SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 4
สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม
(Energy and Momentum Equation)
1
การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหลที่ในสนามของ
การไหล ความดัน ความเร็วของอนุภาค รวมถึงแรงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลง
ตาแหน่ง และเวลา เพื่อทาการศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
ต่างๆ สามารถวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการจากสมการพื้นฐานที่
เกี่ยวข้อง 3 สมการ คือ สมการความต่อเนื่อง สมการพลังงาน และ
สมการโมเมนตัม โดยทั้งสามสมการจะอธิบายปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้น
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
3
1 สมการพลังงานของ (Euler’s Energy equation)
พิจารณาอนุภาคของไหลรูปทรงกระบอกที่กาลังเคลื่อนที่ไปตาม streamline ดังรูปที่
รูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลตามแนวเส้นทางการไหล
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
4
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
5
สมการนี้ถูกเรียกว่า สมการพลังงานของ Leonhard Euler
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
6
4.2 สมการ Bernoulli (Bernoulli’s equation)
Bernoulli ได้นาสมการพลังงานของ Leonhard Euler มาทาการอินเกรต
รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ ในสมการ Bernoulli
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
7
รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ
ในสมการ Bernoulli
ดังนั้นสมการของ Bernoulli ไม่ใช่สมการความสัมพันธ์ของพลังงาน แต่เป็นสมการความสัมพันธ์ของพลังงานต่อหนึ่งหน่วย
น้าหนักของของไหล
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
8
เมื่อพิจารณาภายใต้เงื่อนไข การไหลแบบคงที่ (Steady flow) แรง
ที่เกี่ยวข้องมีเพียงแรงโน้มถ่วงกับแรงอันเนื่องมาจากความดันของไหล
เป็นเป็นของไหลในจินตนาการ (Ideal Fluid) และอัดตัวไม่ได้
(Incompressible fluid) เมื่ออนุภาคของไหลเคลื่อนที่ไปตาม
streamline โดยไม่มีผลจากพลังงานภายนอก และการสูญเสียพลังงาน
ผลรวมของเฮดจุดใดจุดหนึ่งจะเท่ากับผลรวมของเฮดอีกจุดหนึ่งเสมอ
ดังนั้นเฮดพลังงานรวมจะคงที่ตลอดความยาวของ streamline ดังรูปที่
โดยเส้นที่บอกถึงระดับของเฮดพลังงานรวมนั้นจะเรียกว่า เส้นระดับ
พลังงาน (Energy Grade Line ; E.G.L.) และเส้นที่บอกถึงระดับผลรวม
ของเฮดระดับ กับเฮดความดัน จะเรียกว่า ระดับชลศาสตร์ (Hydraulic
Grade lime ; H.G.L.) เกิดจากผลรวมของเฮดระดับกับเฮดความดัน
เรียกว่า เฮดสถิต ; Static head หรือ Piezomatic head
รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ ใน
สมการ Bernoulli
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
9
ตัวอย่าง 1 จากรูป ถังน้าสูง 1.0 ม. มีใส่น้าสูง 0.7 ม. มีรูระบายน้าอยู่
ที่ ความสูง 0.2 ม. จากก้นถัง และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ซม. ถ้าถังมี
ขนาดใหญ่มาก (อัตราการไหลเปลี่ยนแปลงน้อยมากในขณะที่ทาการวัด)
ถ้าการสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นน้อยมาก จงหาขนาดของอัตราการไหล
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
10
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
11
ตัวอย่าง 2 จากรูป หัวฉีดฉีดน้าจากจุด A ออกสู่อากาศที่ปลาย B โดย ที่จุด A
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. และมีความดันที่มาตรวัดอ่านได้เท่ากับ 68.67 kPa
ส่วนที่จุด B มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 ซม. จงหาความเร็ว และอัตราการไหลของ
น้าที่ปลายทางออก (จุด B) กาหนดให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
12
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
13
ตัวอย่าง 3 ท่อ AG มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่วง A-B 15 ซม. และช่วง C-G 10 ซม. มาตรวัดความดันที่จุด A อ่านค่าได้ 39.24
kPa น้าไหลจาก G ไป A ด้วยอัตรา 78.3 I/s ถ้าการสูญเสียพลังงานระหว่างการไหลเกิดขึ้นน้อยมากจงพล็อตกราฟระดับ
พลังงาน และระดับชลศาสตร์ที่จุดต่าง ๆ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
14
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
15
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
16
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
17
การประยุกต์สมการ Bernoulli กับอุปกรณ์วัดการไหล
o Venturi Meter
Venturi Meter คือ อุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นท่อลดขนาด ใช้สาหรับการวัดอัตราการไหลหรือความเร็วของการไหล
โดยอาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลงความเร็วและความดันบริเวณคอคอด
รูป อุปกรณ์วัดการหดแบบ Venturi Meter
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
18
o Pitot Tube
Pitot Tube คืออุปกรณ์อย่างง่ายที่ใช้สาหรับการวัดความเร็วของการไหล มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็ก ที่หันปลายทางเข้า
ไปทางต้นน้า ลักษณะดังรูป
รูปที่ อุปกรณ์วัดการไหลแบบ Pitot Tube รูป ตัวอย่างอุปกรณ์วัดความเร็วของไหลที่อาศัยหลักการของท่อปิโตด
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
19
ตัวอย่าง 4 จากรูป คือมาตรวัดอัตราการไหลของน้า แบบ
Venturi วางตัวในแนวราบ ที่หน้าตัดที่ 1 และ 2 มีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางเท่ากับ D และ 0.5D ตามลาดับ ถ้าในหลอดมา
นอร์มิเตอร์วัดความดันสถิต สามารถอ่านค่าความแตกต่างของ
ระดับน้าได้เท่ากับ ∆h จงหาอัตราการไหลของน้าที่ผ่านมาตร
วัด โดยสมมติให้การสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นน้อยมาก การไหล
ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลาและของไหลเป็น Ideal Fluid
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
20
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
21
3 สมการพลังงาน (Energy Equation)
เนื่องจากสมการ Bernoulli เป็นสมการความสัมพันธ์ของเฮดภายใต้สมมติฐานที่ไม่มีการสูญเสียพลังงานหรือ
การแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม แต่ในการไหลจริงของไหลอาจมีการสูญเสียพลังงานให้กับตัวกลาง
ระหว่างการเดินทาง (การสูญเสียหลัก) เช่น การไหลในท่อของไหลจะมีการสูญเสียพลังงานให้กับผนังท่ออันเนื่องมาจาก
แรงเสียดทานหรือของไหลอาจเกิดการสูญเสียพลังงานจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างกระทันหัน (การสูญเสียรอง)
เช่น การไหลในท่อบริเวณวาล์ว และข้องอต่างๆหรือของไหลอาจเคลื่อนที่ผ่านอุปกรณ์ที่สามารถเพิ่มพลังงานให้กับระบบ
หรือตึงพลังงานออกจากระบบ (Pump and turbine) ดังนั้นในหัวข้อนี้จะเป็นการประยุกต์สมการพลังงานของ
Bernoulli กับการไหลในสถานการณ์ต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
22
3.1 การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ (Head loss)
การสูญเสียเฮดสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
o การสูญเสียหลัก (Major loss) เป็นการสูญเสียเฮดที่เกิด
จากแรงเสียดทานบริเวณผนังท่อหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
การสูญเสียเนื่องจากความฝืด สัญลักษณ์ที่ใช้คือ hf
o การสูญเสียรอง (Minor loss) เป็นการสูญเสียเฮดที่
เกิดขึ้นบริเวณที่ความเร็วของของไหลมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างกะทันหัน ซึ่งการสูญเสียเฮดประเภทนี้มักจะเกิดขึ้น
บริเวณจุดเชื่อมต่อ ทางเข้าออกหรือจุดที่มีอุปกรณ์
ประกอบต่าง ๆ (Fitting Devices) เช่นข้อต่อ ข้องอ
ต่างๆ วาล์ว เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้คือ hm
รูป การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
23
รูป การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงาน และ ระดับชลศาสตร์ ของการไหลในท่อ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
24
ตัวอย่าง 5 จากรูปจงวาดเส้นกราฟระดับพลังงาน และระดับชลศาสตร์ของระบบท่อส่งน้าที่จุดต่าง ๆ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
25
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
26
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
27
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
28
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
29
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
30
ตัวอย่าง 6 ต้องการถ่ายน้าจากถังใบที่ 1ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยระบบท่อลักษณะดังรูปถ้าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อเท่ากับ 2.5
c.m. การสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรอง เป็นไปตามที่ระบุไว้ในรูป จงหาอัตราการไหลของน้า
และความดันที่จุด D
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
31
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
32
3.2 เครื่องสูบ (Pump)
รูป การเปลี่ยนแปลงเฮดพลังงานเมื่อของไหลผ่านเครื่องสูบ
เครื่องสูบน้า เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกล (hp) ที่ได้
รับมาจากแหล่งพลังงานเช่น มอเตอร์ให้กลายเป็นพลังงานของ
ของไหล (HP) ดังนั้น เมื่อของไหลหรือระบบไหลผ่านเครื่องสูบ
เฮดพลังงานรวมของระบบจะเพิ่มสูงขึ้น
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
33
ตัวอย่าง 7 ระบบสูบน้าถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป
ต้องการสูบน้าจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยอัตรา
0.594 ลบ.ม./วินาที ถ้าหากสูญเสียพลังงานเป็นไป
ตามที่ระบุไว้ในรูปและเครื่องสูบน้ามีประสิทธิภาพ
60 % จงหากาลังงานที่ใช้ในการสูบน้า
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
34
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
35
3.3 กังหัน (Turbine)
รูป การเปลี่ยนแปลงเฮดพลังงานเมื่อของไหลไหลผ่านกังหัน
กังหันน้า เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานของ
ของไหล (HP) ให้กลายเป็นพลังงานกล (hT) เพื่อนาไปใช้กับ
กิจกรรมต่าง ๆ เช่น ส่งพลังงานที่ได้ให้กับเครื่องกาเนิด
กระแสไฟฟ้า ดังนั้น เมื่อของไหลหรือระบบไหลผ่านเครื่องสูบ
เฮดพลังงานรวมของระบบจะลดต่าลง ดังรูป
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
36
ตัวอย่าง 8 อ่างเก็บน้าแห่งหนึ่ง มีระดับน้าในอ่าง +150 ม. ระดับน้า
ท้ายเขื่อนอยู่ที่ +65 ม. ต้องการปั่นเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า โดยการ
ปล่อยน้าผ่านกังหันน้า ด้วยอัตราการไหล 0.594 cms ถ้าการสูญเสีย
พลังงาน เป็นไปตามที่ระบุไว้ในรูป และประสิทธิภาพของกังหันน้า
เท่ากับ 75 % จงหากาลังงานที่เครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้าได้รับจาก
กังหันน้า
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
37
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
38
4 สมการโมเมนตัมเชิงเส้น (Linear Momentum Equation)
พิจารณาการเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม โดยสมมติให้การไหลมีเพียงทิศทางเดียว และไม่
มีการไหลทางด้านข้างดังรูปที่ 13
รูป การเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม
เป็นการแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบ โดยรูปที่ (ก) เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับ อัตราการไหล ความเร็ว และ โมเมนตัม ที่ไหลผ่านปริมาตร
ควบคุม ส่วนรูปที่ (ข) พิจารณาเฉพาะ แรงภายนอกที่กระทากับระบบ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
39
ซึ่งสมการ ก็คือ สมการโมเมนตัม (Momentum Equation) ของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) ภายใต้
การไหลที่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady stage)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
40
ตัวอย่าง 8 จากรูปเป็นท่อ 2 ขนาดเชื่อมต่อกัน มีน้าไหลอยู่ภายในด้วย
อัตรา 0.30 ลบ.ม./วินาที ความดันที่จุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 10 kPa จงหาขนาด
และทิศทางของแรงที่กระทาบริเวณข้อต่อ โดยแบ่งเป็น 2 กรณีคือ
- การไหลไม่มีสูญเสียพลังงาน
- การสูญเสียพลังงานมีค่าเท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ที่หน้าตัด A
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
41
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
42
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
43
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
44
สมการโมเมนตัมกับการไหลหลายทิศทาง
จากการไหลที่มีทางเข้าออกหลายทาง ดังรูป จะเห็นได้ว่า การวิเคราะห์มี
ความยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้นในการวิเคราะห์ปัญหาลักษณะดังกล่าว ควร
แยกพิจารณาการไหลเข้า - ออก และผลรวมของแรง โดยอิงกับระบบพิกัด
ฉากซึ่งจากสมการจะได้สมการโมเมนตัมที่ใช้ในการวิเคราะห์การไหลใน
หลายทิศทางได้ดังนี้
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
45
ตัวอย่าง 10 น้าไหลผ่านข้อต่อสามทางที่วางในแนวราบ ถ้าความดันที่
จุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 150 kPa จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่เกิดขึ้น
โดยสมมติให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
46
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
47
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
48
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
49
ตัวอย่าง 11 จงหาขนาด และทิศทางของแรงกระทาที่เกิด
ขึ้นกับข้องอดังรูป เมื่อของไหลภายในท่อคือน้า และการสูญเสีย
พลังงานระหว่างจุดที่ 1 กับจุดที่ 2 เท่ากับ 1.12 ม.
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
50
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
51
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
52
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
53
5. สมการโมเมนตัมกับปริมาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ (Momentum equation for moving control volume)
พิจารณาการพุ่งของลาน้ากระทบกับวัตถุโค้งที่กาลังเคลื่อนที่ ดังรูป (ก) แรงที่แผ่นวัตถุกระทากับของไหล
ทาให้ความเร็วสัมบูรณ์ของการไหลเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือมีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม และเมื่อพิจารณาผลต่าง
ของ ความเร็วสัมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในรูปเวกเตอร์ จะได้ว่า
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
54
ความสัมพันธ์ในสมการ หมายความว่า ผลต่างของความเร็วสัมบูรณ์จะมีค่าเท่ากับผลต่างของความเร็วสัมพัทธ์
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า สามารถวิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้นโดยใช้ผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมพัทธ์ได้แทนที่จะมี
วิเคราะห์จากผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมบูรณ์ ซึ่งทาได้ยากกว่า
รูป การวิเคราะห์ความเร็วสัมพัทธ์ และแรง ที่เกิดกับกรณีของไหลพุ่งกระทบกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่
ในกรณีของไหลพุ่งกระทบกับแผ่นวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงของเฮดระดับมีค่า
น้อยมากเมื่อเทียบกับเฮดอื่น ๆ ความเร็วสัมพัทธ์ของการไหลออกจากปริมาตรควบคุม จะใกล้เคียงกับความเร็วสัมพัทธ์ของการ
ไหลเข้าปริมาตรควบคุม ดังนั้นการวิเคราะห์การไหล และแรงที่เกิดขึ้นจึงมีลักษณะดังรูป
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
55
สมการ คือแรงที่แผ่นวัตถุกระทากับกระทากับของไหล ถ้าต้องการหาค่าของแรงกระแทกที่ของไหลกระทากับแผ่นวัตถุ แรงนั้นก็
คือแรงปฏิกิริยาของแรงที่คานวณได้จากสมการ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
56
ตัวอย่าง 13 ลาน้าพุ่งออกจากหัวฉีดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm ด้วยความเร็ว 10
m/s กระทบแผ่นผิวโค้งทามุม 45 ° กับแนวราบ ถ้าขนาดของมวล M มีค่าเท่ากับ 1 kg
จงหาความเร็วของรถ (u) โดยสมมติให้ไม่มีการสูญเสียพลังงาน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
57
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)Rangsit
 
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพกิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพkannsuwannatat
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 

What's hot (20)

8 2
8 28 2
8 2
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพกิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (19)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 

บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Energy and Momentum Equation) 1 การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหลที่ในสนามของ การไหล ความดัน ความเร็วของอนุภาค รวมถึงแรงต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลง ตาแหน่ง และเวลา เพื่อทาการศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร ต่างๆ สามารถวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการจากสมการพื้นฐานที่ เกี่ยวข้อง 3 สมการ คือ สมการความต่อเนื่อง สมการพลังงาน และ สมการโมเมนตัม โดยทั้งสามสมการจะอธิบายปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 3 1 สมการพลังงานของ (Euler’s Energy equation) พิจารณาอนุภาคของไหลรูปทรงกระบอกที่กาลังเคลื่อนที่ไปตาม streamline ดังรูปที่ รูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลตามแนวเส้นทางการไหล
  • 4. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 4
  • 5. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 5 สมการนี้ถูกเรียกว่า สมการพลังงานของ Leonhard Euler
  • 6. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 6 4.2 สมการ Bernoulli (Bernoulli’s equation) Bernoulli ได้นาสมการพลังงานของ Leonhard Euler มาทาการอินเกรต รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ ในสมการ Bernoulli
  • 7. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 7 รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ ในสมการ Bernoulli ดังนั้นสมการของ Bernoulli ไม่ใช่สมการความสัมพันธ์ของพลังงาน แต่เป็นสมการความสัมพันธ์ของพลังงานต่อหนึ่งหน่วย น้าหนักของของไหล
  • 8. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 8 เมื่อพิจารณาภายใต้เงื่อนไข การไหลแบบคงที่ (Steady flow) แรง ที่เกี่ยวข้องมีเพียงแรงโน้มถ่วงกับแรงอันเนื่องมาจากความดันของไหล เป็นเป็นของไหลในจินตนาการ (Ideal Fluid) และอัดตัวไม่ได้ (Incompressible fluid) เมื่ออนุภาคของไหลเคลื่อนที่ไปตาม streamline โดยไม่มีผลจากพลังงานภายนอก และการสูญเสียพลังงาน ผลรวมของเฮดจุดใดจุดหนึ่งจะเท่ากับผลรวมของเฮดอีกจุดหนึ่งเสมอ ดังนั้นเฮดพลังงานรวมจะคงที่ตลอดความยาวของ streamline ดังรูปที่ โดยเส้นที่บอกถึงระดับของเฮดพลังงานรวมนั้นจะเรียกว่า เส้นระดับ พลังงาน (Energy Grade Line ; E.G.L.) และเส้นที่บอกถึงระดับผลรวม ของเฮดระดับ กับเฮดความดัน จะเรียกว่า ระดับชลศาสตร์ (Hydraulic Grade lime ; H.G.L.) เกิดจากผลรวมของเฮดระดับกับเฮดความดัน เรียกว่า เฮดสถิต ; Static head หรือ Piezomatic head รูป ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่าง ๆ ใน สมการ Bernoulli
  • 9. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 9 ตัวอย่าง 1 จากรูป ถังน้าสูง 1.0 ม. มีใส่น้าสูง 0.7 ม. มีรูระบายน้าอยู่ ที่ ความสูง 0.2 ม. จากก้นถัง และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ซม. ถ้าถังมี ขนาดใหญ่มาก (อัตราการไหลเปลี่ยนแปลงน้อยมากในขณะที่ทาการวัด) ถ้าการสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นน้อยมาก จงหาขนาดของอัตราการไหล
  • 10. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 10
  • 11. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 11 ตัวอย่าง 2 จากรูป หัวฉีดฉีดน้าจากจุด A ออกสู่อากาศที่ปลาย B โดย ที่จุด A มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. และมีความดันที่มาตรวัดอ่านได้เท่ากับ 68.67 kPa ส่วนที่จุด B มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 ซม. จงหาความเร็ว และอัตราการไหลของ น้าที่ปลายทางออก (จุด B) กาหนดให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก
  • 12. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 12
  • 13. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 13 ตัวอย่าง 3 ท่อ AG มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่วง A-B 15 ซม. และช่วง C-G 10 ซม. มาตรวัดความดันที่จุด A อ่านค่าได้ 39.24 kPa น้าไหลจาก G ไป A ด้วยอัตรา 78.3 I/s ถ้าการสูญเสียพลังงานระหว่างการไหลเกิดขึ้นน้อยมากจงพล็อตกราฟระดับ พลังงาน และระดับชลศาสตร์ที่จุดต่าง ๆ
  • 14. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 14
  • 15. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 15
  • 16. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 16
  • 17. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 17 การประยุกต์สมการ Bernoulli กับอุปกรณ์วัดการไหล o Venturi Meter Venturi Meter คือ อุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นท่อลดขนาด ใช้สาหรับการวัดอัตราการไหลหรือความเร็วของการไหล โดยอาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลงความเร็วและความดันบริเวณคอคอด รูป อุปกรณ์วัดการหดแบบ Venturi Meter
  • 18. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 18 o Pitot Tube Pitot Tube คืออุปกรณ์อย่างง่ายที่ใช้สาหรับการวัดความเร็วของการไหล มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็ก ที่หันปลายทางเข้า ไปทางต้นน้า ลักษณะดังรูป รูปที่ อุปกรณ์วัดการไหลแบบ Pitot Tube รูป ตัวอย่างอุปกรณ์วัดความเร็วของไหลที่อาศัยหลักการของท่อปิโตด
  • 19. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 19 ตัวอย่าง 4 จากรูป คือมาตรวัดอัตราการไหลของน้า แบบ Venturi วางตัวในแนวราบ ที่หน้าตัดที่ 1 และ 2 มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางเท่ากับ D และ 0.5D ตามลาดับ ถ้าในหลอดมา นอร์มิเตอร์วัดความดันสถิต สามารถอ่านค่าความแตกต่างของ ระดับน้าได้เท่ากับ ∆h จงหาอัตราการไหลของน้าที่ผ่านมาตร วัด โดยสมมติให้การสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นน้อยมาก การไหล ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลาและของไหลเป็น Ideal Fluid
  • 20. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 20
  • 21. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 21 3 สมการพลังงาน (Energy Equation) เนื่องจากสมการ Bernoulli เป็นสมการความสัมพันธ์ของเฮดภายใต้สมมติฐานที่ไม่มีการสูญเสียพลังงานหรือ การแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม แต่ในการไหลจริงของไหลอาจมีการสูญเสียพลังงานให้กับตัวกลาง ระหว่างการเดินทาง (การสูญเสียหลัก) เช่น การไหลในท่อของไหลจะมีการสูญเสียพลังงานให้กับผนังท่ออันเนื่องมาจาก แรงเสียดทานหรือของไหลอาจเกิดการสูญเสียพลังงานจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างกระทันหัน (การสูญเสียรอง) เช่น การไหลในท่อบริเวณวาล์ว และข้องอต่างๆหรือของไหลอาจเคลื่อนที่ผ่านอุปกรณ์ที่สามารถเพิ่มพลังงานให้กับระบบ หรือตึงพลังงานออกจากระบบ (Pump and turbine) ดังนั้นในหัวข้อนี้จะเป็นการประยุกต์สมการพลังงานของ Bernoulli กับการไหลในสถานการณ์ต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา
  • 22. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 22 3.1 การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ (Head loss) การสูญเสียเฮดสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ o การสูญเสียหลัก (Major loss) เป็นการสูญเสียเฮดที่เกิด จากแรงเสียดทานบริเวณผนังท่อหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า การสูญเสียเนื่องจากความฝืด สัญลักษณ์ที่ใช้คือ hf o การสูญเสียรอง (Minor loss) เป็นการสูญเสียเฮดที่ เกิดขึ้นบริเวณที่ความเร็วของของไหลมีการเปลี่ยนแปลง อย่างกะทันหัน ซึ่งการสูญเสียเฮดประเภทนี้มักจะเกิดขึ้น บริเวณจุดเชื่อมต่อ ทางเข้าออกหรือจุดที่มีอุปกรณ์ ประกอบต่าง ๆ (Fitting Devices) เช่นข้อต่อ ข้องอ ต่างๆ วาล์ว เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้คือ hm รูป การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ
  • 23. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 23 รูป การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงาน และ ระดับชลศาสตร์ ของการไหลในท่อ
  • 24. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 24 ตัวอย่าง 5 จากรูปจงวาดเส้นกราฟระดับพลังงาน และระดับชลศาสตร์ของระบบท่อส่งน้าที่จุดต่าง ๆ
  • 25. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 25
  • 26. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 26
  • 27. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 27
  • 28. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 28
  • 29. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 29
  • 30. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 30 ตัวอย่าง 6 ต้องการถ่ายน้าจากถังใบที่ 1ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยระบบท่อลักษณะดังรูปถ้าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อเท่ากับ 2.5 c.m. การสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรอง เป็นไปตามที่ระบุไว้ในรูป จงหาอัตราการไหลของน้า และความดันที่จุด D
  • 31. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 31
  • 32. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 32 3.2 เครื่องสูบ (Pump) รูป การเปลี่ยนแปลงเฮดพลังงานเมื่อของไหลผ่านเครื่องสูบ เครื่องสูบน้า เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกล (hp) ที่ได้ รับมาจากแหล่งพลังงานเช่น มอเตอร์ให้กลายเป็นพลังงานของ ของไหล (HP) ดังนั้น เมื่อของไหลหรือระบบไหลผ่านเครื่องสูบ เฮดพลังงานรวมของระบบจะเพิ่มสูงขึ้น
  • 33. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 33 ตัวอย่าง 7 ระบบสูบน้าถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป ต้องการสูบน้าจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยอัตรา 0.594 ลบ.ม./วินาที ถ้าหากสูญเสียพลังงานเป็นไป ตามที่ระบุไว้ในรูปและเครื่องสูบน้ามีประสิทธิภาพ 60 % จงหากาลังงานที่ใช้ในการสูบน้า
  • 34. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 34
  • 35. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 35 3.3 กังหัน (Turbine) รูป การเปลี่ยนแปลงเฮดพลังงานเมื่อของไหลไหลผ่านกังหัน กังหันน้า เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานของ ของไหล (HP) ให้กลายเป็นพลังงานกล (hT) เพื่อนาไปใช้กับ กิจกรรมต่าง ๆ เช่น ส่งพลังงานที่ได้ให้กับเครื่องกาเนิด กระแสไฟฟ้า ดังนั้น เมื่อของไหลหรือระบบไหลผ่านเครื่องสูบ เฮดพลังงานรวมของระบบจะลดต่าลง ดังรูป
  • 36. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 36 ตัวอย่าง 8 อ่างเก็บน้าแห่งหนึ่ง มีระดับน้าในอ่าง +150 ม. ระดับน้า ท้ายเขื่อนอยู่ที่ +65 ม. ต้องการปั่นเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า โดยการ ปล่อยน้าผ่านกังหันน้า ด้วยอัตราการไหล 0.594 cms ถ้าการสูญเสีย พลังงาน เป็นไปตามที่ระบุไว้ในรูป และประสิทธิภาพของกังหันน้า เท่ากับ 75 % จงหากาลังงานที่เครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้าได้รับจาก กังหันน้า
  • 37. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 37
  • 38. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 38 4 สมการโมเมนตัมเชิงเส้น (Linear Momentum Equation) พิจารณาการเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม โดยสมมติให้การไหลมีเพียงทิศทางเดียว และไม่ มีการไหลทางด้านข้างดังรูปที่ 13 รูป การเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม เป็นการแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบ โดยรูปที่ (ก) เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับ อัตราการไหล ความเร็ว และ โมเมนตัม ที่ไหลผ่านปริมาตร ควบคุม ส่วนรูปที่ (ข) พิจารณาเฉพาะ แรงภายนอกที่กระทากับระบบ
  • 39. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 39 ซึ่งสมการ ก็คือ สมการโมเมนตัม (Momentum Equation) ของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) ภายใต้ การไหลที่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady stage)
  • 40. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 40 ตัวอย่าง 8 จากรูปเป็นท่อ 2 ขนาดเชื่อมต่อกัน มีน้าไหลอยู่ภายในด้วย อัตรา 0.30 ลบ.ม./วินาที ความดันที่จุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 10 kPa จงหาขนาด และทิศทางของแรงที่กระทาบริเวณข้อต่อ โดยแบ่งเป็น 2 กรณีคือ - การไหลไม่มีสูญเสียพลังงาน - การสูญเสียพลังงานมีค่าเท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ที่หน้าตัด A
  • 41. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 41
  • 42. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 42
  • 43. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 43
  • 44. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 44 สมการโมเมนตัมกับการไหลหลายทิศทาง จากการไหลที่มีทางเข้าออกหลายทาง ดังรูป จะเห็นได้ว่า การวิเคราะห์มี ความยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้นในการวิเคราะห์ปัญหาลักษณะดังกล่าว ควร แยกพิจารณาการไหลเข้า - ออก และผลรวมของแรง โดยอิงกับระบบพิกัด ฉากซึ่งจากสมการจะได้สมการโมเมนตัมที่ใช้ในการวิเคราะห์การไหลใน หลายทิศทางได้ดังนี้
  • 45. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 45 ตัวอย่าง 10 น้าไหลผ่านข้อต่อสามทางที่วางในแนวราบ ถ้าความดันที่ จุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 150 kPa จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่เกิดขึ้น โดยสมมติให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก
  • 46. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 46
  • 47. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 47
  • 48. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 48
  • 49. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 49 ตัวอย่าง 11 จงหาขนาด และทิศทางของแรงกระทาที่เกิด ขึ้นกับข้องอดังรูป เมื่อของไหลภายในท่อคือน้า และการสูญเสีย พลังงานระหว่างจุดที่ 1 กับจุดที่ 2 เท่ากับ 1.12 ม.
  • 50. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 50
  • 51. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 51
  • 52. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 52
  • 53. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 53 5. สมการโมเมนตัมกับปริมาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ (Momentum equation for moving control volume) พิจารณาการพุ่งของลาน้ากระทบกับวัตถุโค้งที่กาลังเคลื่อนที่ ดังรูป (ก) แรงที่แผ่นวัตถุกระทากับของไหล ทาให้ความเร็วสัมบูรณ์ของการไหลเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือมีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม และเมื่อพิจารณาผลต่าง ของ ความเร็วสัมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในรูปเวกเตอร์ จะได้ว่า
  • 54. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 54 ความสัมพันธ์ในสมการ หมายความว่า ผลต่างของความเร็วสัมบูรณ์จะมีค่าเท่ากับผลต่างของความเร็วสัมพัทธ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า สามารถวิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้นโดยใช้ผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมพัทธ์ได้แทนที่จะมี วิเคราะห์จากผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมบูรณ์ ซึ่งทาได้ยากกว่า รูป การวิเคราะห์ความเร็วสัมพัทธ์ และแรง ที่เกิดกับกรณีของไหลพุ่งกระทบกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ในกรณีของไหลพุ่งกระทบกับแผ่นวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงของเฮดระดับมีค่า น้อยมากเมื่อเทียบกับเฮดอื่น ๆ ความเร็วสัมพัทธ์ของการไหลออกจากปริมาตรควบคุม จะใกล้เคียงกับความเร็วสัมพัทธ์ของการ ไหลเข้าปริมาตรควบคุม ดังนั้นการวิเคราะห์การไหล และแรงที่เกิดขึ้นจึงมีลักษณะดังรูป
  • 55. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 55 สมการ คือแรงที่แผ่นวัตถุกระทากับกระทากับของไหล ถ้าต้องการหาค่าของแรงกระแทกที่ของไหลกระทากับแผ่นวัตถุ แรงนั้นก็ คือแรงปฏิกิริยาของแรงที่คานวณได้จากสมการ
  • 56. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 56 ตัวอย่าง 13 ลาน้าพุ่งออกจากหัวฉีดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm ด้วยความเร็ว 10 m/s กระทบแผ่นผิวโค้งทามุม 45 ° กับแนวราบ ถ้าขนาดของมวล M มีค่าเท่ากับ 1 kg จงหาความเร็วของรถ (u) โดยสมมติให้ไม่มีการสูญเสียพลังงาน
  • 57. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 57
  • 58. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube