
จะวัดจากเส้นผ่านศูนย์กลางของการที่สารสกัดหรือยาปฏิชีวนะคร่อมแผ่นยา
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาและการเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองครั้งนี้ได้ทาการศึกษางานวิจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกั
บการทาโครงงาน โดยคณะผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
และงานวิจัยที่มีการศึกษามาแล้ว ดังที่จะเสนอต่อไปนี้
2.1 ผักกาดย่า
2.2 เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ผักช้ำเลือด
“ผักช้าเลือด” มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่น ได้แก่ทางภาคเหนือเรียก ผักปู่ย่า
หนามปู่ย่า ทะเน้าซอง ภาคกลางเรียก ช้าเลือด ปราจีนบุรี และอุดรธานี อีสานเรียก ผักกาดย่า
ที่นครพนมเรียกว่า ผักขะยา ที่เลยเรียก ผักคายา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า แคสซาลพิเนีย มิโมซอยเดส
(Caesalpinia mimosoides Lamk.) จัดอยู่ในวงศ์ เล็คกูมิโนซี (LEGUMINOSAE)
ลักษณะทำงพฤษศำสตร์ของผักช้ำเลือด
“ผักช้าเลือด ”จัดเป็นไม้เถา ลาต้น ตั้งตรง หรือเลื้อยพันต้นไม้อื่น มีความสูงต้นมากกว่า 1 เมตร
ลาต้นมีหนามแหลมมากมายทั้งลาต้น และก้านใบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน
ก้าน ใบยาว 25-40 ซม. ยอดอ่อน มีสีน้ าตาลแดง ใบย่อยมี 10-30 คู่ และแตกออกไปอีก 10-20 คู่
ใบมีลักษณะกลมมน ขนาดกว้าง 4 มม. ใบสามารถหุบเข้าหากันได้เมื่อถูกสัมผัส ก้านใบสีแดง
มีหนามแหลมตามกิ่งก้านทั่วไป ดอกเป็นดอกช่อยาว 20-40ซม.ลักษณะเป็นพุ่ม ดอกสีเขียวอมชมพูน้าตาล
แต่ถ้าดอกมีสีเหลืองจะมีรสเปรี้ยวใช้ทายาผักปู่ย่าจะบานดอกในช่วงฤดูหนาวขนาดของดอกยาว 1.2-2ซม.
กว้าง 1-1.8ซม. ลักษณะเป็นแผ่นแบนและปลายเรียวแหลมผลเป็นฝักขนาดเท่าหัวแม่มือภายในมีเมล็ด 2
เม ล็ ด ใ บ แ ล ะ ช่อ ด อ ก มี ก ลิ่ น ฉุ น รุ น แ ร ง ค ล้ า ย ก ลิ่ น แ ม ง ก ะ แ ท้ ห รื อ แ ม ง ด า
ชาวบ้านว่าผักปู่ย่ามีกลิ่นหอมนวลน่ากิน ผักช้าเลือด พบขึ้นในแหล่งธรรมชาติบริเวณ ป่าละเมาะ
ป่ าเต็ง รัง ป่ าผส ม ผลัดใ บ แ ละ บ ริ เวณ ช ายป่ าที่ รก ร้าง ช อ บ ขึ้ น รวมกับต้น ไม้อื่น ๆ
ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด ผล มีลักษณะเป็นฝัก บวมพอง มีหนามเล็กๆ ขนาดเท่าหัวแม่มือ
ภายในฝักจะมีเมล็ด 2เมล็ด
คุณประโยชน์ทำงด้ำนอำหำร
ส่วนที่เป็นผัก ได้แก่ยอดอ่อน ใบอ่อนและดอกของผักกาดย่า ใช้รับประทานเป็นผักได้ เช่น
ยอดรับประทานสดกับซุปหน่อไม้ ยอดอ่อนและใบอ่อนผลิออกในช่วงฤดูหนาว (เดือนตุลาคม-
เดือนกุมภาพันธุ์) ชาวเหนือรับประทาน ยอดอ่อน ใบอ่อนของผักปู่ย่า ส่วนดอกและยอดอ่อนนาไปปรุงเป็น
"ส้าผัก" ได้โดยปรุงร่วมกับมะเขือแจ้ ยอดมะม่วงและเครื่องปรุงรสหลายชนิด
ประโยชน์ในกำรเป็นพืชสมุนไพร
ยอดอ่อนและดอก มีรสเปรี้ยว ฝาดเผ็ดร่วมกัน จึงมีสรรพคุณ บารุงเลือด แก้วิงเวียน
และจากรายงานผลการวิจัยที่ค้นพบ พบว่า ในผักพื้นบ้านประเภทนี้ มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง
จึงมีสรรพคุณในการลด หรือยับยั้งการสร้างเซลล์มะเร็งได้ดี
2.2 เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
เป็นแบคทีเรียแกรมลบรูปร่างเป็นท่อน (Gram negative rod) อยู่ในกลุ่มเอ็นเทอโรแบคทีเรียซี
(Family Enterobacteriaceae) ปกติอาศัยอยู่ในลาไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น พบเป็นจานวนมากในอุจจาระ
แต่ไม่พบในปัสสาวะ
รูปที่ 1: เซลล์อีโคไลภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ในภาวะร่างกายปกติ เชื้ออีโคไลไม่ทาให้เกิดโรค แต่จะก่อให้เกิดโรคได้ในกรณีภูมิคุ้มกัน บกพร่อง
หรือในสภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เรียกว่า เชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic pathogen) ซึ่งเป็นตัวการสาคัญ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Secondary infection) นอกเหนือจากกลุ่มที่กล่าวมา ข้างต้น
กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่สาคัญคือ ผู้ที่ต้องทางานเกี่ยวข้องกับเชื้อโรค ทาให้เกิดการติดเชื้อ
จากการทางาน (Occupationalinfection) ได้แก่บุคลากรทางการแพทย์ที่สัมผัสกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ และผู้ที่
ทางานในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ซึ่งต้องสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ที่ติดเชื้อ เป็นต้น
เชื้ออีโคไลทาให้เกิดการตัดเชื้อโดยเกาะกับผนังเซลล์ของอวัยวะส่วนต่างๆ เช่น ไต กระเพาะ
ปัสสาวะ และจะสร้างสารช่วยในการยึดเกาะให้เชื้ออยู่ในบริเวณนั้นได้ และจะสร้างสารต่างๆ ออกมา
เพื่อทาลายเซลล์ ก่อใ ห้เกิดโรคติดเชื้อขึ้ น เชื้ออีโคไลทาให้ เกิดกลุ่มอาการที่สาคัญ คือ
การติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบในทารก และท้องร่วง
การติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ (Urinary TractInfection:UTI) เกิดจากเชื้ออีโคไลที่อาศัยอยู่ในลาไส้
และอุจจาระ โดยเชื้อสามารถเคลื่อนที่ไปยังบริเวณทางเดินปัสสาวะขึ้นไปยังกระเพาะปัสสาวะ หรือไตได้
จากนั้นจะมีการแบ่งตัวของเชื้ออย่างรวดเร็วที่อวัยวะดังกล่าว ทาให้เกิดภาวะพบแบคทีเรียใน ปัสสาวะ
(Bacteriuria) โดยสายพัน ธุ์ของเชื้ออีโคไลที่ทาให้เกิดการติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะ จะสร้าง
สารเอ๊กซ์แอดอีซิน ส์ (Xadhesins) ช่วยใน การยึดเกาะให้เชื้ออยู่บริเวณทางเดิน ปั สสาวะ ได้
และเชื้อจะสร้างสารฮีโมไลซิน (hemolysin) เพื่อทาลายเซลล์ ทาให้เซลล์เม็ดเลือดและเซลล์ต่างๆ แตก
โดยผู้ที่ติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะ จะมีอาการปวดแสบบริเวณถ่ายปัสสาวะ มีอาการปวดท้อง
เสี ย ด ท้ อ ง ข ณ ะ ปั ส ส าว ะ ปั ส ส า ว ะ บ่ อ ย แ ล ะ รู้ สึ ก เห มื อ น ปั ส ส า ว ะ ไ ม่สุ ด
การรักษาการติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะโดยการให้ยาปฏิชีวนะที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ เช่น
กลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolone) อย่างน้อย 7 วัน ร่วมกับการพยายามปรับสภาพปัสสาวะให้
เป็นกรด โดยการดื่มน้าผลไม้ที่มีกรดมากๆ หรือทานน้าเปล่ามากๆ เพื่อช่วยในการกาจัดเชื้อ
ท้องร่วง มักเกิดกับทารก ผู้ที่เดินทางไปต่างถิ่น หรือผู้ที่รับประทานอาหารหรือน้าที่มีการ
ปน เปื้ อน ของเชื้ออีโคไล ห รือผู้ที่มีภูมิคุ้มกัน บกพ ร่อง โดยเชื้อจะเกาะ ติดกับผนังลาไส้
จากนั้นจะสร้างสารพิษที่ ทาให้เกิดอาการท้องร่วงได้เชื้ออีโคไลบางสายพันธุ์สามารถผลิตสารพิษ (Toxin)
ที่เป็ นสาเหตุของการเกิดโรค ที่มีความรุน แรงมาก ๒ ชนิ ด คือ ชิก้าท๊อกซิน (Shiga toxin)
และเอ็นเทอร์โรท๊อกซิน (Enterotoxin) สารพิษ ชิก้าท๊อกซิน สามารถทาให้เกิดท้องร่วงอย่างรุนแรง
ในการเกิดโรคเชื้อจะเข้าสู่เซลล์และทาลายเซลล์ ทาให้เกิด โรคท้องร่วงที่มีเลือดออกและมีไข้ร่วมด้วย
ส่วนสารพิษเอ็น เทอร์โรท๊อกซิน ทาให้เกิดการท้องร่วง เป็ นน้ าซาว ข้าวคล้ายอหิ วาห์
โดยการกระตุ้นให้เกิดการห ลั่งน้ าเข้าสู่ช่องท้อง ปกติแล้วการรักษาอาการท้องร่วงจากเชื้ออี
โคไลมักไม่นิยมใช้ยา แต่จะให้ผงน้าตาลเกลือแร่เพื่อทดแทนการสูญเสียน้าของร่างกาย อย่างไรก็ตาม
ใ น ผู้ป่ วย ที่ มีอาการท้อง ร่วง จากเชื้ ออี โคไล สายพัน ธุ์ ที่ ก่อ ใ ห้ เกิด อาการที่ รุ น แร ง
ควรพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะที่สามารถ ยับยั้งเชื้อได้ เช่น กลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolone)
อย่างน้อย 3วัน ร่วมกับการให้ผงน้าตาลเกลือ แร่เพื่อทดแทนการสูญเสียน้าของร่างกาย
การป้ องกันการติดเชื้ออีโคไลทาได้ไม่อยากโดยอาศัยหลัก “ถูกสุขลักษณะ”ได้แก่ล้างมือให้
สะอาดหลังเข้าห้องน้า ก่อนและหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง กินอาหารที่ทาให้สุกแล้ว และควรกินอาหาร
ทันที หากยังไม่รับประทานทันที ควรเก็บไว้ในตู้เย็น ควรล้างผักผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน เป็นต้น
2.3 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัย เรื่องศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบของผักช้าเลือดในการยับยั้ง
การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichai coli ของนายณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ และคณะ พบว่า ส่วนต่างๆ
ของผักช้าเลือด อาทิ เช่น ใบ ยอด และดอก มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย
Escherichia coli ส่วนใบของผักช้าเลือดมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียมากที่สุด
ง า น วิ จั ย เ รื่ อ ง
การศึกษาประสิทธิภาพของการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอาหาร
Escherichiacoli ด้วยส่วนต่างๆของดอกแค ของนายนรภัทร บรรจงและคณะโดยใช้ตัวทาละลาย 2
ชนิ ดชนิ ดมีขั้ว ได้แก่เอทาน อล และเมทานอล กับชนิดไม่มีขั้ว ได้แก่แอซีโตน, คลอโรฟอร์ม
และเฮกเซน พบว่าสารสกัดจากส่วนต่างๆ ของดอกแคสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ที่ ก่อ ใ ห้ เกิ ด โ ร ค ใ น อ า ห าร ไ ด้ แ ต่ก็ มี แ น ว โ น้ ม ที่ ไ ด้ จ า ก ก าร ด า เนิ น ง าน ว่า
สารสกัดจากเกสรน่าจะยับยั้งการเจริญเติบโตได้และยับยั้งได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดจากส่วนอื่น
ๆของ ดอกแค และ เมื่อพิ จารณ า clear zone ที่เกิดขึ้ น พ บว่า การยับ ยั้งการเจริ ญ เติบ โต
ของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอาหารเกิดจากสารที่สกัดโดยใ ช้ตัวทาละลายชนิ ดมีขั้ว
ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่าสารที่อยู่ในดอกแคซึ่งสามารยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอ
าหารเป็นสารที่มีขั้ว และอยู่ที่เกสรดอกแคมากที่สุด
ผักกาดย่ามีชื่อที่แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น ผักปู่ย่า หนามปู่ย่า (เหนือ) ผักขะยา(นครพนม)
ผักคายา (เลย) ชื่อวิทยาศาสตร์ Caesalpinia mimosoides Lamk. วงศ์ LEGUMINOSAE ลักษณะใบ
เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ก้านใบยาว 25-30 เซนติเมตร ใบมี10-30 คู่และ
แตก ออ กไป อี ก 10 -20 เซ น ติเมตร ก้าน ใ บ สี แด ง มีห น ามแ ห ล มต าม กิ่ง ก้าน ทั่วไ ป
ใบลักษณะกลมมนขนาดกว้างประมาณ 4มม.ใบสามารถหุบเข้าหากันได้เมื่อสัมผัส ประโยชน์ทางอาหาร
ยอดใ ช้ รับ ประ ทาน สด กับซุปห น่อไม้และ ยังช่วยบ ารุ งเลือด แ ก้วิง เวียน (ที่มา
www.ethnobotany.maelanoi.net)
Escherichiacoli เป็ นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม เป็นตัวชี้การปนเปื้ อนของอุจจาระในน้ า
มีอยู่ตามธรรมชาติในลาไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ แบคทีเรียชนิดนี้ทาให้เกิดอาการท้องเสียบ่อยที่สุด
ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ทาให้ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็ นน้ า แต่อาการมักไม่รุนแรง เพราะทั้งเด็ก
และผู้ใหญ่มักมี ภูมิต้านทานอยู่บ้างแล้ว เนื่องจาก ได้รับเชื้อนี้เข้าไปทีละน้อยอยู่เรื่อยๆ
เชื้ อ นี้ มัก ป น เปื้ อ น ม ากับ อ า ห าร น้ า ห รื อ มื อ ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ อ าห า ร
มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย ลาว กัมพูชา อินโดนิเซีย เป็นต้น
Staphylococcus aureus เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจาถิ่นในผิวหนังและโพรงจมูก
เป็นแบคทีเรียก่อโรคชนิดหนึ่ง เมื่อ S. aureus ปนเปื้อนลงไปในอาหาร จะสร้างสารพิษที่เรียกว่า
เอนเทอโรทอกซินขึ้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 8ชนิด ได้แก่ชนิดA, B,C1, C2,C3,D, Eและ H
สารพิษนี้ทนต่อความร้อนได้ดีมาก ทาให้ผู้บริโภคเกิดอาหารเป็นพิษ
หลังจากรับประทานอาหารที่มีแบคทีเรียปนเปื้อนเข้าไปประมาณ 1-6ชั่วโมง
อาการของโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจาก S. aureus คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้องจากสารพิษ
อาการมักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วนมากไม่มีไข้ ในรายรุนแรงอาจช็อคได้ (
ที่มา th.wikipedia.org )
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรทดลอง
3.1 วัสดุอุปกรณ์และสำรเคมี
3.1.1 วัสดุอุปกรณ์
1. จานเพาะเชื้อ 2. ไมโครปิเปต
3. Paper dish 4. กรวยกรอง
5. แท่งแก้วคนสาร 6. บีกเกอร์
7. กรรไกร 8. ตู้เย็น
9. ตู้อบ (hot – air oven) 10. เครื่องปั่น
11. เครื่องชั่งสาร 12. ตู้บ่มเชื้อ (Inclubator)
13. ตุ๊ดตู่
3.1.2 สำรเคมี
1. เอทานอล
2. เมทานอล
3. สารสกัดหยาบจากผักกาดย่า
4. น้ากลั่น
5. ยา Penicillin V Potassium
6. เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
3.2 วิธีดำเนินกำรทดลอง
ตอนที่1 กำรเตรียมสำรสกัดจำกใบของผักกำดย่ำ
1. นาใบของผักกาดย่ามาล้างทาความสะอาด แล้วนามาหั่นให้เป็นชิ้นเล็กๆ
2. นาใบของผักกาดย่ามาอบแห้ง โดยตู้อบที่อุณหภูมิ 80 ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนาใบ
ของผักกาดย่าที่อบแห้งแล้วไปปั่นให้ละเอียด
3. นาผงแห้งของผัดกาดย่าส่วนที่เป็นใบ 25 กรัม ไปสกัดด้วยตัวทาละลาย คือ เอทานอล
และเมทานอล ปริมาณ 250 ml เป็นเวลา 72ชั่วโมง แล้วนาสารที่ได้ไปกรองเพื่อแยกสารออกจากสารละลาย
4. นาสารละลายมาระเหยตัวทาละลายออกด้วยการต้ม
5. นามาคิดหาเปอร์เซ็นต์ Yield มีสูตร คือ
Y =
ปริมาณสารตั้งต้นที่สกัดได้
ปริมาณสารตั้งต้น
× 100
ตอนที่2 กำรศึกษำกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ E.coli ด้วยสำรสกัดจำกใบของผักกำดย่ำ
1. นาเชื้อE.coli มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิด
เพื่อเลี้ยงเชื้อให้อยู่ในสภาวะที่พร้อมสาหรับการทดลอง แล้วนาไปบ่มในตู้บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37ºC เป็นเวลา
24 ชั่วโมง
2. นาเชื้อE.coli ที่อยู่ในสภาวะที่พร้อมในการทดลองมาทาการเกลี่ยลงบน จานเพาะเชื้อ
ให้ทั่วทุกจาน
3. นาสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าจากตัวทาละลายเอทานอล เมทานอล
และยา Penicillin V Potassium มาเตรียมความเข้มข้น ได้แก่ 500 mg/ml 300 mg/ml และ100 mg/ml
มีสารควบคุม คือ น้ากลั่น เอทานอลและเมทานอล
4. นาแผ่น Paper dish ไปจุ่มกับสารสกัดหยาบ น้ากลั่น เอทานอลหรือเมทานอล และยา
Penicillin VPotassium ให้นามาวางลงบนจานเพาะเชื้อที่เกลี่ยเชื้อไว้แล้ว โดยแบ่งจานเพาะเชื้อเป็น 4 ส่วน
ดังนี้
โดย C1 = ยา Penicillin VPotassium มีความเข้มข้น 500 mg/ml, 300mg/ml และ 100 mg/ml
C2 = ตัวทาละลายเมทานอลหรือเอทานอล ตามชุดการทดลอง
T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า มีความเข้มข้น 500 mg/ml, 300mg/ml และ 100 mg/ml
CN = น้ากลั่น
ห มำย เห ตุ : ใ น การทดลองจะมีตัวทาละลายอยู่ 2 ช นิ ด ได้แก่ เอทาน อลและเมทาน อล
แต่ละตัวทาละลายแบ่งเป็น 3ชุดการทดลอง คือ ชุดที่ 1สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า และยา Penicillin V
Potassium มีความเข้มข้น 500 mg/ml ชุดที่ 2 ความเข้มข้น 300 mg/ml และชุดที่3 ความเข้มข้น
100 mg/ml ตามลาดับ
5. นาจานเพาะเชื้อดังกล่าวไปบ่มในตู้บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37 ºC เป็นเวลา 24ชั่วโมง
6. เมื่อครบ 24 ชั่วโมง
นาจานเพาะเชื้อแต่ละจานมาวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งของสารแต่ละชุดการทดลองต่อเชื้อ
E.coli แล้วบันทึกการทดลอง
7. ทาการทดลองเหมือนข้อ 3, 4, 5 แต่เปลี่ยนจากสารสกัดหยาบเมทานอลเป็นเอทานอล
บทที่ 4
ผลกำรทดลอง
4.1 กำรศึกษำสำรสกัดหยำบจำกใบของผักกำดย่ำ
จากการสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าด้วยเอทานอลและเมทานอล พบว่าสารสกัดหยาบที่ได้มา
มีลักษณะเป็นสารเหนียวสีแดงปนน้าตาล และมีความหนืด โดยสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่า
มีเปอร์เซ็น ต์การสกัดโดยเอทาน อลเท่ากับ 2.89 % ดังแสดงใน ภาพ ที่ 4.1(ทางด้าน ซ้าย)
และสารสกัดห ยาบจากใบของผักกาดย่ามีเปอร์เซ็น ต์การสกัดโดยเมทาน อลเท่ากับ 2.99 %
ดังแสดงในภาพที่ 4.1 (ทางด้านขวา)
รูปที่ 4.1 แสดงลักษณะของสำรสกัดหยำบ
(ภาพทางซ้าย) สารสกัดหยาบโดยเอทานอล
(ภาพทางขวา) สารสกัดหยาบโดยเมทานอล
4.2 กำรศึกษำประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรียEscherichia coli ของสำรสกัดหยำบจำกใบ
ของผักช้ำเลือด
ตำรำงที่4.1 ตำรำงแสดงประสิทธิภำพกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ที่เวลำ 24 ชั่วโมง
สำรที่นำมำยับยั้งเชื้
อแบคทีเรีย E.coli
ควำมเข้มข้น
(mg/ml)
เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณกำรยับยั้ง (cm)
ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่4 ครั้งที่5
C1
500 3.8 3.2 3.3 3.4 3.9
300 2.65 2.8 2.7 2.9 3.2
100 2.6 2.5 2.6 2.1 2.6
C2
500 0 0 0 0 0
300 0 0 0 0 0
100 0 0 0 0 0
C3
500 0 0 0 0 0
300 0 0 0 0 0
100 0 0 0 0 0
T1
500 2.6 2.6 2.8 2.7 2.6
300 2.5 2.4 2.3 2.4 2.5
100 2.3 2.3 2.2 2.1 2.2
T2
500 2 2.5 2.3 2.8 2.7
300 1.8 2.5 2 2.3 2.2
100 1.8 1.8 1.9 1.9 1.9
CN
500 0 0 0 0 0
300 0 0 0 0 0
100 0 0 0 0 0
หมำยเหตุ : C1 = ยา Penicillin V Potassium C2 = เอทานอล
C3 = เมทานอล CN = น้ากลั่น
T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล
T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล
ตำรำงที่4.2 แสดงค่ำสถิติพื้นฐำนประสิทธิภำพกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย E.coli
สำรที่นำมำยับยั้ง
เชื้อแบคทีเรีย E.coli
N
ควำมเข้มข้น
(mg/ml) Mean S.D
T1 5
500 2.66 0.08944
300 2.42 0.08306
100 2.22 0.08366
T2 5
500 2.46 0.32093
300 2.16 0.27018
100 1.86 0.05477
C1 5
500 3.52 0.31144
300 2.85 0.24191
100 2.48 0.21679
C2 5 - 0 0
C3 5 - 0 0
CN 5 - 0 0
(ก) 500mg/ml (ข ) 300mg/ml (ค) 100mg/ml
จำกรูปที่ 4.2 บริเวณการยับยั้ง(Clear Zone) การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli
ของสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าโดยเอทานอล
(ก) 500mg/ml
(ข) 300mg/ml
(ค) 100mg/ml
(ก) 500mg/ml (ข ) 300mg/ml (ค) 100mg/ml
จำกรูปที่ 4.2 บริเวณการยับยั้ง(Clear Zone) การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli
ของสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าโดยเมทานอล
(ก) 500mg/ml
(ข) 300mg/ml
(ค) 100mg/ml
รูปที่ 4.2 แสดงประสิทธิภำพกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ที่เวลำ24 ชั่วโมง
หมำยเหตุ : C1 = ยาPenicillin V Potassium
C2 = เอทานอล
C3 = เมทานอล
T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล
T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล
CN = น้ากลั่น
รูปที่ 4.3 ประสิทธิในกำรยับยั้งเชื้อ E.coli ในยำ Penicillin V สำรสกัดหยำบจำกตัวทำละลำย
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
C1 T1 T2 C2 C3 CN
ประสิธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียE.coli
สารยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
500mg/ml
300mg/ml
100mg/ml
เอทำนอล และเมทำนอล
หมำยเหตุ : C1 = ยาPenicillin V Potassium
T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล
T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
500mg/ml 300mg/ml 100mg/ml
ควำมเข้มข้นของสำรที่นำมำยับยั้ง
ประสิทธิในกำรยับยั้งเชื้อ E.coli ในยำPenicillin V เอทำนอล และเมทำนอล
C1
T1
T2
บทที่ 5
สรุปและอภิปรำยผล
สรุปผลกำรทดลอง
จากการทดลองพบว่า สารสกัดหยาบจากตัวทาละลายเอทานอล เมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml
มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 2.66 cm ความเข้มข้น 300 mg/mlเท่ากับ 2.42 cm
ความเข้มข้น 100 mg/ml เท่ากับ 2.22 cm ตามลาดับ ส่วนสารสกัดหยาบจากตัวทาละลายเมทานอล
เมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 2.46 cm ความเข้มข้น
300 mg/ml เท่ากับ 2.16 cm ความเข้มข้น 100mg/ml เท่ากับ 1.86 ตามลาดับ ส่วนยา Penicillin V
Potassiumเมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 3.52 cm
ความเข้มข้น 300 mg/ml เท่ากับ 2.85 cm และความเข้มข้น 100 mg/ml เท่ากับ 2.48 cm
ส่วนเอทานอล เมทานอล และน้ากลั่นไม่มีการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้งเป็น 0 cm
จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า
ตัวทาละลายเอทานอลทาให้สารสกัดหยาบยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
ได้ดีกว่าตัวทาละลายเมทานอลและเมื่อความเข้มข้นสารสกัดหยาบลดลงประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบค
ทีเรียก็ลดลงตามลาดับ
บรรณำนุกรม
Ajima Karphrom, and etc. 2009. Anti-microbial activities of betel nut (Areaca catechu Linn.) seed
Extracts. Lnternational Conference on theRole of Universities in Hands-On Education:
Rajamangala University of Technology Lanna
Anchana Chanwitheesuk, Aphiwat Teerawutgulrag. 2005.Antimicrobial gallic acid from
Caesalpinia mimosoides Lamk.changmai: Department of Chemistry, Faculty of Science,
Chiang Mai University,Chiang Mai
ณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ และคณะ. 2554.กำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพสำรสกัดหยำบจำกใบของ
ผักช้ำเลือดในกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichai
Coli เลย : โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย
นรภัทร บรรจง.ม.ป.ป. กำรศึกษำประสิทธิภำพของกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่
ก่อให้เกิดโรคในอำหำรด้วยส่วนต่ำงๆของดอกแค
เสาวนีย์ คุณลักษณ์. ม.ป.ป. กำรสกัดและกำรแยกกรดแอลฟำไฮดรอกซีจำกผักปู่ย่ำ มะขำมป้ อม
และส้มป่อย. เชียงใหม่:คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อมรรัตน์ สีสุกองและกัลยาภรณ์ จันตรี.ม.ป.ป. กำรสกัดสำรออกฤทธิ์ทำงชีวภำพจำกวัชพืชท้องถิ่นใน
จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาชีวะวิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
ภำคผนวก
รูปกำรทดลอง
รูปที่ 1 แสดงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาการยับยั้งการเจริญเติบโตของ E.coli
ด้วยสารสกัดจากใบของผักกาดย่า
รูปที่ 2 แสดงการเพาะเชื้อแบคทีเรีย E.coli ในจานเพาะเชื้อ
รูปที่ 3 แสดงการศึกษาการยับยั้งการเจริญเติบโตของ E.coli ด้วยสารสกัดจากใบของผักกาดย่า
รูปที่ 4 แสดงการวาง paper disc บนจานเพาะเชื้อ
รูปที่ 5 แสดงการวัดโซนใส (Clear Zone)
รูปที่ 5 แสดงการนาจานเพาะเชื้อไปบ่มในตู้อบ
my research

More Related Content

What's hot

1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ความเหนียว
ความเหนียวความเหนียว
ความเหนียว
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 

Similar to my research

ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 

Similar to my research (20)

Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 

More from Methawi Lyckhagen (18)

Högtider och traditioner i Sverige (Mrs.Lyckhagen)
Högtider och traditioner i Sverige (Mrs.Lyckhagen)Högtider och traditioner i Sverige (Mrs.Lyckhagen)
Högtider och traditioner i Sverige (Mrs.Lyckhagen)
 
Japan (Methawi Lyckhagen)
Japan (Methawi Lyckhagen)Japan (Methawi Lyckhagen)
Japan (Methawi Lyckhagen)
 
Vegetariska (Mrs.Lyckhagen)
 Vegetariska (Mrs.Lyckhagen) Vegetariska (Mrs.Lyckhagen)
Vegetariska (Mrs.Lyckhagen)
 
Suzhou food(苏州菜)
Suzhou food(苏州菜)Suzhou food(苏州菜)
Suzhou food(苏州菜)
 
元旦快乐ppt (Happy New Year)
元旦快乐ppt (Happy New Year)元旦快乐ppt (Happy New Year)
元旦快乐ppt (Happy New Year)
 
清明节ppt (Tomb Sweeping Festival)
清明节ppt (Tomb Sweeping Festival)清明节ppt (Tomb Sweeping Festival)
清明节ppt (Tomb Sweeping Festival)
 
Final present GAY
Final present GAYFinal present GAY
Final present GAY
 
Chiangkhan
ChiangkhanChiangkhan
Chiangkhan
 
tell a story
 tell a story tell a story
tell a story
 
Presentation sweden
Presentation swedenPresentation sweden
Presentation sweden
 
Presentation of number
Presentation of numberPresentation of number
Presentation of number
 
潘梦琪 Presentation 1
潘梦琪 Presentation 1潘梦琪 Presentation 1
潘梦琪 Presentation 1
 
九乡 Present
九乡 Present九乡 Present
九乡 Present
 
佛教和泰
佛教和泰佛教和泰
佛教和泰
 
Thai chinese relation
Thai chinese relationThai chinese relation
Thai chinese relation
 
Development of chinese society
Development of chinese societyDevelopment of chinese society
Development of chinese society
 
Chinese religions.
Chinese religions.Chinese religions.
Chinese religions.
 
Italy
ItalyItaly
Italy
 

my research

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มำและควำมสำคัญ จากการศึกษางานวิจัย เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบ ของผักช้าเลือด ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichai coli ของนายณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ พบว่า ส่วนต่างๆของผักช้าเลือด อาทิ เช่น ใบ ยอด และดอก มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcusaureus และ Escherichia coli โดยส่วนใบของผักช้าเลือดมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียได้มากที่สุด ซึ่ง ผักช้าเลือดใ น ภ าคอีสาน ห รือใน ท้อง ถิ่น อาเภ อเลิงน กทา มีชื่อเรียกว่า ผักกาดย่า ซึ่งผักกาดย่ามีจานวนมาก หาได้ง่ายและชาวบ้านนิยมนามารับประทานเป็นเครื่องเคียงกับลาบก้อย แ ก ง ห น่ อ ไ ม้ ซุ ป ห น่ อ ไ ม้ ฯ ล ฯ เป็ นการเพิ่มรสชาติอาหารให้กับการรับประทานเป็นได้อย่างดีและยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพ อีกด้วย ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า โ ด ย ใ ช้ ตั ว ท า ล ะ ล า ย เ อ ท า น อ ล แ ล ะ เ ม ท า น อ ล และได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้นต่างกัน ได้แก่500mg/ml300mg/ml และ 100mg/ml ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน 1.2.1 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า โดยใช้ตัวทาละลายเอทานอลและเมทานอล 1.2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้นต่างกัน ได้แก่ 500 mg/ml, 300 mg/ml และ 100mg/ml ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli
  • 2. 1.3 สมมติฐำนในกำรศึกษำ 1.3.1 เมื่อใช้ตัวทาละลายแตกต่างกัน ก็จะได้สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีประสิทธิภาพการยับยั้ง เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ต่างกัน 1.3.2 เมื่อสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีความเข้มข้นต่างกัน ก็จะมีผลต่อประสิทธิภาพการยับยั้ง เชื้อแบคทีเรีย 1.4 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น ตัวทาละลายที่แตกต่างกัน ได้แก่เอทานอลและเมทานอล , ความเข้นข้นของสารสกัดหยาบ 500mg/ml, 300 mg/ml และ 100mg/ml ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ตัวแปรควบคุม สารสกัดหยาบที่ได้จากใบของผักกาดย่า ปริมาณเชื้อ ระยะเวลาในการบ่มเชื้อ อุณหภูมิในการบ่มเชื้อ และความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ 1.5 ขอบเขตในกำรศึกษำ ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบของใบผักกาดย่า จากตัวทาละลาย 2 ชนิดได้แก่ เอทานอล เมทานอล และศึกษาเมื่อนาสารสกัดหยาบในความเข้มข้น 500 mg/ml, 300 mg/ml และ 100mg/ml จะส่งผลต่อประสิทธิภาพสารสกัดหยาบในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ 1.6.1 สามารถนาผักพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 1.6.2 สามารถนาสารสกัดจากใบผักกาดย่ามาใช้ในการผลิตยารักษาโรคได้ 1.6.3 ทาให้ทราบว่าตัวทาละลายชนิดใดและความเข้มข้นเท่าใด ที่ทาให้สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่ามีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ได้ดีที่สุด
  • 3. 1.7 ระยะเวลำในกำรทำโครงงำน โครงงานนี้มีระยะเวลา 3 เดือน เริ่มตั้งแต่มิถุนายน - สิงหาคม พ.ศ. 2555 1.8 สถำนที่ทำโครงงำน ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา และห้องปฏิบัติการเคมี โรงเรียนเลิงนกทา 1.9 นิยำมคำศัพท์เฉพำะ โซนใส (Clear Zone หรือ Inhibition Zone) คือ บริเวณที่เกิดการยับยั้งเชื้อ วิธีการวัดโซนใส จะวัดจากเส้นผ่านศูนย์กลางของการที่สารสกัดหรือยาปฏิชีวนะคร่อมแผ่นยา
  • 4. บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาและการเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองครั้งนี้ได้ทาการศึกษางานวิจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกั บการทาโครงงาน โดยคณะผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง และงานวิจัยที่มีการศึกษามาแล้ว ดังที่จะเสนอต่อไปนี้ 2.1 ผักกาดย่า 2.2 เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 ผักช้ำเลือด “ผักช้าเลือด” มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่น ได้แก่ทางภาคเหนือเรียก ผักปู่ย่า หนามปู่ย่า ทะเน้าซอง ภาคกลางเรียก ช้าเลือด ปราจีนบุรี และอุดรธานี อีสานเรียก ผักกาดย่า ที่นครพนมเรียกว่า ผักขะยา ที่เลยเรียก ผักคายา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า แคสซาลพิเนีย มิโมซอยเดส (Caesalpinia mimosoides Lamk.) จัดอยู่ในวงศ์ เล็คกูมิโนซี (LEGUMINOSAE)
  • 5. ลักษณะทำงพฤษศำสตร์ของผักช้ำเลือด “ผักช้าเลือด ”จัดเป็นไม้เถา ลาต้น ตั้งตรง หรือเลื้อยพันต้นไม้อื่น มีความสูงต้นมากกว่า 1 เมตร ลาต้นมีหนามแหลมมากมายทั้งลาต้น และก้านใบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ก้าน ใบยาว 25-40 ซม. ยอดอ่อน มีสีน้ าตาลแดง ใบย่อยมี 10-30 คู่ และแตกออกไปอีก 10-20 คู่ ใบมีลักษณะกลมมน ขนาดกว้าง 4 มม. ใบสามารถหุบเข้าหากันได้เมื่อถูกสัมผัส ก้านใบสีแดง มีหนามแหลมตามกิ่งก้านทั่วไป ดอกเป็นดอกช่อยาว 20-40ซม.ลักษณะเป็นพุ่ม ดอกสีเขียวอมชมพูน้าตาล แต่ถ้าดอกมีสีเหลืองจะมีรสเปรี้ยวใช้ทายาผักปู่ย่าจะบานดอกในช่วงฤดูหนาวขนาดของดอกยาว 1.2-2ซม. กว้าง 1-1.8ซม. ลักษณะเป็นแผ่นแบนและปลายเรียวแหลมผลเป็นฝักขนาดเท่าหัวแม่มือภายในมีเมล็ด 2 เม ล็ ด ใ บ แ ล ะ ช่อ ด อ ก มี ก ลิ่ น ฉุ น รุ น แ ร ง ค ล้ า ย ก ลิ่ น แ ม ง ก ะ แ ท้ ห รื อ แ ม ง ด า ชาวบ้านว่าผักปู่ย่ามีกลิ่นหอมนวลน่ากิน ผักช้าเลือด พบขึ้นในแหล่งธรรมชาติบริเวณ ป่าละเมาะ ป่ าเต็ง รัง ป่ าผส ม ผลัดใ บ แ ละ บ ริ เวณ ช ายป่ าที่ รก ร้าง ช อ บ ขึ้ น รวมกับต้น ไม้อื่น ๆ ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด ผล มีลักษณะเป็นฝัก บวมพอง มีหนามเล็กๆ ขนาดเท่าหัวแม่มือ ภายในฝักจะมีเมล็ด 2เมล็ด คุณประโยชน์ทำงด้ำนอำหำร ส่วนที่เป็นผัก ได้แก่ยอดอ่อน ใบอ่อนและดอกของผักกาดย่า ใช้รับประทานเป็นผักได้ เช่น ยอดรับประทานสดกับซุปหน่อไม้ ยอดอ่อนและใบอ่อนผลิออกในช่วงฤดูหนาว (เดือนตุลาคม- เดือนกุมภาพันธุ์) ชาวเหนือรับประทาน ยอดอ่อน ใบอ่อนของผักปู่ย่า ส่วนดอกและยอดอ่อนนาไปปรุงเป็น "ส้าผัก" ได้โดยปรุงร่วมกับมะเขือแจ้ ยอดมะม่วงและเครื่องปรุงรสหลายชนิด ประโยชน์ในกำรเป็นพืชสมุนไพร ยอดอ่อนและดอก มีรสเปรี้ยว ฝาดเผ็ดร่วมกัน จึงมีสรรพคุณ บารุงเลือด แก้วิงเวียน และจากรายงานผลการวิจัยที่ค้นพบ พบว่า ในผักพื้นบ้านประเภทนี้ มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง จึงมีสรรพคุณในการลด หรือยับยั้งการสร้างเซลล์มะเร็งได้ดี
  • 6. 2.2 เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli เป็นแบคทีเรียแกรมลบรูปร่างเป็นท่อน (Gram negative rod) อยู่ในกลุ่มเอ็นเทอโรแบคทีเรียซี (Family Enterobacteriaceae) ปกติอาศัยอยู่ในลาไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น พบเป็นจานวนมากในอุจจาระ แต่ไม่พบในปัสสาวะ รูปที่ 1: เซลล์อีโคไลภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ในภาวะร่างกายปกติ เชื้ออีโคไลไม่ทาให้เกิดโรค แต่จะก่อให้เกิดโรคได้ในกรณีภูมิคุ้มกัน บกพร่อง หรือในสภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เรียกว่า เชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic pathogen) ซึ่งเป็นตัวการสาคัญ ที่ก่อให้เกิดปัญหาการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Secondary infection) นอกเหนือจากกลุ่มที่กล่าวมา ข้างต้น กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่สาคัญคือ ผู้ที่ต้องทางานเกี่ยวข้องกับเชื้อโรค ทาให้เกิดการติดเชื้อ จากการทางาน (Occupationalinfection) ได้แก่บุคลากรทางการแพทย์ที่สัมผัสกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ และผู้ที่ ทางานในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ซึ่งต้องสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ที่ติดเชื้อ เป็นต้น เชื้ออีโคไลทาให้เกิดการตัดเชื้อโดยเกาะกับผนังเซลล์ของอวัยวะส่วนต่างๆ เช่น ไต กระเพาะ ปัสสาวะ และจะสร้างสารช่วยในการยึดเกาะให้เชื้ออยู่ในบริเวณนั้นได้ และจะสร้างสารต่างๆ ออกมา เพื่อทาลายเซลล์ ก่อใ ห้เกิดโรคติดเชื้อขึ้ น เชื้ออีโคไลทาให้ เกิดกลุ่มอาการที่สาคัญ คือ การติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบในทารก และท้องร่วง การติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ (Urinary TractInfection:UTI) เกิดจากเชื้ออีโคไลที่อาศัยอยู่ในลาไส้ และอุจจาระ โดยเชื้อสามารถเคลื่อนที่ไปยังบริเวณทางเดินปัสสาวะขึ้นไปยังกระเพาะปัสสาวะ หรือไตได้
  • 7. จากนั้นจะมีการแบ่งตัวของเชื้ออย่างรวดเร็วที่อวัยวะดังกล่าว ทาให้เกิดภาวะพบแบคทีเรียใน ปัสสาวะ (Bacteriuria) โดยสายพัน ธุ์ของเชื้ออีโคไลที่ทาให้เกิดการติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะ จะสร้าง สารเอ๊กซ์แอดอีซิน ส์ (Xadhesins) ช่วยใน การยึดเกาะให้เชื้ออยู่บริเวณทางเดิน ปั สสาวะ ได้ และเชื้อจะสร้างสารฮีโมไลซิน (hemolysin) เพื่อทาลายเซลล์ ทาให้เซลล์เม็ดเลือดและเซลล์ต่างๆ แตก โดยผู้ที่ติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะ จะมีอาการปวดแสบบริเวณถ่ายปัสสาวะ มีอาการปวดท้อง เสี ย ด ท้ อ ง ข ณ ะ ปั ส ส าว ะ ปั ส ส า ว ะ บ่ อ ย แ ล ะ รู้ สึ ก เห มื อ น ปั ส ส า ว ะ ไ ม่สุ ด การรักษาการติดเชื้อที่ทางเดิน ปัสสาวะโดยการให้ยาปฏิชีวนะที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ เช่น กลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolone) อย่างน้อย 7 วัน ร่วมกับการพยายามปรับสภาพปัสสาวะให้ เป็นกรด โดยการดื่มน้าผลไม้ที่มีกรดมากๆ หรือทานน้าเปล่ามากๆ เพื่อช่วยในการกาจัดเชื้อ ท้องร่วง มักเกิดกับทารก ผู้ที่เดินทางไปต่างถิ่น หรือผู้ที่รับประทานอาหารหรือน้าที่มีการ ปน เปื้ อน ของเชื้ออีโคไล ห รือผู้ที่มีภูมิคุ้มกัน บกพ ร่อง โดยเชื้อจะเกาะ ติดกับผนังลาไส้ จากนั้นจะสร้างสารพิษที่ ทาให้เกิดอาการท้องร่วงได้เชื้ออีโคไลบางสายพันธุ์สามารถผลิตสารพิษ (Toxin) ที่เป็ นสาเหตุของการเกิดโรค ที่มีความรุน แรงมาก ๒ ชนิ ด คือ ชิก้าท๊อกซิน (Shiga toxin) และเอ็นเทอร์โรท๊อกซิน (Enterotoxin) สารพิษ ชิก้าท๊อกซิน สามารถทาให้เกิดท้องร่วงอย่างรุนแรง ในการเกิดโรคเชื้อจะเข้าสู่เซลล์และทาลายเซลล์ ทาให้เกิด โรคท้องร่วงที่มีเลือดออกและมีไข้ร่วมด้วย ส่วนสารพิษเอ็น เทอร์โรท๊อกซิน ทาให้เกิดการท้องร่วง เป็ นน้ าซาว ข้าวคล้ายอหิ วาห์ โดยการกระตุ้นให้เกิดการห ลั่งน้ าเข้าสู่ช่องท้อง ปกติแล้วการรักษาอาการท้องร่วงจากเชื้ออี โคไลมักไม่นิยมใช้ยา แต่จะให้ผงน้าตาลเกลือแร่เพื่อทดแทนการสูญเสียน้าของร่างกาย อย่างไรก็ตาม ใ น ผู้ป่ วย ที่ มีอาการท้อง ร่วง จากเชื้ ออี โคไล สายพัน ธุ์ ที่ ก่อ ใ ห้ เกิด อาการที่ รุ น แร ง ควรพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะที่สามารถ ยับยั้งเชื้อได้ เช่น กลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolone) อย่างน้อย 3วัน ร่วมกับการให้ผงน้าตาลเกลือ แร่เพื่อทดแทนการสูญเสียน้าของร่างกาย การป้ องกันการติดเชื้ออีโคไลทาได้ไม่อยากโดยอาศัยหลัก “ถูกสุขลักษณะ”ได้แก่ล้างมือให้ สะอาดหลังเข้าห้องน้า ก่อนและหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง กินอาหารที่ทาให้สุกแล้ว และควรกินอาหาร ทันที หากยังไม่รับประทานทันที ควรเก็บไว้ในตู้เย็น ควรล้างผักผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน เป็นต้น 2.3 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัย เรื่องศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบของผักช้าเลือดในการยับยั้ง การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichai coli ของนายณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ และคณะ พบว่า ส่วนต่างๆ ของผักช้าเลือด อาทิ เช่น ใบ ยอด และดอก มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ส่วนใบของผักช้าเลือดมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียมากที่สุด
  • 8. ง า น วิ จั ย เ รื่ อ ง การศึกษาประสิทธิภาพของการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอาหาร Escherichiacoli ด้วยส่วนต่างๆของดอกแค ของนายนรภัทร บรรจงและคณะโดยใช้ตัวทาละลาย 2 ชนิ ดชนิ ดมีขั้ว ได้แก่เอทาน อล และเมทานอล กับชนิดไม่มีขั้ว ได้แก่แอซีโตน, คลอโรฟอร์ม และเฮกเซน พบว่าสารสกัดจากส่วนต่างๆ ของดอกแคสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ที่ ก่อ ใ ห้ เกิ ด โ ร ค ใ น อ า ห าร ไ ด้ แ ต่ก็ มี แ น ว โ น้ ม ที่ ไ ด้ จ า ก ก าร ด า เนิ น ง าน ว่า สารสกัดจากเกสรน่าจะยับยั้งการเจริญเติบโตได้และยับยั้งได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดจากส่วนอื่น ๆของ ดอกแค และ เมื่อพิ จารณ า clear zone ที่เกิดขึ้ น พ บว่า การยับ ยั้งการเจริ ญ เติบ โต ของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอาหารเกิดจากสารที่สกัดโดยใ ช้ตัวทาละลายชนิ ดมีขั้ว ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่าสารที่อยู่ในดอกแคซึ่งสามารยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคในอ าหารเป็นสารที่มีขั้ว และอยู่ที่เกสรดอกแคมากที่สุด ผักกาดย่ามีชื่อที่แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น ผักปู่ย่า หนามปู่ย่า (เหนือ) ผักขะยา(นครพนม) ผักคายา (เลย) ชื่อวิทยาศาสตร์ Caesalpinia mimosoides Lamk. วงศ์ LEGUMINOSAE ลักษณะใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ก้านใบยาว 25-30 เซนติเมตร ใบมี10-30 คู่และ แตก ออ กไป อี ก 10 -20 เซ น ติเมตร ก้าน ใ บ สี แด ง มีห น ามแ ห ล มต าม กิ่ง ก้าน ทั่วไ ป ใบลักษณะกลมมนขนาดกว้างประมาณ 4มม.ใบสามารถหุบเข้าหากันได้เมื่อสัมผัส ประโยชน์ทางอาหาร ยอดใ ช้ รับ ประ ทาน สด กับซุปห น่อไม้และ ยังช่วยบ ารุ งเลือด แ ก้วิง เวียน (ที่มา www.ethnobotany.maelanoi.net) Escherichiacoli เป็ นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม เป็นตัวชี้การปนเปื้ อนของอุจจาระในน้ า มีอยู่ตามธรรมชาติในลาไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ แบคทีเรียชนิดนี้ทาให้เกิดอาการท้องเสียบ่อยที่สุด ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ทาให้ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็ นน้ า แต่อาการมักไม่รุนแรง เพราะทั้งเด็ก และผู้ใหญ่มักมี ภูมิต้านทานอยู่บ้างแล้ว เนื่องจาก ได้รับเชื้อนี้เข้าไปทีละน้อยอยู่เรื่อยๆ เชื้ อ นี้ มัก ป น เปื้ อ น ม ากับ อ า ห าร น้ า ห รื อ มื อ ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ อ าห า ร มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย ลาว กัมพูชา อินโดนิเซีย เป็นต้น Staphylococcus aureus เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจาถิ่นในผิวหนังและโพรงจมูก เป็นแบคทีเรียก่อโรคชนิดหนึ่ง เมื่อ S. aureus ปนเปื้อนลงไปในอาหาร จะสร้างสารพิษที่เรียกว่า เอนเทอโรทอกซินขึ้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 8ชนิด ได้แก่ชนิดA, B,C1, C2,C3,D, Eและ H สารพิษนี้ทนต่อความร้อนได้ดีมาก ทาให้ผู้บริโภคเกิดอาหารเป็นพิษ หลังจากรับประทานอาหารที่มีแบคทีเรียปนเปื้อนเข้าไปประมาณ 1-6ชั่วโมง
  • 9. อาการของโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจาก S. aureus คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้องจากสารพิษ อาการมักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วนมากไม่มีไข้ ในรายรุนแรงอาจช็อคได้ ( ที่มา th.wikipedia.org ) บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรทดลอง 3.1 วัสดุอุปกรณ์และสำรเคมี 3.1.1 วัสดุอุปกรณ์ 1. จานเพาะเชื้อ 2. ไมโครปิเปต 3. Paper dish 4. กรวยกรอง 5. แท่งแก้วคนสาร 6. บีกเกอร์ 7. กรรไกร 8. ตู้เย็น 9. ตู้อบ (hot – air oven) 10. เครื่องปั่น 11. เครื่องชั่งสาร 12. ตู้บ่มเชื้อ (Inclubator) 13. ตุ๊ดตู่ 3.1.2 สำรเคมี 1. เอทานอล 2. เมทานอล 3. สารสกัดหยาบจากผักกาดย่า 4. น้ากลั่น 5. ยา Penicillin V Potassium
  • 10. 6. เชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli 3.2 วิธีดำเนินกำรทดลอง ตอนที่1 กำรเตรียมสำรสกัดจำกใบของผักกำดย่ำ 1. นาใบของผักกาดย่ามาล้างทาความสะอาด แล้วนามาหั่นให้เป็นชิ้นเล็กๆ 2. นาใบของผักกาดย่ามาอบแห้ง โดยตู้อบที่อุณหภูมิ 80 ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนาใบ ของผักกาดย่าที่อบแห้งแล้วไปปั่นให้ละเอียด 3. นาผงแห้งของผัดกาดย่าส่วนที่เป็นใบ 25 กรัม ไปสกัดด้วยตัวทาละลาย คือ เอทานอล และเมทานอล ปริมาณ 250 ml เป็นเวลา 72ชั่วโมง แล้วนาสารที่ได้ไปกรองเพื่อแยกสารออกจากสารละลาย 4. นาสารละลายมาระเหยตัวทาละลายออกด้วยการต้ม 5. นามาคิดหาเปอร์เซ็นต์ Yield มีสูตร คือ Y = ปริมาณสารตั้งต้นที่สกัดได้ ปริมาณสารตั้งต้น × 100 ตอนที่2 กำรศึกษำกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ E.coli ด้วยสำรสกัดจำกใบของผักกำดย่ำ 1. นาเชื้อE.coli มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิด เพื่อเลี้ยงเชื้อให้อยู่ในสภาวะที่พร้อมสาหรับการทดลอง แล้วนาไปบ่มในตู้บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
  • 11. 2. นาเชื้อE.coli ที่อยู่ในสภาวะที่พร้อมในการทดลองมาทาการเกลี่ยลงบน จานเพาะเชื้อ ให้ทั่วทุกจาน 3. นาสารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าจากตัวทาละลายเอทานอล เมทานอล และยา Penicillin V Potassium มาเตรียมความเข้มข้น ได้แก่ 500 mg/ml 300 mg/ml และ100 mg/ml มีสารควบคุม คือ น้ากลั่น เอทานอลและเมทานอล 4. นาแผ่น Paper dish ไปจุ่มกับสารสกัดหยาบ น้ากลั่น เอทานอลหรือเมทานอล และยา Penicillin VPotassium ให้นามาวางลงบนจานเพาะเชื้อที่เกลี่ยเชื้อไว้แล้ว โดยแบ่งจานเพาะเชื้อเป็น 4 ส่วน ดังนี้ โดย C1 = ยา Penicillin VPotassium มีความเข้มข้น 500 mg/ml, 300mg/ml และ 100 mg/ml C2 = ตัวทาละลายเมทานอลหรือเอทานอล ตามชุดการทดลอง T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า มีความเข้มข้น 500 mg/ml, 300mg/ml และ 100 mg/ml CN = น้ากลั่น ห มำย เห ตุ : ใ น การทดลองจะมีตัวทาละลายอยู่ 2 ช นิ ด ได้แก่ เอทาน อลและเมทาน อล แต่ละตัวทาละลายแบ่งเป็น 3ชุดการทดลอง คือ ชุดที่ 1สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่า และยา Penicillin V Potassium มีความเข้มข้น 500 mg/ml ชุดที่ 2 ความเข้มข้น 300 mg/ml และชุดที่3 ความเข้มข้น 100 mg/ml ตามลาดับ 5. นาจานเพาะเชื้อดังกล่าวไปบ่มในตู้บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37 ºC เป็นเวลา 24ชั่วโมง
  • 12. 6. เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นาจานเพาะเชื้อแต่ละจานมาวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งของสารแต่ละชุดการทดลองต่อเชื้อ E.coli แล้วบันทึกการทดลอง 7. ทาการทดลองเหมือนข้อ 3, 4, 5 แต่เปลี่ยนจากสารสกัดหยาบเมทานอลเป็นเอทานอล บทที่ 4 ผลกำรทดลอง 4.1 กำรศึกษำสำรสกัดหยำบจำกใบของผักกำดย่ำ จากการสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าด้วยเอทานอลและเมทานอล พบว่าสารสกัดหยาบที่ได้มา มีลักษณะเป็นสารเหนียวสีแดงปนน้าตาล และมีความหนืด โดยสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่า มีเปอร์เซ็น ต์การสกัดโดยเอทาน อลเท่ากับ 2.89 % ดังแสดงใน ภาพ ที่ 4.1(ทางด้าน ซ้าย) และสารสกัดห ยาบจากใบของผักกาดย่ามีเปอร์เซ็น ต์การสกัดโดยเมทาน อลเท่ากับ 2.99 % ดังแสดงในภาพที่ 4.1 (ทางด้านขวา)
  • 13. รูปที่ 4.1 แสดงลักษณะของสำรสกัดหยำบ (ภาพทางซ้าย) สารสกัดหยาบโดยเอทานอล (ภาพทางขวา) สารสกัดหยาบโดยเมทานอล 4.2 กำรศึกษำประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรียEscherichia coli ของสำรสกัดหยำบจำกใบ ของผักช้ำเลือด ตำรำงที่4.1 ตำรำงแสดงประสิทธิภำพกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ที่เวลำ 24 ชั่วโมง สำรที่นำมำยับยั้งเชื้ อแบคทีเรีย E.coli ควำมเข้มข้น (mg/ml) เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณกำรยับยั้ง (cm) ครั้งที่1 ครั้งที่2 ครั้งที่3 ครั้งที่4 ครั้งที่5 C1 500 3.8 3.2 3.3 3.4 3.9 300 2.65 2.8 2.7 2.9 3.2 100 2.6 2.5 2.6 2.1 2.6 C2 500 0 0 0 0 0 300 0 0 0 0 0 100 0 0 0 0 0 C3 500 0 0 0 0 0 300 0 0 0 0 0
  • 14. 100 0 0 0 0 0 T1 500 2.6 2.6 2.8 2.7 2.6 300 2.5 2.4 2.3 2.4 2.5 100 2.3 2.3 2.2 2.1 2.2 T2 500 2 2.5 2.3 2.8 2.7 300 1.8 2.5 2 2.3 2.2 100 1.8 1.8 1.9 1.9 1.9 CN 500 0 0 0 0 0 300 0 0 0 0 0 100 0 0 0 0 0 หมำยเหตุ : C1 = ยา Penicillin V Potassium C2 = เอทานอล C3 = เมทานอล CN = น้ากลั่น T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล ตำรำงที่4.2 แสดงค่ำสถิติพื้นฐำนประสิทธิภำพกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย E.coli สำรที่นำมำยับยั้ง เชื้อแบคทีเรีย E.coli N ควำมเข้มข้น (mg/ml) Mean S.D T1 5 500 2.66 0.08944 300 2.42 0.08306 100 2.22 0.08366 T2 5 500 2.46 0.32093 300 2.16 0.27018 100 1.86 0.05477 C1 5 500 3.52 0.31144 300 2.85 0.24191 100 2.48 0.21679
  • 15. C2 5 - 0 0 C3 5 - 0 0 CN 5 - 0 0 (ก) 500mg/ml (ข ) 300mg/ml (ค) 100mg/ml
  • 16. จำกรูปที่ 4.2 บริเวณการยับยั้ง(Clear Zone) การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ของสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าโดยเอทานอล (ก) 500mg/ml (ข) 300mg/ml (ค) 100mg/ml (ก) 500mg/ml (ข ) 300mg/ml (ค) 100mg/ml
  • 17. จำกรูปที่ 4.2 บริเวณการยับยั้ง(Clear Zone) การเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ของสารสกัดหยาบจากใบของผักกาดย่าโดยเมทานอล (ก) 500mg/ml (ข) 300mg/ml (ค) 100mg/ml รูปที่ 4.2 แสดงประสิทธิภำพกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E.coli ที่เวลำ24 ชั่วโมง
  • 18. หมำยเหตุ : C1 = ยาPenicillin V Potassium C2 = เอทานอล C3 = เมทานอล T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล CN = น้ากลั่น รูปที่ 4.3 ประสิทธิในกำรยับยั้งเชื้อ E.coli ในยำ Penicillin V สำรสกัดหยำบจำกตัวทำละลำย 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 C1 T1 T2 C2 C3 CN ประสิธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียE.coli สารยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย 500mg/ml 300mg/ml 100mg/ml
  • 19. เอทำนอล และเมทำนอล หมำยเหตุ : C1 = ยาPenicillin V Potassium T1 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเอทานอล T2 = สารสกัดหยาบจากใบผักกาดย่าในตัวทาละลายเมทานอล 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 500mg/ml 300mg/ml 100mg/ml ควำมเข้มข้นของสำรที่นำมำยับยั้ง ประสิทธิในกำรยับยั้งเชื้อ E.coli ในยำPenicillin V เอทำนอล และเมทำนอล C1 T1 T2
  • 20. บทที่ 5 สรุปและอภิปรำยผล สรุปผลกำรทดลอง จากการทดลองพบว่า สารสกัดหยาบจากตัวทาละลายเอทานอล เมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 2.66 cm ความเข้มข้น 300 mg/mlเท่ากับ 2.42 cm ความเข้มข้น 100 mg/ml เท่ากับ 2.22 cm ตามลาดับ ส่วนสารสกัดหยาบจากตัวทาละลายเมทานอล เมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 2.46 cm ความเข้มข้น 300 mg/ml เท่ากับ 2.16 cm ความเข้มข้น 100mg/ml เท่ากับ 1.86 ตามลาดับ ส่วนยา Penicillin V Potassiumเมื่อความเข้มข้น 500 mg/ml มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 3.52 cm ความเข้มข้น 300 mg/ml เท่ากับ 2.85 cm และความเข้มข้น 100 mg/ml เท่ากับ 2.48 cm ส่วนเอทานอล เมทานอล และน้ากลั่นไม่มีการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณยับยั้งเป็น 0 cm จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า ตัวทาละลายเอทานอลทาให้สารสกัดหยาบยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ได้ดีกว่าตัวทาละลายเมทานอลและเมื่อความเข้มข้นสารสกัดหยาบลดลงประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบค ทีเรียก็ลดลงตามลาดับ
  • 21. บรรณำนุกรม Ajima Karphrom, and etc. 2009. Anti-microbial activities of betel nut (Areaca catechu Linn.) seed Extracts. Lnternational Conference on theRole of Universities in Hands-On Education: Rajamangala University of Technology Lanna Anchana Chanwitheesuk, Aphiwat Teerawutgulrag. 2005.Antimicrobial gallic acid from Caesalpinia mimosoides Lamk.changmai: Department of Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University,Chiang Mai ณัฐวัตน์ ธนัชพงศ์จิระ และคณะ. 2554.กำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพสำรสกัดหยำบจำกใบของ ผักช้ำเลือดในกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichai Coli เลย : โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย นรภัทร บรรจง.ม.ป.ป. กำรศึกษำประสิทธิภำพของกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ ก่อให้เกิดโรคในอำหำรด้วยส่วนต่ำงๆของดอกแค เสาวนีย์ คุณลักษณ์. ม.ป.ป. กำรสกัดและกำรแยกกรดแอลฟำไฮดรอกซีจำกผักปู่ย่ำ มะขำมป้ อม และส้มป่อย. เชียงใหม่:คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อมรรัตน์ สีสุกองและกัลยาภรณ์ จันตรี.ม.ป.ป. กำรสกัดสำรออกฤทธิ์ทำงชีวภำพจำกวัชพืชท้องถิ่นใน จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาชีวะวิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
  • 23. รูปที่ 2 แสดงการเพาะเชื้อแบคทีเรีย E.coli ในจานเพาะเชื้อ รูปที่ 3 แสดงการศึกษาการยับยั้งการเจริญเติบโตของ E.coli ด้วยสารสกัดจากใบของผักกาดย่า รูปที่ 4 แสดงการวาง paper disc บนจานเพาะเชื้อ
  • 24. รูปที่ 5 แสดงการวัดโซนใส (Clear Zone) รูปที่ 5 แสดงการนาจานเพาะเชื้อไปบ่มในตู้อบ