SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา
(Sanitary Engineering and Water Supply)
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า
(Slow Sand Filtration)
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 5
ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การผลิตน้้าสะอาดโดยใช้วิธีกรองด้วยทรายมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1804 ที่ประเทศสก็อตแลนด์ โดยนายจอห์น
กิบบ์ เพื่อใช้น้้าส้าหรับอุตสาหกรรมฟอกสีและขายน้้าที่ผลิตได้เกินให้แก่ชุมชนด้วย จากนั้นได้พัฒนาต่อมาเพื่อใช้ส้าหรับ
ผลิตน้้าประปาในการสาธารณูปโภค การกรองน้้าได้แพร่หลายไปโดยรวดเร็วเมื่อพบว่าน้้าที่ผ่านการกรองนั้นสามารถ
ก้าจัดเชื้อโรคซึ่งเกิดจากน้้าเป็นพาหะได้
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
โครงสร้างของระบบทรายกรองช้า
ส่วนเก็บกัก (Supernatant Water Reservoir)
ชั้นทรายกรอง (Sand Layers)
ระบบประตูน้้าควบคุมการไหล (control valves)
ระบบท่อรับน้้ากรอง (Under-Drainage System)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ที่ผิวหน้าของชั้นทรายจะมีสิ่งสกปรกสะสมอยู่เป็นชั้นฟิล์มบางๆ
ซึ่งเรียกว่า ชมุทเดกเก (schnutzdecke) เป็นชั้นเมือกปกคลุมหน้า
ทราย ซึ่งน้้าดิบจะต้องซึมผ่านก่อนจะไหลซึมลงสู่ชั้นทรายจริงๆ เมือก
นี้ประกอบด้วย แอลจีและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น แพลงตอน ไดอะตอม
โปรโตซัว โรติเฟอร์ และ แบกทีเรีย จุลินทรีย์เหล่านี้จะท้าการย่อย
สลายสารอินทรีย์ที่น้้าพามา ซากแอลจีรวมทั้งแบกทีเรียที่ยังมีชีวิตที่มี
อยู่ในน้้าดิบจะถูกดูดซับไว้ในชั้นเมือกนี้ ดังนั้น ระบบกรองแบบ
ชีววิทยา (Biological filter)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การก้าจัดสิ่งปะปนในขั้นทรายกรองที่ได้ผลยิ่งกว่าการกรอง
ผ่านช่องว่างระหว่างเม็ดทรายก็คือการดูดติด (adsorption) ซึ่ง
เป็นผลเนื่องมาจากแรงประจุไฟฟ้า (electrical forces) แรงยึด
เกาะโมเลกุล (chemical bonding) และแรงดึงดูดระหว่างสาร
(mass attraction) การดูดติดนี้เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสของเม็ดทราย
เมื่อน้้าไหล ผ่านพื้นที่ทั้งหมดของผิวสัมผัสนี้มีค่าสูง ทรายปริมาตร
หนึ่งลูกบาศก์เมตรจะมีผิวสัมผัสรวมกันถึง 15,000 ตารางเมตร
น้้าที่ไหลผ่านทรายแต่ละเม็ดจะเปลี่ยนทิศทางการไหลตลอดเวลา
จากเม็ดหนึ่งไปสู่เม็ดหนึ่ง การ เปลี่ยนแปลงทิศทางนี้จะท้าให้เกิด
มีผลจากแรงดึงดูดของโลกและแรงเหวี่ยง (centrifugal force)
ต่อสิ่งปะปน ที่ติดมากับน้้า ท้าให้การดูดติดดีขึ้น
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การออกแบบระบบทรายกรองช้า
• ถ้าให้อัตราก้าลังผลิต (Q) ที่ต้องการเป็น ม.3/ชม. และให้ Vf เป็นอัตราการกรองที่จะก้าหนดให้ใช้
(อยู่ระหว่าง 0.1 - 0.4 ม.3/ชม. - ม.2)
• การท้าความสะอาดทรายกรองนั้น ส่วนมากจะใช้แรงคน โดยเมื่อระบายน้้าออกจากถังหมดแล้ว
คนงานจะลงไปในถังกรองและใช้พลั่วแบนๆ แซะเอาผิวหน้าส่วนที่สกปรกบางๆ ออก ความถี่ในการ
ท้าความสะอาด ทรายกรองนั้นขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้้า โดยปกติแล้วการท้าความสะอาดผิวหน้า
ทรายนี้ควรอยู่ระหว่าง 2-3 เดือน ต่อครั้ง อย่างไรก็ตาม
พื้นที่ถังกรอง
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
• เนื่องจากถังกรองมีพื้นที่กว้างขวางและใช้แรงคนท้าความสะอาด ดังนั้น การท้าความสะอาดแต่ละครั้งจะ
เสียเวลาพอสมควร อาจจะเป็น 1-2 วัน และหลังจากท้าความสะอาดเสร็จใหม่ๆ ก็ยังไม่อาจกรองน้้าใช้ได้ทันที
ต้องทิ้งน้้ากรองในระยะแรกไปบ้างก่อนที่ระบบจะด้าเนินได้โดยสมบูรณ์ และมีชั้นเมือกเกิดขึ้นบ้างแล้ว ดังนั้น
การออกแบบที่ถูกต้องจะต้องให้มีถังกรองอย่างน้อย 2 ชุด ขณะที่ชุดหนึ่งอยู่ในระหว่างท้าความสะอาดก็จะได้ใช้
อีกชุดหนึ่งผลิตน้้าหรืออาจหาจ้านวนถังกรองได้จากสูตร
n = Q/4
เมื่อ n เป็นจ้านวนถังกรองและมีค่าไม่น้อยกว่า 2
Q เป็นอัตราการผลิต ม.3/ชม.
Sanitary Engineering and Water Supply
ชั้นทรายกรอง (Sand Bed)
เนื่องจากทรายกรองที่ใช้มีปริมาณมหาศาล ดังนั้น จึงไม่ต้องท้าการคัดขนาดเพราะจะเสียค่าใช้จ่ายสูง ใช้ทราย
ธรรมชาติที่ชุดจากแหล่งมาใช้ได้เลย และจากการที่ไม่ได้ใช้วิธีล้างกลับ (backwash) แบบระบบทราย กรองเร็วจึงไม่เกิด
ปัญหาการแยกตัวออกเป็นชั้นๆ แต่ถึงอย่างไรก็ดี ขนาดและความสม่้าเสมอของเม็ดทรายต้องอยู่ในมาตรฐานที่วางไว้เพื่อให้
ได้ช่องว่างที่เพียงพอกับอัตราการกรอง
ทรายกรองที่ดีจะต้องแข็ง ทนทาน กลม สะอาด ปราศจากฝุ่นผงหรือสารอินทรีย์ปะปน ของขนาดประสิทธิผล
(effective size, ES) และสัมประสิทธิความสม่้าเสมอ (uniformity coefficient, U.C.) ซึ่งหาได้มาจากการทดสอบร่อน
ด้วยตะแกรง (sieve analysis) โดยเอาตัวอย่างทรายจ้านวนหนึ่งมาร่อนด้วย ตะแกรงขนาดต่างๆ แล้วชั่งน้้าหนักทรายที่
ค้างอยู่ในตะแกรงแต่ละชั้น จากนั้นจึงค้านวณหาน้้าหนักสะสมของ ทรายที่สามารถหลุคผ่านพ้นตะแกรงแต่ละชั้นไปได้
ในระบบทรายกรองช้า ค่า effective size ของทรายกรองอยู่ระหว่าง 0.15-0.35 มม. และค่า uniformity
coefficient ไม่ควรเกิน 2.5
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่างการหาขนาดและความสม่่าเสมอของเม็ดทราย
ผลที่ได้จากการทดสอบร่อนด้วยตะแกรง มีดังนี้
ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้่าหนักสะสมเป็นเปอร์เซนต์ที่ผ่านพ้นได้
0.3 0.10
0.4 1.80
0.5 10.00
0.7 48.00
0.75 60.00
1.0 90.00
1.3 99.00
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ความหนาของชั้นทรายเมื่อแรกเริ่มนั้นไม่ควรน้อยกว่าหนึ่งเมตร ทั้งนี้เพราะเมื่อเวลาท้าความสะอาด ผิวหน้าทรายจะ
ถูกแซะออกไปด้วยราว 1-2 ชม. ถ้าท้าความสะอาดทุกระยะสองเดือน จะท้าให้ระดับทรายลดลงไปปีละประมาณ 9-10
ซม. ความหนาของชั้นทรายจะอนุโลมให้เหลือได้น้อยที่สุด 60 ซม. ดังนั้น อาจกินระยะเวลาราวสี่ปีที่จะต้องมีการน้าทราย
ใหม่มาเติมให้มีความหนาเท่าเดิม
Sanitary Engineering and Water Supply
กรวดไม่ได้ท้าหน้าที่กรองให้น้้าสะอาดขึ้นแต่อย่างใด แต่ช่วยในการรองรับชั้นทรายกรองมิให้ไหลลงมา อุดตันใน
ระบบท่อรับน้้ากรองเบื้องล่าง และท้าให้น้้าไหลเข้าสู่ระบบรับน้้ากรองด้วยความสม่้าเสมอ
กรวดแบ่งออกเป็นชั้นๆ โดยกรวดขนาดเล็กอยู่ด้านบน และกรวดขนาดใหญ่สุดอยู่ที่พื้นล่าง ขนาดของกรวดชั้นล่างนี้
จะต้องใหญ่กว่าช่องเปิดรับน้้าอย่างน้อยสองเท่า กรวดที่ใช้ควรมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ ทราย คือ กลม แข็ง สะอาด
ปราศจากฝุ่นผง การทดสอบคุณภาพอาจท้าได้โดยการแช่กรวดไว้ในกรดเกลือ เข้มข้นเป็นเวลา 24 ชั่วโมง น้้าหนักของ
กรวดที่หายไปภายหลังการแช่ไม่ควรเกิน 5 เปอร์เซนต์
ชนิดของกรวดและความหนาของชั้น มีดังนี้
ชั้นบนสุดขนาด 0.74-1.4 มม. ความหนา 6 ซม.
ขั้นที่สองขนาด 2-4 มม. ความหนา 6 ซม.
ชั้นที่สองขนาด 6-12 มม. ความหนา 6 ซม.
ชั้นล่างสุดขนาด 18-36 มม. ความหนา 12 ซม.
ชั้นกรวด (Gravel Bed)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ระบบนี้อยู่ที่ส่วนล่างสุดของถังกรอง จึงไม่อาจ
มองเห็นได้เมื่อสร้างเสร็จและใช้งานแล้ว การ
ตรวจสอบหรือท้าความสะอาดใดๆ กระท้าได้ยาก
หรือต้องรื้อชั้นทรายข้างบนออกหมด ดังนั้น จึงต้อง
ออกแบบและสร้างด้วยความระมัดระวัง ปัญหาที่อาจ
เกิดขึ้นคือการอุดตัน ถ้าช่องเปิดรับน้้านั้นมีขนาดเล็ก
เกินไป
ระบบรับน้่ากรอง (Underdrainage System)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumรายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumIntouchYiengsuppanon
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1fuangfa
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นPhakanan Boonpithakkhet
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศWan Kanlayarat
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 

What's hot (20)

ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumรายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ทวีป Europe
ทวีป Europeทวีป Europe
ทวีป Europe
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 

บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป

  • 1. อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply) บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration)
  • 2. Sanitary Engineering and Water Supply ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration)
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 4. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การผลิตน้้าสะอาดโดยใช้วิธีกรองด้วยทรายมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1804 ที่ประเทศสก็อตแลนด์ โดยนายจอห์น กิบบ์ เพื่อใช้น้้าส้าหรับอุตสาหกรรมฟอกสีและขายน้้าที่ผลิตได้เกินให้แก่ชุมชนด้วย จากนั้นได้พัฒนาต่อมาเพื่อใช้ส้าหรับ ผลิตน้้าประปาในการสาธารณูปโภค การกรองน้้าได้แพร่หลายไปโดยรวดเร็วเมื่อพบว่าน้้าที่ผ่านการกรองนั้นสามารถ ก้าจัดเชื้อโรคซึ่งเกิดจากน้้าเป็นพาหะได้
  • 5. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply โครงสร้างของระบบทรายกรองช้า ส่วนเก็บกัก (Supernatant Water Reservoir) ชั้นทรายกรอง (Sand Layers) ระบบประตูน้้าควบคุมการไหล (control valves) ระบบท่อรับน้้ากรอง (Under-Drainage System)
  • 6. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply
  • 7. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ที่ผิวหน้าของชั้นทรายจะมีสิ่งสกปรกสะสมอยู่เป็นชั้นฟิล์มบางๆ ซึ่งเรียกว่า ชมุทเดกเก (schnutzdecke) เป็นชั้นเมือกปกคลุมหน้า ทราย ซึ่งน้้าดิบจะต้องซึมผ่านก่อนจะไหลซึมลงสู่ชั้นทรายจริงๆ เมือก นี้ประกอบด้วย แอลจีและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น แพลงตอน ไดอะตอม โปรโตซัว โรติเฟอร์ และ แบกทีเรีย จุลินทรีย์เหล่านี้จะท้าการย่อย สลายสารอินทรีย์ที่น้้าพามา ซากแอลจีรวมทั้งแบกทีเรียที่ยังมีชีวิตที่มี อยู่ในน้้าดิบจะถูกดูดซับไว้ในชั้นเมือกนี้ ดังนั้น ระบบกรองแบบ ชีววิทยา (Biological filter)
  • 8. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การก้าจัดสิ่งปะปนในขั้นทรายกรองที่ได้ผลยิ่งกว่าการกรอง ผ่านช่องว่างระหว่างเม็ดทรายก็คือการดูดติด (adsorption) ซึ่ง เป็นผลเนื่องมาจากแรงประจุไฟฟ้า (electrical forces) แรงยึด เกาะโมเลกุล (chemical bonding) และแรงดึงดูดระหว่างสาร (mass attraction) การดูดติดนี้เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสของเม็ดทราย เมื่อน้้าไหล ผ่านพื้นที่ทั้งหมดของผิวสัมผัสนี้มีค่าสูง ทรายปริมาตร หนึ่งลูกบาศก์เมตรจะมีผิวสัมผัสรวมกันถึง 15,000 ตารางเมตร น้้าที่ไหลผ่านทรายแต่ละเม็ดจะเปลี่ยนทิศทางการไหลตลอดเวลา จากเม็ดหนึ่งไปสู่เม็ดหนึ่ง การ เปลี่ยนแปลงทิศทางนี้จะท้าให้เกิด มีผลจากแรงดึงดูดของโลกและแรงเหวี่ยง (centrifugal force) ต่อสิ่งปะปน ที่ติดมากับน้้า ท้าให้การดูดติดดีขึ้น
  • 9. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การออกแบบระบบทรายกรองช้า • ถ้าให้อัตราก้าลังผลิต (Q) ที่ต้องการเป็น ม.3/ชม. และให้ Vf เป็นอัตราการกรองที่จะก้าหนดให้ใช้ (อยู่ระหว่าง 0.1 - 0.4 ม.3/ชม. - ม.2) • การท้าความสะอาดทรายกรองนั้น ส่วนมากจะใช้แรงคน โดยเมื่อระบายน้้าออกจากถังหมดแล้ว คนงานจะลงไปในถังกรองและใช้พลั่วแบนๆ แซะเอาผิวหน้าส่วนที่สกปรกบางๆ ออก ความถี่ในการ ท้าความสะอาด ทรายกรองนั้นขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้้า โดยปกติแล้วการท้าความสะอาดผิวหน้า ทรายนี้ควรอยู่ระหว่าง 2-3 เดือน ต่อครั้ง อย่างไรก็ตาม พื้นที่ถังกรอง
  • 10. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply • เนื่องจากถังกรองมีพื้นที่กว้างขวางและใช้แรงคนท้าความสะอาด ดังนั้น การท้าความสะอาดแต่ละครั้งจะ เสียเวลาพอสมควร อาจจะเป็น 1-2 วัน และหลังจากท้าความสะอาดเสร็จใหม่ๆ ก็ยังไม่อาจกรองน้้าใช้ได้ทันที ต้องทิ้งน้้ากรองในระยะแรกไปบ้างก่อนที่ระบบจะด้าเนินได้โดยสมบูรณ์ และมีชั้นเมือกเกิดขึ้นบ้างแล้ว ดังนั้น การออกแบบที่ถูกต้องจะต้องให้มีถังกรองอย่างน้อย 2 ชุด ขณะที่ชุดหนึ่งอยู่ในระหว่างท้าความสะอาดก็จะได้ใช้ อีกชุดหนึ่งผลิตน้้าหรืออาจหาจ้านวนถังกรองได้จากสูตร n = Q/4 เมื่อ n เป็นจ้านวนถังกรองและมีค่าไม่น้อยกว่า 2 Q เป็นอัตราการผลิต ม.3/ชม.
  • 11. Sanitary Engineering and Water Supply ชั้นทรายกรอง (Sand Bed) เนื่องจากทรายกรองที่ใช้มีปริมาณมหาศาล ดังนั้น จึงไม่ต้องท้าการคัดขนาดเพราะจะเสียค่าใช้จ่ายสูง ใช้ทราย ธรรมชาติที่ชุดจากแหล่งมาใช้ได้เลย และจากการที่ไม่ได้ใช้วิธีล้างกลับ (backwash) แบบระบบทราย กรองเร็วจึงไม่เกิด ปัญหาการแยกตัวออกเป็นชั้นๆ แต่ถึงอย่างไรก็ดี ขนาดและความสม่้าเสมอของเม็ดทรายต้องอยู่ในมาตรฐานที่วางไว้เพื่อให้ ได้ช่องว่างที่เพียงพอกับอัตราการกรอง ทรายกรองที่ดีจะต้องแข็ง ทนทาน กลม สะอาด ปราศจากฝุ่นผงหรือสารอินทรีย์ปะปน ของขนาดประสิทธิผล (effective size, ES) และสัมประสิทธิความสม่้าเสมอ (uniformity coefficient, U.C.) ซึ่งหาได้มาจากการทดสอบร่อน ด้วยตะแกรง (sieve analysis) โดยเอาตัวอย่างทรายจ้านวนหนึ่งมาร่อนด้วย ตะแกรงขนาดต่างๆ แล้วชั่งน้้าหนักทรายที่ ค้างอยู่ในตะแกรงแต่ละชั้น จากนั้นจึงค้านวณหาน้้าหนักสะสมของ ทรายที่สามารถหลุคผ่านพ้นตะแกรงแต่ละชั้นไปได้ ในระบบทรายกรองช้า ค่า effective size ของทรายกรองอยู่ระหว่าง 0.15-0.35 มม. และค่า uniformity coefficient ไม่ควรเกิน 2.5
  • 12. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่างการหาขนาดและความสม่่าเสมอของเม็ดทราย ผลที่ได้จากการทดสอบร่อนด้วยตะแกรง มีดังนี้ ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้่าหนักสะสมเป็นเปอร์เซนต์ที่ผ่านพ้นได้ 0.3 0.10 0.4 1.80 0.5 10.00 0.7 48.00 0.75 60.00 1.0 90.00 1.3 99.00
  • 13. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ความหนาของชั้นทรายเมื่อแรกเริ่มนั้นไม่ควรน้อยกว่าหนึ่งเมตร ทั้งนี้เพราะเมื่อเวลาท้าความสะอาด ผิวหน้าทรายจะ ถูกแซะออกไปด้วยราว 1-2 ชม. ถ้าท้าความสะอาดทุกระยะสองเดือน จะท้าให้ระดับทรายลดลงไปปีละประมาณ 9-10 ซม. ความหนาของชั้นทรายจะอนุโลมให้เหลือได้น้อยที่สุด 60 ซม. ดังนั้น อาจกินระยะเวลาราวสี่ปีที่จะต้องมีการน้าทราย ใหม่มาเติมให้มีความหนาเท่าเดิม
  • 14. Sanitary Engineering and Water Supply กรวดไม่ได้ท้าหน้าที่กรองให้น้้าสะอาดขึ้นแต่อย่างใด แต่ช่วยในการรองรับชั้นทรายกรองมิให้ไหลลงมา อุดตันใน ระบบท่อรับน้้ากรองเบื้องล่าง และท้าให้น้้าไหลเข้าสู่ระบบรับน้้ากรองด้วยความสม่้าเสมอ กรวดแบ่งออกเป็นชั้นๆ โดยกรวดขนาดเล็กอยู่ด้านบน และกรวดขนาดใหญ่สุดอยู่ที่พื้นล่าง ขนาดของกรวดชั้นล่างนี้ จะต้องใหญ่กว่าช่องเปิดรับน้้าอย่างน้อยสองเท่า กรวดที่ใช้ควรมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ ทราย คือ กลม แข็ง สะอาด ปราศจากฝุ่นผง การทดสอบคุณภาพอาจท้าได้โดยการแช่กรวดไว้ในกรดเกลือ เข้มข้นเป็นเวลา 24 ชั่วโมง น้้าหนักของ กรวดที่หายไปภายหลังการแช่ไม่ควรเกิน 5 เปอร์เซนต์ ชนิดของกรวดและความหนาของชั้น มีดังนี้ ชั้นบนสุดขนาด 0.74-1.4 มม. ความหนา 6 ซม. ขั้นที่สองขนาด 2-4 มม. ความหนา 6 ซม. ชั้นที่สองขนาด 6-12 มม. ความหนา 6 ซม. ชั้นล่างสุดขนาด 18-36 มม. ความหนา 12 ซม. ชั้นกรวด (Gravel Bed)
  • 15. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ระบบนี้อยู่ที่ส่วนล่างสุดของถังกรอง จึงไม่อาจ มองเห็นได้เมื่อสร้างเสร็จและใช้งานแล้ว การ ตรวจสอบหรือท้าความสะอาดใดๆ กระท้าได้ยาก หรือต้องรื้อชั้นทรายข้างบนออกหมด ดังนั้น จึงต้อง ออกแบบและสร้างด้วยความระมัดระวัง ปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นคือการอุดตัน ถ้าช่องเปิดรับน้้านั้นมีขนาดเล็ก เกินไป ระบบรับน้่ากรอง (Underdrainage System)
  • 16. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube