SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 2
ของไหลสถิต
(Fluid Static)
ของไหลสถิต (Fluid Statics) คือ ของไหลที่สภาวะอยู่นิ่ง
ไม่มีการไหลและไม่มีการเคลื่อนที่ระหว่างชั้นของของไหล
จึงไม่ส่งผลต่อแรงเค้นเฉือนระหว่างอนุภาคของของไหล
ดังนั้นอนุภาคของของไหลจึงได้รับผลกระทบจากความดัน
และแรงโน้มถ่วงของโลกที่มากระทาเท่านั้น
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1. ความดัน (Pressure)
ความดัน หมายถึง แรงที่กระทาในหนึ่งหน่วยพื้นที่ (มิติคือ FL-2 หรือ ML-1T-2)
หน่วยในระบบ SI Unit คือ นิวตัน/ตารางเมตร (N/m2)
แต่ถ้าความดันที่กระทามีค่าสม่าเสมอเท่ากันทั้งพื้นที่ A
ความดันจะมีค่าเป็น
P =
dF
dA 𝑃 =
𝐹
𝐴
ดังนั้นถ้า dF คือแรงที่กระทาบนพื้นที่เล็กๆ dA บนพื้นที่ A
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.1 ความดันที่จุดใดๆ ในของไหล (Pressure at a point in fluid)
หากพิจารณาก้อนของไหลรูปลิ่มสามเหลี่ยมขนาดเล็กมากในของไหลที่อยู่นิ่งไม่มีการเคลื่อนที่ และไม่มีการไหล
ดังนั้นแรงที่เกี่ยวข้องจึงมีเพียงแรงที่เกิดจากความดัน และแรงโน้มถ่วงเท่านั้น
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จากสมการสามารถสรุปได้ว่า “ในของไหลที่อยู่ในสภาพหยุดนิ่งไม่มีการไหล ที่จุดใดๆ ความดันของของไหลจะมี
ขนาดเท่ากันในทิศทาง” ซึ่งหลักการนี้เรียกว่า กฎของปาสคาล (Pascal’s law) ความดันนี้เรียกว่า “Static Pressure”
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.2 การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิต (Variation of pressure in static fluid)
พิจารณาก้อนอนุภาคของไหลทรงลูกบาศก์ที่มีขนาดเล็กมาก กาหนดให้ความดันที่จุดศูนย์ถ่วงมีค่าเท่ากับ P
และเนื่องจากไม่มีการไหล ดังนั้นแรงที่เกี่ยวข้องจึงมีเพียงแรงที่เกิดจากความดัน และแรงโน้มถ่วงเท่านั้น
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จะเห็นได้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันเมื่อเทียบกับระยะทางตามแกน X และ Y จะเท่ากับ 0 ซึ่งนั่นหมายความว่า
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความดันในแนวระดับ หรือสามารถกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “ในของไหลที่ระดับเดียวกันจะมีความดันเท่ากัน”
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จะเห็นได้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันเมื่อเทียบกับระยะทางตามแกน Z จะไม่เท่ากับ 0 ซึ่งนั่นหมายความว่า มี
การเปลี่ยนแปลงความดันในแนวดิ่ง หรือสามารถอีกนัยหนึ่งว่า “ในของไหลที่ระดับต่างกันความดันจะไม่เท่ากัน”
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จากสมการแสดงว่าในของไหลความดันจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อ ∆𝑧 เป็น ลบ หรือค่าระดับต่าลง ในทางตรงกันข้าม ความดันจะลดต่าลง
เมื่อ ∆𝑧 เป็นบวก หรือ ค่าระดับเพิ่มขึ้น
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.3 การวัดความดัน (Measurement of Pressure) o ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) คือ ความ
ดันที่เปรียบเทียบกับความดันศูนย์สัมบูรณ์
(Absolute zero pressure) หรือความดันที่
เปรียบเทียบกับที่สุญญากาศ ดังนั้นความดันสัมบูรณ์
จึงมีค่าเป็นบวกเสมอ
o ความดันเกจ หรือความดันมาตร (Gauge Pressure)
คือ ความดันที่เปรียบเทียบกับความดันบรรยากาศ ณ
จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปจะเปรียบเทียบกับความดัน
บรรยากาศที่ระดับน้าทะเลปานกลาง (mean sea
level : MSL) หรือกาหนดให้ความดันบรรยากาศที่
ระดับน้าทะเลปานกลาง มีค่าเท่ากับ 0
การวัดความดันของของไหล มีมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไปอยู่ 2 มาตรฐาน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.4 หน่วยของความดัน (Pressure Units)
เนื่องจากความดันคือแรงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นหน่วยของความดันจึงอยู่ในรูป หน่วยของแรง ต่อ หน่วย
ของพื้นที่ นอกจากนี้ความดันยังสามารถระบุได้ในอีกหลายลักษณะดังนี้
ปาสคาล (Pa) มีค่าเท่ากับ นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2)
เมตรของน้าหรือมิลลิเมตรปรอท
(m of water : mm.Hg)
บาร์ (bar) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 105 นิวตันต่อตารางเมตร (105 N/m2)
* ส่วนของ atm มาจากคาว่า หน่วยของความดันบรรยากาศมาตรฐาน (Standard atmospheric pressure)
คือ หน่วยที่มีช่วงกว้างเท่ากับค่าเฉลี่ยของความดันบรรยากาศที่ระดับน้าทะเลปานกลาง ดังนั้นที่ระดับน้าทะเลปาน
กลางจึงมีความดันเท่ากับ 1 atm (1.013 × 105 N/m2)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 1 จากรูป ถังทรงกระบอกใบหนึ่งบรรจุของเหลว 2 ชนิดอยู่ภายใน จงหา
o ความดันเกจที่ก้นถัง และความลึก 0.5 ม.
o ความดันสัมบูรณ์ที่ก้นถัง และที่ความลึก 0.5 ม.
กาหนดให้ความดันอากาศ Pa = 1 atm (1.013 × 105 N/m2)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.5 อุปกรณ์วัดความดัน (Pressure gauge)
1.5.1 บารอมิเตอร์ (Barometer)
บารอมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์วัดความดัน “บรรยากาศ” ซึ่งอาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลงความดันของของไหล มีหลักการโดย
บรรจุของไหลในหลอดปลายปิดด้านหนึ่งด้านและคว่าปลายด้านที่เปิดลงในของเหลว จากนั้นจะเกิดโพลงสูญญกาศขึ้นด้านบนของปลายด้าน
ปิด ซึ่งความดันต่ามากจนเกือบเป็นศูนย์ เรียกปรากฏการณ์ โพลงสุญญากาศไม่มีอะไรอยู่เลย จึงทาให้ค่าที่วัดได้นั้นคือ ความดันสัมบูรณ์
(absolute pressure)
จากรูป Pair = Pv + γปรอท h
แต่เนื่องจากปรอทมี Pv = 0.000023 Ib/in2 ซึ่งถือว่าน้อยมาก ดังนั้น
Pair = γปรอท h
บางครั้งอาจบอกค่าความดันอยู่ในรูปของความสูงของปรอท (มิลลิเมตร
ปรอท : mm.Hg) นั่นหมายความว่า จะต้องนาค่าความสูงที่ระบุไปคูณ
กับน้าหนักจาเพาะของปรอทจึงจะได้ค่าความดัน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.5.2 มาโนมิเตอร์ (Manometer)
มาโนมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์วัดความดัน ที่อาศัยหลักการของการความแตกต่างระหว่างความดันของของไหลใน
ภาชนะกับอากาศภายนอกภาชนะเช่นเดียวกับ barometer แต่จะแตกต่างกันตรงที่ความดันที่วัดได้จะเป็นความดันเกจ
(gauge pressure)
เนื่องจากมานอร์มิเตอร์ มีหลายแบบ ในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 แบบคือ
รูป บิโซมิเตอร์ มาโนมิเตอร์รูปตัว U และมาโนมิเตอร์แบบเอียง
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
o ปิโซมิเตอร์ (Piezometer)
เป็นอุปกรณ์ความดันที่มีหลักการง่ายที่สุด นาท่อที่มี
ปลายเปิดสู่อากาศไปติดตั้ง ณ จุดที่ต้องการวัดความดัน (ก)
ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ
PA = γh
ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ
PA = PAIR + γh
o มาโนมิเตอร์รูปตัว U (U-tube Manometer)
ด้วยหลักการของ Piezometer หากจุดที่ต้องการวัดความดันมีค่าความ
ดันที่สูง จะทาให้ค่าความสูง (h) ที่อ่านได้ที่ค่าสูงมาก ซึ่งนั่นหมายความว่า
หลอดวัดความดันที่ใช้จะต้องมีความยาวมากขึ้นตามไปด้วย ข้อจากัดดังกล่าว
สามารถแก้ไขได้โดย ดัดแปลงท่อวัดความดันให้เป็นรูปตัว U
ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ
PA = γ2h2 – γ1 h1
ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ
PA = PAIR + γ2h2 – γ1 h1
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
o มาโนมิเตอร์แบบเอียง (Incline Tube Manometer)
เป็น manometer ที่ดัดแปลงทาให้สามารถอ่านค่าความดัน
ได้ละเอียดมากขึ้น โดยการเอียงหลอดวัดความดัน ตัวอย่างดังรูป ค
ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = γ2 Lsinθ − γ1h1
ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = PAIR + γ2 Lsinθ − γ1h1
เป็นมาตรวัดความดันเกจ ที่มีส่วนประกอบสาคัญคือ ท่อโลหะกลวงหน้าตัดรูปวงรี ตัดโค้งเป็น
ส่วนหนึ่งของวงกลม ปลายด้านปิดปล่อยเป็นอิสระ และเชื่อมต่อกับกลไกบังคับเข็มที่หน้าปัด ส่วน
ปลายอีกด้านตรึงแน่น และเชื่อมต่อกับจุดที่ต้องการวัดความดัน เมื่อความดันเพิ่มท่อวงรีจะพยายาม
เบ่งตัวทาให้ปลายอิสระเคลื่อนที่ทาให้เข็มที่หน้าปัดขยับไปยังตาแหน่งที่บอกค่าของความดัน
1.5.3 มาตรวัดบูดอง (Bourdon gauge)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 2 จากรูปจงหาความดันที่จุด B เมื่อความดันที่จุด A มีค่าเท่ากับ 25 mm-Hg (ระยะมีหน่วยเป็น m)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 3 หลอดรูปตัว U บรรจุของเหลว 3 ชนิด คือน้า น้ามัน และของเหลว
ชนิดหนึ่งที่ไม่รู้จัก (Unknown fluid) ระดับของของเหลวทั้งสามชนิดมีลักษณะ
ดังรูป จงหาความหนาแน่นของของเหลวดังกล่าว
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2 แรงดันของไหลบนพื้นที่ผิวเรียบ
(Pressure Force on a Plane Surface)
ความดันของของไหลสถิต (Static Pressure) ซึ่งเป็นหน่วยแรงต่อ
หนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นหากมีพื้นที่หรือพื้นที่มารองรับความดันดังกล่าว
ความดันที่กระทากับพื้นที่จะมีทิศทางตั้งฉากและพุ่งเข้าหาพื้นที่รับแรง
เสมอ
กาหนดให้ แรงดัน (Pressure Force : FR)
จุดศูนย์กลางความดัน (Center of Pressure : CP)
กาหนดให้ จุด C คือ จุดศูนย์ถ่วงของระนาบ (Centroid of Surface)
จุด CP คือ จุดศูนย์กลางของความดัน (Center of Pressure)
yc คือ ตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ โดยวัดตามแนวแกน Y
yp คือ ตาแหน่งของจุดศูนย์กลางของความดัน โดยวัดตามแนวแกน Y
hc คือ ความลึกของจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ (วัดในแนวดิ่ง)
hp คือ ความลึกของจุดศูนย์กลางความดัน (วัดในแนวดิ่ง)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 4 ประตูน้าขนาด 1.2 m × 1.8 m ถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป
โดยปลายด้านหนึ่งยึดติดกับบานพับ ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งถูกดึงด้วยแรง
F เพื่อไม่ให้น้าไหลออก จงหาขนาดของแรง F (ไม่คิดน้าหนักของบาน
ประตู)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 5 ประตูน้ารูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 m มีมวล 1,500 kg
มีการติดตั้งในลักษณะดังรูป จงหาความลึกของชั้นน้ามันสูงสุด (h) ที่ทาให้ประตูน้าเปิด
ออกพอดี เมื่อความถ่วงจาเพาะของน้ามันเท่ากับ 0.9
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3 แรงดันของของไหลบนพื้นผิวโค้ง (Pressure Force on a Curved Surface)
เนื่องจากความดันจะมีทิศตั้งฉากกับพื้นที่เสมอ ซึ่งในกรณีที่พื้นที่รับแรงมีพื้นผิวโค้ง ทิศทางของความดันจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปตามพื้นที่ผิวโค้งไปมา ดังตัวอย่างในรูป ด้วยเหตุนี้ทาให้การวิเคราะห์ค่าของแรงดันโดยตรง
นั้นจึงทาได้ยาก
หลักในการวิเคราะห์แรงดันที่กระทากับพื้นที่ผิวโค้งนั้น สามารถทาให้ง่ายขึ้นได้โดย พิจารณาแรงที่กระทากับก้อนของ
ไหลที่โอบล้อมด้วยพื้นผิวโค้งนั้น และจะต้องแยกพิจารณาเป็นแรงในแนวราบ (FH) กับแรงในแนวดิ่ง (FV)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 6 ประตูน้าโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรัศมีความโค้ง 2 ม. วางตัวใน
ลักษณะดังรูป จงหาขนาด และตาแหน่งของแรงในแนวราบ และแนวดิ่ง
ขนาด และทิศทางของแรงลัพธ์ที่กระทากับประตูน้า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 7 ประตูน้าโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรัศมีความโค้ง 2 ม. วางตัวใน
ลักษณะดังรูป จงหาขนาดและตาแหน่งของแรงในแนวราบและแนวดิ่ง ขนาด และ
ทิศทางของแรง ที่กระทากับประตูน้า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4 แรงลอยตัว (Buoyancy Force)
หากพิจารณาแรงดันที่เกิดขึ้นกับวัตถุ ABCD ที่จมอยู่ในของไหลดังรูป ในกรณีที่ไม่มีการไหลหรือวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ดังนั้นจากที่กล่าวมาทั้งหมดจึงสามารถสรุปได้ว่า “แรงลอยตัว จะเกิดขึ้นเมื่อมีส่วนใดส่วนหนึ่งของวัตถุจมอยู่ในของไหล
ซึ่งแรงลอยตัวนี้จะมีทิศางพุ่งขึ้นด้านบนเสมอ และจะมีขนาดเท่ากับน้าหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม”
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 10 แท่งวัตถุขนาด 1.0×1.0×0.5 m2 มีน้าหนัก 20 kN วางแยบสนิทกับพื้นที่
ก้นถังน้าใบหนึ่ง จงหาแรงที่น้อยที่สุดที่ทาให้วัตถุสามารถลอยขึ้นจากพื้นได้ และแรงที่ใช้
ในการยกวัตถุขึ้นสู่ผิวน้า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4.1 เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล (Stability of Floating and Submerged Bodies)
เสถียรภาพการลอยตัวสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ
o Stable Equilibrium หมายถึง สภาพที่วัตถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล และเมื่อมีแรงกระทาสภาพการลอยตัวจะเปลี่ยนไป
แต่เมื่อแรงกระทานั้นออก จะสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
o Neutral Equilibrium หมายถึง สภาพวัตถุที่ลอยตัวในสภาวะที่มีเสถียรภาพพอดีหรือเกือบจะไม่มีเสถียรภาพ
o Unstable Equilibrium หมายถึง สภาพที่วัตถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล เมื่อมีแรงมากระทาสภาพการลอยตัวจะเปลี่ยนไป
แต่เมื่อนาแรงออกจะไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้
หากวัตถุมีจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) อยู่เหนือจุดศูนย์ถ่วง (G) เมื่อวัตถุเอียง
ไปจากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์ด้าน ทาให้วัตถุสามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ หรือ
กล่าวได้ว่าวัตถุนั้นมีเสถียรภาพของการลอยตัว (Stable)
หากมีวัตถุมีจุดศูนย์ถ่วง (G) อยู่เหนือจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) เมื่อ
วัตถุเอียงไปจากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์เสริมให้วัตถุพลิกได้ง่ายขึ้น และไม่
สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ หรือกล่าวได้ว่าวัตถุนั้นไม่มีเสถียรภาพของ
การลอยตัว (Unstable) ดังรูป (ข)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
รัศมีเมตาเซนตริก (Metacentric Radius) สัญลักษณ์คือ CM
ถ้า CG คือระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) กับ
จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (G) วัตถุจะมีเสถียรภาพได้ก็ต่อเมื่อ จุดเมตา
เซนเตอร์ (M) จะอยู่สูงกว่าจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ซึ่งระยะ CM ต้อง
มากกว่า CG หรือสามารถสรุปเป็นสมการได้ดังนี้
𝐺𝑀 = 𝐶𝑀 − 𝐶
เมื่อ GM มีค่าเป็นบวก (+) วัตถุจะมีเสถียรภาพ แต่ในทาง
ตรงกันข้าม ถ้า GM มีค่าเป็นลบ (-) วัตถุจะไม่มีเสถียรภาพ
𝐶𝑀 =
𝐼𝑍
∀
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 12 ท่อนไม้ขนาด กว้าง 30 ซม. ยาว 60 ซม.
และสูง 30 ซม. น้าหนัก 318 N จงตรวจสอบเสถียรภาพ
ของท่อนไม้ เมื่อลอยอยู่ในน้า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดChanthawan Suwanhitathorn
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 

What's hot (20)

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)

บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdf
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdfExp. No 6 Static and dynamic pressure.pdf
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdfKaiwan B. Hamasalih
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Supersonic_Ramji_Amit_10241445
Supersonic_Ramji_Amit_10241445Supersonic_Ramji_Amit_10241445
Supersonic_Ramji_Amit_10241445Amit Ramji ✈
 
378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture
378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture
378994777-Pressure-Measurements.ppt lectureGeorgeGomez31
 
Process Control and Instrumentation.pdf
Process Control and Instrumentation.pdfProcess Control and Instrumentation.pdf
Process Control and Instrumentation.pdfkamaleshkumar64
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Flowdirection
FlowdirectionFlowdirection
FlowdirectionApoorv00
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Dimensional analysis - Part 1
Dimensional analysis - Part 1 Dimensional analysis - Part 1
Dimensional analysis - Part 1 Ramesh B R
 
Conservation of Mass_ long form (Completed)
Conservation of Mass_ long form (Completed)Conservation of Mass_ long form (Completed)
Conservation of Mass_ long form (Completed)Dominic Waldorf
 

Similar to บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics) (17)

บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdf
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdfExp. No 6 Static and dynamic pressure.pdf
Exp. No 6 Static and dynamic pressure.pdf
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
Supersonic_Ramji_Amit_10241445
Supersonic_Ramji_Amit_10241445Supersonic_Ramji_Amit_10241445
Supersonic_Ramji_Amit_10241445
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture
378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture
378994777-Pressure-Measurements.ppt lecture
 
Process Control and Instrumentation.pdf
Process Control and Instrumentation.pdfProcess Control and Instrumentation.pdf
Process Control and Instrumentation.pdf
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
 
Flowdirection
FlowdirectionFlowdirection
Flowdirection
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
Dimensional analysis - Part 1
Dimensional analysis - Part 1 Dimensional analysis - Part 1
Dimensional analysis - Part 1
 
Pressure measurement
Pressure measurement Pressure measurement
Pressure measurement
 
Conservation of Mass_ long form (Completed)
Conservation of Mass_ long form (Completed)Conservation of Mass_ long form (Completed)
Conservation of Mass_ long form (Completed)
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...Sapna Thakur
 
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...fonyou31
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxVS Mahajan Coaching Centre
 
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Krashi Coaching
 
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdfQucHHunhnh
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docxPoojaSen20
 
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdfBASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdfSoniaTolstoy
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdfQucHHunhnh
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsTechSoup
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesFatimaKhan178732
 
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxSOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxiammrhaywood
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Celine George
 
The basics of sentences session 2pptx copy.pptx
The basics of sentences session 2pptx copy.pptxThe basics of sentences session 2pptx copy.pptx
The basics of sentences session 2pptx copy.pptxheathfieldcps1
 
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxThe byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxShobhayan Kirtania
 
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp 9167673311 💞 Full Nigh...
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp  9167673311 💞 Full Nigh...Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp  9167673311 💞 Full Nigh...
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp 9167673311 💞 Full Nigh...Pooja Nehwal
 
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13Steve Thomason
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactPECB
 

Recently uploaded (20)

BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
 
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
 
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptxINDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
 
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
 
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docx
 
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdfBASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
 
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
 
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxSOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
 
The basics of sentences session 2pptx copy.pptx
The basics of sentences session 2pptx copy.pptxThe basics of sentences session 2pptx copy.pptx
The basics of sentences session 2pptx copy.pptx
 
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxThe byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
 
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
 
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp 9167673311 💞 Full Nigh...
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp  9167673311 💞 Full Nigh...Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp  9167673311 💞 Full Nigh...
Russian Call Girls in Andheri Airport Mumbai WhatsApp 9167673311 💞 Full Nigh...
 
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
 

บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 2 ของไหลสถิต (Fluid Static) ของไหลสถิต (Fluid Statics) คือ ของไหลที่สภาวะอยู่นิ่ง ไม่มีการไหลและไม่มีการเคลื่อนที่ระหว่างชั้นของของไหล จึงไม่ส่งผลต่อแรงเค้นเฉือนระหว่างอนุภาคของของไหล ดังนั้นอนุภาคของของไหลจึงได้รับผลกระทบจากความดัน และแรงโน้มถ่วงของโลกที่มากระทาเท่านั้น
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1. ความดัน (Pressure) ความดัน หมายถึง แรงที่กระทาในหนึ่งหน่วยพื้นที่ (มิติคือ FL-2 หรือ ML-1T-2) หน่วยในระบบ SI Unit คือ นิวตัน/ตารางเมตร (N/m2) แต่ถ้าความดันที่กระทามีค่าสม่าเสมอเท่ากันทั้งพื้นที่ A ความดันจะมีค่าเป็น P = dF dA 𝑃 = 𝐹 𝐴 ดังนั้นถ้า dF คือแรงที่กระทาบนพื้นที่เล็กๆ dA บนพื้นที่ A
  • 4. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.1 ความดันที่จุดใดๆ ในของไหล (Pressure at a point in fluid) หากพิจารณาก้อนของไหลรูปลิ่มสามเหลี่ยมขนาดเล็กมากในของไหลที่อยู่นิ่งไม่มีการเคลื่อนที่ และไม่มีการไหล ดังนั้นแรงที่เกี่ยวข้องจึงมีเพียงแรงที่เกิดจากความดัน และแรงโน้มถ่วงเท่านั้น
  • 5. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 6. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จากสมการสามารถสรุปได้ว่า “ในของไหลที่อยู่ในสภาพหยุดนิ่งไม่มีการไหล ที่จุดใดๆ ความดันของของไหลจะมี ขนาดเท่ากันในทิศทาง” ซึ่งหลักการนี้เรียกว่า กฎของปาสคาล (Pascal’s law) ความดันนี้เรียกว่า “Static Pressure”
  • 7. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.2 การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิต (Variation of pressure in static fluid) พิจารณาก้อนอนุภาคของไหลทรงลูกบาศก์ที่มีขนาดเล็กมาก กาหนดให้ความดันที่จุดศูนย์ถ่วงมีค่าเท่ากับ P และเนื่องจากไม่มีการไหล ดังนั้นแรงที่เกี่ยวข้องจึงมีเพียงแรงที่เกิดจากความดัน และแรงโน้มถ่วงเท่านั้น
  • 8. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 9. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 10. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จะเห็นได้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันเมื่อเทียบกับระยะทางตามแกน X และ Y จะเท่ากับ 0 ซึ่งนั่นหมายความว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความดันในแนวระดับ หรือสามารถกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “ในของไหลที่ระดับเดียวกันจะมีความดันเท่ากัน”
  • 11. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จะเห็นได้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันเมื่อเทียบกับระยะทางตามแกน Z จะไม่เท่ากับ 0 ซึ่งนั่นหมายความว่า มี การเปลี่ยนแปลงความดันในแนวดิ่ง หรือสามารถอีกนัยหนึ่งว่า “ในของไหลที่ระดับต่างกันความดันจะไม่เท่ากัน”
  • 12. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จากสมการแสดงว่าในของไหลความดันจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อ ∆𝑧 เป็น ลบ หรือค่าระดับต่าลง ในทางตรงกันข้าม ความดันจะลดต่าลง เมื่อ ∆𝑧 เป็นบวก หรือ ค่าระดับเพิ่มขึ้น
  • 13. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.3 การวัดความดัน (Measurement of Pressure) o ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) คือ ความ ดันที่เปรียบเทียบกับความดันศูนย์สัมบูรณ์ (Absolute zero pressure) หรือความดันที่ เปรียบเทียบกับที่สุญญากาศ ดังนั้นความดันสัมบูรณ์ จึงมีค่าเป็นบวกเสมอ o ความดันเกจ หรือความดันมาตร (Gauge Pressure) คือ ความดันที่เปรียบเทียบกับความดันบรรยากาศ ณ จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปจะเปรียบเทียบกับความดัน บรรยากาศที่ระดับน้าทะเลปานกลาง (mean sea level : MSL) หรือกาหนดให้ความดันบรรยากาศที่ ระดับน้าทะเลปานกลาง มีค่าเท่ากับ 0 การวัดความดันของของไหล มีมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไปอยู่ 2 มาตรฐาน
  • 14. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.4 หน่วยของความดัน (Pressure Units) เนื่องจากความดันคือแรงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นหน่วยของความดันจึงอยู่ในรูป หน่วยของแรง ต่อ หน่วย ของพื้นที่ นอกจากนี้ความดันยังสามารถระบุได้ในอีกหลายลักษณะดังนี้ ปาสคาล (Pa) มีค่าเท่ากับ นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) เมตรของน้าหรือมิลลิเมตรปรอท (m of water : mm.Hg) บาร์ (bar) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 105 นิวตันต่อตารางเมตร (105 N/m2) * ส่วนของ atm มาจากคาว่า หน่วยของความดันบรรยากาศมาตรฐาน (Standard atmospheric pressure) คือ หน่วยที่มีช่วงกว้างเท่ากับค่าเฉลี่ยของความดันบรรยากาศที่ระดับน้าทะเลปานกลาง ดังนั้นที่ระดับน้าทะเลปาน กลางจึงมีความดันเท่ากับ 1 atm (1.013 × 105 N/m2)
  • 15. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 1 จากรูป ถังทรงกระบอกใบหนึ่งบรรจุของเหลว 2 ชนิดอยู่ภายใน จงหา o ความดันเกจที่ก้นถัง และความลึก 0.5 ม. o ความดันสัมบูรณ์ที่ก้นถัง และที่ความลึก 0.5 ม. กาหนดให้ความดันอากาศ Pa = 1 atm (1.013 × 105 N/m2)
  • 16. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 18. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 19. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.5 อุปกรณ์วัดความดัน (Pressure gauge) 1.5.1 บารอมิเตอร์ (Barometer) บารอมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์วัดความดัน “บรรยากาศ” ซึ่งอาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลงความดันของของไหล มีหลักการโดย บรรจุของไหลในหลอดปลายปิดด้านหนึ่งด้านและคว่าปลายด้านที่เปิดลงในของเหลว จากนั้นจะเกิดโพลงสูญญกาศขึ้นด้านบนของปลายด้าน ปิด ซึ่งความดันต่ามากจนเกือบเป็นศูนย์ เรียกปรากฏการณ์ โพลงสุญญากาศไม่มีอะไรอยู่เลย จึงทาให้ค่าที่วัดได้นั้นคือ ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure) จากรูป Pair = Pv + γปรอท h แต่เนื่องจากปรอทมี Pv = 0.000023 Ib/in2 ซึ่งถือว่าน้อยมาก ดังนั้น Pair = γปรอท h บางครั้งอาจบอกค่าความดันอยู่ในรูปของความสูงของปรอท (มิลลิเมตร ปรอท : mm.Hg) นั่นหมายความว่า จะต้องนาค่าความสูงที่ระบุไปคูณ กับน้าหนักจาเพาะของปรอทจึงจะได้ค่าความดัน
  • 20. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.5.2 มาโนมิเตอร์ (Manometer) มาโนมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์วัดความดัน ที่อาศัยหลักการของการความแตกต่างระหว่างความดันของของไหลใน ภาชนะกับอากาศภายนอกภาชนะเช่นเดียวกับ barometer แต่จะแตกต่างกันตรงที่ความดันที่วัดได้จะเป็นความดันเกจ (gauge pressure) เนื่องจากมานอร์มิเตอร์ มีหลายแบบ ในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 แบบคือ รูป บิโซมิเตอร์ มาโนมิเตอร์รูปตัว U และมาโนมิเตอร์แบบเอียง
  • 21. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา o ปิโซมิเตอร์ (Piezometer) เป็นอุปกรณ์ความดันที่มีหลักการง่ายที่สุด นาท่อที่มี ปลายเปิดสู่อากาศไปติดตั้ง ณ จุดที่ต้องการวัดความดัน (ก) ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = γh ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = PAIR + γh o มาโนมิเตอร์รูปตัว U (U-tube Manometer) ด้วยหลักการของ Piezometer หากจุดที่ต้องการวัดความดันมีค่าความ ดันที่สูง จะทาให้ค่าความสูง (h) ที่อ่านได้ที่ค่าสูงมาก ซึ่งนั่นหมายความว่า หลอดวัดความดันที่ใช้จะต้องมีความยาวมากขึ้นตามไปด้วย ข้อจากัดดังกล่าว สามารถแก้ไขได้โดย ดัดแปลงท่อวัดความดันให้เป็นรูปตัว U ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = γ2h2 – γ1 h1 ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = PAIR + γ2h2 – γ1 h1
  • 22. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา o มาโนมิเตอร์แบบเอียง (Incline Tube Manometer) เป็น manometer ที่ดัดแปลงทาให้สามารถอ่านค่าความดัน ได้ละเอียดมากขึ้น โดยการเอียงหลอดวัดความดัน ตัวอย่างดังรูป ค ความดันเกจที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = γ2 Lsinθ − γ1h1 ความดันสัมบูรณ์ที่จุด A มีค่าเท่ากับ PA = PAIR + γ2 Lsinθ − γ1h1 เป็นมาตรวัดความดันเกจ ที่มีส่วนประกอบสาคัญคือ ท่อโลหะกลวงหน้าตัดรูปวงรี ตัดโค้งเป็น ส่วนหนึ่งของวงกลม ปลายด้านปิดปล่อยเป็นอิสระ และเชื่อมต่อกับกลไกบังคับเข็มที่หน้าปัด ส่วน ปลายอีกด้านตรึงแน่น และเชื่อมต่อกับจุดที่ต้องการวัดความดัน เมื่อความดันเพิ่มท่อวงรีจะพยายาม เบ่งตัวทาให้ปลายอิสระเคลื่อนที่ทาให้เข็มที่หน้าปัดขยับไปยังตาแหน่งที่บอกค่าของความดัน 1.5.3 มาตรวัดบูดอง (Bourdon gauge)
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 2 จากรูปจงหาความดันที่จุด B เมื่อความดันที่จุด A มีค่าเท่ากับ 25 mm-Hg (ระยะมีหน่วยเป็น m)
  • 24. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 25. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 3 หลอดรูปตัว U บรรจุของเหลว 3 ชนิด คือน้า น้ามัน และของเหลว ชนิดหนึ่งที่ไม่รู้จัก (Unknown fluid) ระดับของของเหลวทั้งสามชนิดมีลักษณะ ดังรูป จงหาความหนาแน่นของของเหลวดังกล่าว
  • 26. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 27. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2 แรงดันของไหลบนพื้นที่ผิวเรียบ (Pressure Force on a Plane Surface) ความดันของของไหลสถิต (Static Pressure) ซึ่งเป็นหน่วยแรงต่อ หนึ่งหน่วยพื้นที่ ดังนั้นหากมีพื้นที่หรือพื้นที่มารองรับความดันดังกล่าว ความดันที่กระทากับพื้นที่จะมีทิศทางตั้งฉากและพุ่งเข้าหาพื้นที่รับแรง เสมอ กาหนดให้ แรงดัน (Pressure Force : FR) จุดศูนย์กลางความดัน (Center of Pressure : CP) กาหนดให้ จุด C คือ จุดศูนย์ถ่วงของระนาบ (Centroid of Surface) จุด CP คือ จุดศูนย์กลางของความดัน (Center of Pressure) yc คือ ตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ โดยวัดตามแนวแกน Y yp คือ ตาแหน่งของจุดศูนย์กลางของความดัน โดยวัดตามแนวแกน Y hc คือ ความลึกของจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ (วัดในแนวดิ่ง) hp คือ ความลึกของจุดศูนย์กลางความดัน (วัดในแนวดิ่ง)
  • 28. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 29. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 30. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 31. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 32. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 4 ประตูน้าขนาด 1.2 m × 1.8 m ถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป โดยปลายด้านหนึ่งยึดติดกับบานพับ ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งถูกดึงด้วยแรง F เพื่อไม่ให้น้าไหลออก จงหาขนาดของแรง F (ไม่คิดน้าหนักของบาน ประตู)
  • 33. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 34. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 5 ประตูน้ารูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 m มีมวล 1,500 kg มีการติดตั้งในลักษณะดังรูป จงหาความลึกของชั้นน้ามันสูงสุด (h) ที่ทาให้ประตูน้าเปิด ออกพอดี เมื่อความถ่วงจาเพาะของน้ามันเท่ากับ 0.9
  • 35. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 36. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3 แรงดันของของไหลบนพื้นผิวโค้ง (Pressure Force on a Curved Surface) เนื่องจากความดันจะมีทิศตั้งฉากกับพื้นที่เสมอ ซึ่งในกรณีที่พื้นที่รับแรงมีพื้นผิวโค้ง ทิศทางของความดันจะมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปตามพื้นที่ผิวโค้งไปมา ดังตัวอย่างในรูป ด้วยเหตุนี้ทาให้การวิเคราะห์ค่าของแรงดันโดยตรง นั้นจึงทาได้ยาก หลักในการวิเคราะห์แรงดันที่กระทากับพื้นที่ผิวโค้งนั้น สามารถทาให้ง่ายขึ้นได้โดย พิจารณาแรงที่กระทากับก้อนของ ไหลที่โอบล้อมด้วยพื้นผิวโค้งนั้น และจะต้องแยกพิจารณาเป็นแรงในแนวราบ (FH) กับแรงในแนวดิ่ง (FV)
  • 37. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 38. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 6 ประตูน้าโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรัศมีความโค้ง 2 ม. วางตัวใน ลักษณะดังรูป จงหาขนาด และตาแหน่งของแรงในแนวราบ และแนวดิ่ง ขนาด และทิศทางของแรงลัพธ์ที่กระทากับประตูน้า
  • 39. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 40. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 41. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 42. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 7 ประตูน้าโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรัศมีความโค้ง 2 ม. วางตัวใน ลักษณะดังรูป จงหาขนาดและตาแหน่งของแรงในแนวราบและแนวดิ่ง ขนาด และ ทิศทางของแรง ที่กระทากับประตูน้า
  • 43. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 44. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 45. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 46. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 47. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 48. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4 แรงลอยตัว (Buoyancy Force) หากพิจารณาแรงดันที่เกิดขึ้นกับวัตถุ ABCD ที่จมอยู่ในของไหลดังรูป ในกรณีที่ไม่มีการไหลหรือวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่
  • 49. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ดังนั้นจากที่กล่าวมาทั้งหมดจึงสามารถสรุปได้ว่า “แรงลอยตัว จะเกิดขึ้นเมื่อมีส่วนใดส่วนหนึ่งของวัตถุจมอยู่ในของไหล ซึ่งแรงลอยตัวนี้จะมีทิศางพุ่งขึ้นด้านบนเสมอ และจะมีขนาดเท่ากับน้าหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม”
  • 50. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 10 แท่งวัตถุขนาด 1.0×1.0×0.5 m2 มีน้าหนัก 20 kN วางแยบสนิทกับพื้นที่ ก้นถังน้าใบหนึ่ง จงหาแรงที่น้อยที่สุดที่ทาให้วัตถุสามารถลอยขึ้นจากพื้นได้ และแรงที่ใช้ ในการยกวัตถุขึ้นสู่ผิวน้า
  • 51. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 52. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4.1 เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล (Stability of Floating and Submerged Bodies) เสถียรภาพการลอยตัวสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ o Stable Equilibrium หมายถึง สภาพที่วัตถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล และเมื่อมีแรงกระทาสภาพการลอยตัวจะเปลี่ยนไป แต่เมื่อแรงกระทานั้นออก จะสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ o Neutral Equilibrium หมายถึง สภาพวัตถุที่ลอยตัวในสภาวะที่มีเสถียรภาพพอดีหรือเกือบจะไม่มีเสถียรภาพ o Unstable Equilibrium หมายถึง สภาพที่วัตถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล เมื่อมีแรงมากระทาสภาพการลอยตัวจะเปลี่ยนไป แต่เมื่อนาแรงออกจะไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ หากวัตถุมีจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) อยู่เหนือจุดศูนย์ถ่วง (G) เมื่อวัตถุเอียง ไปจากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์ด้าน ทาให้วัตถุสามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ หรือ กล่าวได้ว่าวัตถุนั้นมีเสถียรภาพของการลอยตัว (Stable) หากมีวัตถุมีจุดศูนย์ถ่วง (G) อยู่เหนือจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) เมื่อ วัตถุเอียงไปจากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์เสริมให้วัตถุพลิกได้ง่ายขึ้น และไม่ สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ หรือกล่าวได้ว่าวัตถุนั้นไม่มีเสถียรภาพของ การลอยตัว (Unstable) ดังรูป (ข)
  • 53. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา รัศมีเมตาเซนตริก (Metacentric Radius) สัญลักษณ์คือ CM ถ้า CG คือระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) กับ จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (G) วัตถุจะมีเสถียรภาพได้ก็ต่อเมื่อ จุดเมตา เซนเตอร์ (M) จะอยู่สูงกว่าจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ซึ่งระยะ CM ต้อง มากกว่า CG หรือสามารถสรุปเป็นสมการได้ดังนี้ 𝐺𝑀 = 𝐶𝑀 − 𝐶 เมื่อ GM มีค่าเป็นบวก (+) วัตถุจะมีเสถียรภาพ แต่ในทาง ตรงกันข้าม ถ้า GM มีค่าเป็นลบ (-) วัตถุจะไม่มีเสถียรภาพ 𝐶𝑀 = 𝐼𝑍 ∀
  • 54. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 12 ท่อนไม้ขนาด กว้าง 30 ซม. ยาว 60 ซม. และสูง 30 ซม. น้าหนัก 318 N จงตรวจสอบเสถียรภาพ ของท่อนไม้ เมื่อลอยอยู่ในน้า
  • 55. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 56. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube