SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา
(Sanitary Engineering and Water Supply)
บทที่ 6 ระบบประปาทรายกรองเร็ว
(Rapid Sand Filtration)
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 6
ระบบประปาทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ระบบทรายกรองช้า ใช้ค่าใช้จ่ายในการ
ด่าเนินงานต่่าและง่ายในการดูแลรักษา แต่ก็มี
ขีดจ่ากัดคือไม่เหมาะสมส่าหรับแหล่งน่าที่มี
ความขุ่นสูง และต้องใช้พืนที่มาก ดังนัน ระบบ
ทรายกรองเร็วจึงถูกคิดค้นขึนส่าหรับใช้กับแหล่ง
น่าผิวดิน เช่น แม่น่า ซึ่งจัดว่าเป็นแหล่งน่า
ส่าคัญในการท่าประปา การประปาทรายกรอง
เร็วแห่งแรกสร้างขึนในปี ค.ศ. 1909 ที่ มลรัฐนิว
เจอร์ซี่ สหรัฐอเมริกา ผู้ออกแบบคือ นายจอร์จ
ฟุลเลอร์
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ขั้นตอนของระบบทรายกรองเร็ว
การผสมเร็ว (Rapid Mixing)
การรวมตะกอน (Flocculation)
การกรอง (Filtration)
การตกตะกอน (Sedimentation)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การผสมเร็ว (Rapid Mixing)
รูป การทดลอง Jar Test
ความลาดชันความเร็ว (velocity gradient) คือ
ความเร็วที่แตกต่างของมวลน่าที่เคลื่อนที่ภายในถังผสม
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การผสมเร็ว (Rapid Mixing)
แบบไฮดรอลิคจัมป์ (Hydraulic Jump)
แบบแผ่นกันวกวน (Baffles)
แบบเครื่องกล (Mechanical Mixer)
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบไฮดรอลิ
ค
จั
ม
ป์
(Hydraulic
Jump)
แบบแผ่
น
กั
น
วกวน
(Baffles)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบเครื
่
อ
งกล
(Mechanical
Mixer)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่าง จงออกแบบขนาดและก่าลังงานของถังผสมเร็วเพื่อใช้ในการผสมสารส้มกับน่าดิบซึ่งมีอัตราการไหล
20,000 ม.3 /วัน
อัตราการไหล Q = 20,000 x 103 = 231.5 ลิตร/วินาที
ให้ระยะเวลาผสม (detention time) t = 30 วินาที
จาก V = Q . t
ดังนัน ปริมาตรถังผสม = 231.5 x 30 x 10-3 = 6.9 ม.3
ใช้ขนาดถังผสม 1.6 x 1.6 ม.2 ลึก 2 เมตร โดยมี free board 0.3 ม.
ก่าหนดใช้ก่าลังงาน 5 วัตต์ต่อน่า 1 ลิตร/วินาที
ดังนัน ก่าลังงานที่ต้องการ = Q X 5 วัตต์ = 231.5 x 5 วัตต์ = 1158 วัตต์
24 x 60 x 60
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การรวมตะกอน (Flocculation)
หลังจากสารเคมีผสมเข้ากับน่าดิบแล้ว จะ
เกิดมีตะกอนวุ้นหรือฟล็อก (floc) เล็กๆ จ่านวน
มาก ฟล็อกกับน่าดิบจะไหลเข้าสู่ถังรวมตะกอน
(flocculation tank) ซึ่งมีกรรมวิธีที่จะท่าให้
ตะกอนฟล็อกเล็กๆ เหล่านีรวมตัวกันเข้าเป็น
ตะกอนใหญ่ และดูดซับเอาสิ่งปะปนทังหลายใน
น่าดิบไว้จนมีน่าหนักพอเพียงที่จะจมตัวลงได้
การที่จะท่าให้ตะกอนรวมตัวกันนัน อาศัยหลักการที่ว่าถ้า
ตะกอนทังหลายไหลไปพร้อมกับน่าในอัตราความเร็วเดียวกัน ด้วย
ความเร็วสม่่าเสมอ โอกาสที่ตะกอนจะเข้าใกล้กันหรือกระทบกัน
เพื่อเกิดเป็นตะกอนใหญ่จะไม่เกิดขึน ดังนัน จึงต้องปรับให้น่าไหล
โดยมีอัตราความเร็วแตกต่างกันหรือมี velocity gradient ดังที่
อธิบายไว้แล้วในเรื่องการผสมเร็ว
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Baffle flocculator)
ส่าหรับ Hydraulic flocculator ซึ่ง G ได้มาจากการไหลผ่านแผ่นกัน (baffle) หรือ
ไหลในท่อ ค่า energy ที่ได้รับ (P) จะเป็น
P = Q p gh
ดังนัน G = 𝑃 / 𝑢𝑉 = 𝑄𝑝𝑔ℎ/𝑢𝑉 = 𝑝𝑔ℎ / 𝑢𝑡
ถ้าให้ n เป็นจ่านวนช่องที่น่าไหล ดังนัน จ่านวนแผ่นกัน (baffle) จะเท่ากับ n-
1 แผ่น จะได้
Head loss (H) = NV1
2 /2g + (n-1)V2
2 /2g
เมื่อ V1 เป็น ความเร็วในช่องแผ่นกัน V2 เป็น ความเร็วระหว่างอ้อมแผ่นกัน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่าง น่าไหลผ่านช่องแผ่นกันด้วยความเร็ว 15 ชม./วินาที และอ้อมปลายแผ่นกันด้วยความเร็ว 60 ซม./วินาที
ถ้ามีแผ่นกันทังหมด 19 แผ่น ให้หา
ก. Loss of head
ข. ก่าลังงานที่ใช้ในการรวมตะกอน
ค. ค่า G
เมื่ออัตราการผลิต (Q) = 280 ลิตร/วินาที, Detention time 30 นาที และค่า u = 10-3 N.S/m2
วิธีทา
H = NV1
2 /2g + (n-1]V2 /2g
= 20x(0.15)2 /2x9.81 + 19(0.6)2 /2x9.81
= 0.373 เมตร
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
P = Q p gH
= 0.28x 1000x9.81x0.373
= 1035 วัตต์
= 1035/746 = 1.388 H.P
G = 𝑃 / 𝑢𝑉 = 𝑝𝑔ℎ / 𝑢𝑡
= 1000x9.81 xO.373/10-3 x 1,800
= 45 วินาที-1
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่างการออกแบบถังรวมตะกอน แบบแผ่นกั้นวกวน (baffle)
จงออกแบบถังท่าตะกอนแบบแผ่นกัน (baffle) ชนิดแนวนอน (round the end) โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี
ปริมาตรของน่าที่ผลิตแต่ละวัน 12,000,000 ลิตร
ระยะเวลาท่าตะกอน (detention period) 20 นาที
ความเร็วเฉลี่ยของการไหล 22.5 ซม./วินาที
การคานวณ
จากปริมาณของน่าที่ขังอยู่ในถังท่าตะกอน = Qt
= 1.2x107x20 ลิตร
ดังนัน ปริมาตรของถังท่าตะกอน = 167 ม.3
24 x 60
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
จาก detention time 20 นาที ความเร็ว 0.225 ม./วินาที
..ระยะทางการไหล (L) = 20x60x0.225 ม.
= 270 ม.
พืนที่หน้าตัดของช่องน่าไหล = 167 ม.2
270
= 0.618 ม.2
ให้ระยะห่างระหว่างแผ่น baffle = 0.45 ม.
...ความลึกของน่า = 0.618 ม.
= 1.37 ม.
0.45
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ให้ถังท่าตะกอนแบ่งออกเป็น 2 ซีก โดยมีผนังกันกลางตลอดความยาวและความกว้างของแต่ละด้าน 3 ม. ถ้าระยะ
ระหว่างปลาย baffle กับผนังริมเป็น 1.5 เท่า ของระยะระหว่าง baffle หรือ = 1.5x0.45 = 0.675 ม.
ดังนัน ความยาวที่ใช้ประโยชน์ในแต่ละช่อง = 3.0-0.675 ม.
= 2.325 ม.
จ่านวนช่องน่าไหลส่าหรับความยาว 270 ม. = 270 = 116 ช่อง
หรือแต่ละด้านจะมี 58 ช่อง
ความยาวของถังเมื่อไม่นับแผ่น baffle = 58x0.45 ม.
= 26.10 ม.
ถ้าให้แผ่น baffle มีความกว้างแผ่นละ 7.5 ซม.
ดังนัน ความยาวทังหมดของถังท่าตะกอน = 26.10 + (57x0.075) ม.
= 30.37 ม.
2.325
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ประโยชน์ของการกาจัดสิ่งปะปนโดยขบวนการรวมตะกอน
ผลของการรวมตะกอน (flocculation) จะช่วยในการก่าจัด
1.ความขุ่น (turbidity) ทังที่เกิดจากสารอินทรีย์และอนินทรีย์
2. สี (Color) ทัง true และ apparent
3. บักเตรีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์รวมทังเชือโรคอื่นๆ
4. ตะไคร่น่า สาหร่ายและพืชน่าเล็กๆ (plankton organism)
5. สารที่ท่าให้เกิดกลิ่นและรส
6. ฟอสเฟต (phosphate)
สารช่วยในการตกตะกอน (Coagulant Aids)
ปัญหาอย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึนในกระบวนการ
ตกตะกอนก็คือ การจมตัวของตะกอนค่อนข้าง
ช้า หรือการจับตัวของตะกอนวุ้นไม่ดีพอ ตะกอน
แตกตัวง่าย การใช้สารช่วยในการตกตะกอนจะ
ท่าให้ตะกอนจมตัวเร็วขึน และตะกอนไม่แยกตัว
สารดังกล่าวนีได้แก่ polyelectrolyte,
activated silica, adsorbent, weighting
agents และสารพวก oxidant
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การตกตะกอน (Sedimentation)
หลังจากผ่านขบวนการรวมตะกอนแล้ว ตะกอน
วุ้นหรือตะกอนฟล็อก (floc) จะมีขนาดใหญ่ขึนและมี
น่าหนักพอเพียงที่จะจมตัวลง ตะกอนฟล็อกกับน่าจะ
ไหลเข้าสู่ถังตกตะกอน ซึ่งเป็นถังขนาดใหญ่ น่าจะไหล
ในถังอย่างช้าๆ ท่าให้ตะกอนฟล็อกมีโอกาสจมตัวได้
น่าที่ไหลผ่านพ้นถังตกตะกอนจะมีความใสและไหลเข้า
สู่ถังกรอง เพื่อก่าจัดตะกอนฟล็อกเล็กๆ เบาๆ ซึ่งลอย
ติดไปด้วยบางส่วน Inlet Zone Outlet Zone
Settling Zone
Sludge Zone
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ลักษณะการท่างานของถังตกตะกอนแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน
1. ส่วนน่าไหลเข้า (Inlet Zone) วัตถุประสงค์ของส่วนนี เพื่อลดความเร็วของการไหลเข้าสู่ถัง ทังนี
เพื่อมิให้มีความปั่นป่วนเกิดขึน ซึ่งอาจท่าให้ตะกอนฟล็อกแตกตัวและน่าในถังไม่สงบนิ่ง ท่าให้ตะกอน
ไม่จม โดยทั่วไปมักใช้แผ่นกัน (baffle) ขวางไว้เป็นช่วงๆ
2. ส่วนตกตะกอน (Settling Zone) คือปริมาตรส่วนใหญ่ของถัง น่าในส่วนนีจะไหลช้ามาก ตะกอน
ฟล็อกจะค่อยๆ จมตัวลงสู่เบืองล่าง
3. ส่วนตะกอนทับถม (Sludge Zone) คือบริเวณส่วนล่างของถังซึ่งตะกอนจะลงมาทับถมกันอยู่ และ
ถูกระบายทิงต่อไป
4. ส่วนน่าไหลออก (Outlet Zone) มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับส่วนน่าไหลเข้า คือออกแบบให้การไหล
ออกจากถังเป็นไปอย่างราบเรียบ ไม่เร็วเกินไปจนอาจเป็นเหตุให้เกิดการดึงดูดเอาตะกอนบางส่วนติด
ออกไปด้วย
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
รูปแบบถังตกตะกอน
ถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ถังตกตะกอนแบบกลม
ถังตกตะกอนแบบแผ่นสาดเอียง (inclined plate settler)
ถังตกตะกอนแบบไหลขึน (upward flow settling tank)
Sanitary Engineering and Water Supply
จะออกแบบให้น่าไหลเข้าทางปลายด้านหนึ่ง แล้วไหล
ตามแนวนอนไปตามความยาวถังและล้นออกข้ามเวียร์ที่ปลาย
อีกข้างหนึ่ง
น่าดิบจะไหลเข้าตรงกลางถังซึ่งมีส่วนน่าเข้า (inlet) ท่า
หน้าที่กระจายน่าให้ไหลออกอย่างสม่่าเสมอรอบด้าน ข้อ
ได้เปรียบของถังตกตะกอนแบบนีคือความเร็วของน่าแรกเริ่มที่
จุดกลางถังจะเร็วแล้วค่อยๆลดลง จนมีความเร็วต่่าสุดเมื่อไหล
ล้นผ่านเวียร์ที่เส้นรอบขอบถัง ท่าให้การตกของตะกอนดีขึน
โดยทั่วไปพืนล่างของถังกลมจะลาดซัน เพื่อให้ตะกอนไหลลง
มารวมกันที่กลางถังด้านล่างและติดตังเครื่องกวาดตะกอนซึ่งมี
ถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ถังตกตะกอนแบบกลม
Sanitary Engineering and Water Supply
เป็นถังซึ่งมีลักษณะการท่างานโดยรวมเอากระบวนการรวม
ตะกอนและกระบวนการตกตะกอนไว้ด้วยกัน ตัวถังจะเป็นรูป
กรวยหงาย น่าดิบผสมสารส้มจะไหลเข้าทางด้านล่างซึ่งมี
พืนที่หน้าตัดแคบ ดังนัน จะไหลในในอัตราเร็วสูง แต่เมื่อไหลสูงขึน
พืนที่หน้าตัดของการไหลจะเพิ่มขึนความเร็วจะลดลงจนกระทั่งมี
velocity gradient ที่พอเหมาะกับการรวมตะกอนคือจากมากไป
หาน้อย ตะกอนจะมีขนาดใหญ่เพิ่มขึนตามล่าดับ จนเมื่อไหลขึนไป
ได้ราวสองในสามของความสูงของถัง น่าหนักที่เพิ่มขึนของตะกอน
ฟล็อกจะพอดีกันกับแรงยกที่เกิดจากความเร็วของน่าที่ไหลขึน
ตะกอนจะไม่ไหลขึนหรือจมตัวลง แต่จะอยู่คงที่และเกาะตัวกันเป็น
ขันตะกอนซึ่งเรียกว่าชันสลัดจ์ (sludge blanket)
ถังตกตะกอนแบบไหลขึน
(upward flow settling tank)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ถังตกตะกอนที่อาศัยหลักการนีมีหลายลักษณะ เป็นชนิดลา
เมลลา (Lamella) ซึ่งมีการไหลแบบจากบนลงล่าง ภายในถังจะมี
แผ่นรับตะกอนเรียงกันอยู่เป็นแถว ท่ามุมระหว่าง 30 ถึง 45 องศา
เมื่อน่าและตะกอนไหลลงมาจากด้านบน ตะกอนจะตกลงบนแผ่น
รับตะกอนและไหลเลื่อนสะสมกันลงมารวมอยู่ที่ก้นถัง ท่อรับน่า
สะอาดจะอยู่ในช่วงระดับที่ตะกอนแยกตัวออกจากน่าจนหมดแล้ว
ท่อนีจะน่าน่าสะอาดขึนไปถึงรางเปิดรับน่าสะอาดด้านบน
ถังตกตะกอนแบบแผ่นสาดเอียง
(inclined plate settler)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
องค์ประกอบในการออกแบบถังตกตะกอน
เมื่อพิจารณาการไหลของน่าในถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีการไหลตามแนวนอนไป
ตลอดความยาวของถัง จะเห็นได้ว่าการเคลื่อนที่ของตะกอนเป็นไปในสองลักษณะ คือ เคลื่อนที่ตาม
แนวนอนตามการไหลของน่า กับเคลื่อนจมตัวลงตามแรงดึงดูดของโลก ดังนัน ทิศทางที่แท้จริงของการ
เคลื่อนที่ของตะกอนจะเป็นไปในทิศทางของความเร็วรวมที่ได้จากรูปสามเหลี่ยมของความเร็วตามแนวตัง
และแนวนอน
ถ้าถังตกตะกอนมีความลึก h0 และให้ระยะเวลาที่ตะกอนจมตัวลงตลอดความลึกนีเท่ากับ t0
ดังนันความเร็วของตะกอนที่จมตัวลงสู่ก้นถังพอดีจะเป็น V0 ซึ่งมีค่าเท่ากับ h0/t0 ส่าหรับถังตกตะกอนซึ่งมี
พืนที่ผิวน่าเป็น A และอัตราการไหลของน่าในถังเป็น Q จะมีค่าของ v0 = Q/A (ซึ่งก็คือค่า h0/t0 นั่นเอง)
ค่า v0 เรียกว่า ค่าภาระผิว (surface loading) หรือความเร็วน้าล้น (overflow velocity) ของถัง
ตกตะกอน
องค์ประกอบในการออกแบบถังตกตะกอน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
จึงมีความเร็วในการจมตัว vs (setting velocity) ของตะกอนแต่ละชนิดแตกต่างกันไปด้วย
Sanitary Engineering and Water Supply
โดยทั่วไป ถังตกตะกอนรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้าจะมีความกว้างอยู่ระหว่าง
2 ถึง 8 เมตร ส่วนความยาวนันอาจเกิน
กว่า 30 เมตร ก็นิยมสร้างกันอยู่
อัตราส่วนระหว่างความยาวต่อความ
กว้างอยู่ระหว่าง 3 ต่อ 1 ถึง 5 ต่อ 1
และมีความลึกที่เหมาะสมประมาณ 2 ถึง
4 เมตร
ขนาดและการใช้งานของถังตกตะกอนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
Sanitary Engineering and Water Supply
ถังตกตะกอนรูปกลมโดยทั่วไปไม่
นิยมให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เกิน 60
เมตร เพราะไม่สะดวกในการควบคุมการ
ท่างาน ส่วนน่าไหลเข้า (inlet) เป็นรูป
ทรงกระบอกอยู่ที่ศูนย์กลางถัง ลึกจาก
ผิวน่าลงมา 0.5 - 1 เมตร มีช่องกระจาย
น่าอยู่โดยรอบ
ขนาดและการใช้งานของถังตกตะกอนรูปกลม
ความลาดเอียงของก้นถังประมาณ 8% โดยลาดลงสู่แอ่ง
ตะกอน (sludge hopper) กลางถังติดตังเครื่องกวาดตะกอนชนิด
มีแขนกวาด (rake arms) ซึ่งจะหมุนกวาดให้ตะกอนมารวมอยู่ใน
แอ่ง แล้วจึงระบายออก
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่าง จงออกแบบถังตกตะกอนสี่เหลี่ยมผืนผ้าส่าหรับอัตราการผลิตวันละ 1,800 ลบ.เมตร โดยมี
ค่า detention time 3 ชั่วโมง และค่าภาระผิวไม่เกิน 50 ม.3 /วัน-ม.2
การคานวณ
อัตราการผลิต 1,800 ม.3 /วัน = 1,800/24 = 75 ม.3 /ชม.
จาก ปริมาตรถังตกตะกอน = อัตราการผลิต x ระยะเวลาตกตะกอน
= 75 x 3 = 225 ม.3
ก่าหนดความลึก 3.5 เมตร โดยให้ส่วนตะกอนทับถมมีความสูง 0.50 เมตร
ดังนัน ความลึกของส่วนตกตะกอน = 3.50 - 0.50 เมตร
= 3.0 เมตร
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
จะได้พืนที่ผิวน่า = ปริมาตรถัง/ความลึก
= 225/3.0 ตร.ม.
= 75 ตร.ม.
ใช้อัตราส่วนความกว้าง : ความยาว = 1 : 3
จะได้ความกว้าง 5 เมตร และความยาว = 15 เมตร
ตรวจสอบค่า surface loading (Q/A) = 1,800/(45x 16)
= 24 ม.3 /วัน-ม.2
ใช้ได้เพราะน้อยกว่าค่าก่าหนด 50 ม.3 /วัน-ม.2
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การกรอง (Filtration)
ในระบบประปาทรายกรองเร็ว กระบวนการขัน
สุดท้ายในการก่าจัดความขุ่นออกจากน่าดิบ หลังจากการ
ตกตะกอนแล้วก็คือ การกรอง
น่าซึ่งไหลเข้ามาในถังกรองจะมีความใสมาก คือวัด
ความขุ่นได้น้อยกว่า 5 NTU น่าจะไหลผ่านชันทรายหรือ
ตัวกลาง (filter media) อื่น เช่น ถ่าน สารแขวนลอย
และสารคอลลอยด์จะถูกก่าจัดไป คุณสมบัติทางเคมีของ
น่าอาจเปลี่ยนแปลงไปด้วย และจ่านวนจุลินทรีย์จะ
ลดลงไปมากมาย
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การท่างานของถังกรอง
การกรอง (Mechanical Straining)
การเติบโตและด่ารงชีวิตของสารอินทรีย์ (Biological Metabolism)
การตกตะกอนและการดูดซับ (Sedimentation and Adsorption)
การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้า (Electrolytic Action)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การท่าความสะอาดขันทรายกรองของระบบทราย
กรองเร็วเรียกว่า การล้างกลับ (backwashing) กระท่า
โดยปล่อยน่าเข้าทางก้นถังด้วยความเร็วสูง พัดพาเอาเม็ด
ทรายลอยขึน (sand expansion) จะเกิดการเสียดสี
ระหว่างเม็ดทรายที่ก่าลังลอยขึนและก่าลังตกลงมา ท่าให้
สิ่งสกปรกที่เกาะติดอยู่นันหลุดออกไป ตะกอนสกปรก
ต่างๆ ที่มีน่าหนักเบาจึงลอยขึนสูงแล้วล้นออกทางราง
ระบาย (trough) และปล่อยทิงต่อไป ในบางครังอาจ
ติดตังเครื่องตะกุยหน้าทรายเพื่อช่วยในการท่าความ
สะอาดให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน (auxiliary scour)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
โครงสร้างของถังทรายกรองเร็ว
ถังกรอง (Filter Tank)
กรวดกรอง (Filter Gravel)
ทรายกรอง (Filter Sand)
ระบบท่อรับน่ากรอง (Underdrainage System)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ถังกรอง (Filter Tank)
เป็นถังเปิดมักท่าด้วยคอนกรีต มีขันทรายหยาบหนาประมาณ 0.6 ถึง
0.80 ม. โดยมีชันกรวดคัดขนาดหนา 0.45 ม. รองรับอยู่เบืองล่าง ใต้ชัน
กรวดจะมีระบบท่อรับน่ากรอง (underdrainage system) ซึ่ง
ประกอบด้วยท่อรวมรับน้ำ (manifold) วำงไปตำมควำมยำวตรงกลำงถัง
แล้วมีท่อแขนง (laterals) เป็นสำขำแยกออกจำกท่อรวมรับน้ำ โดยอยู่
ห่ำงกันประมำณ 15-20 ซม. ท่อแขนงนี้จะมีรูเจำะอยู่ทำงด้ำนข้ำง เพื่อให้
น้ำไหลเข้ำ ซึ่งจะไหลต่อไปสู่ท่อรวมรับน้ำแล้วออกไปสู่ถังเก็บหรือถังน้ำ
ใส (clear well) ต่อไป
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ทรายที่ใช้ส่าหรับกรองจะต้องสะอาดปราศจากดินโคลน พืชหรือ
สารอินทรีย์อื่นๆ มีขนาดสม่่าเสมอและถูกต้อง ถ้าเม็ดละเอียดเกินไปจะท่า
ให้อุดตันได้ง่าย ในขนาดอัตราการกรองปกติ (5 ม.3 /ชม. - ม.2) จะใช้
ทรายกรองที่มี Effective Size 0.40-0.50 มม. ถ้าเป็นถังชนิดอัตรากรอง
สูง (high rate filter) ซึ่งมีการบ่าบัดก่อนหน้า (pretreatment) ที่มี
ประสิทธิภาพสูง อาจเพิ่มขนาดของทรายกรองเพื่อให้รับกับอัตราการกรอง
ที่เร็วขึนเป็น E.S ประมาณ 0.50-0.70 มม. ค่า Uniformity
Coefficient ไม่ควรเกิน 1.8
ทรายกรอง (Filter Sand)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
กรวดกรอง (Filter Gravel)
จริงแล้วกรวดไม่ได้ช่วยในการท่าให้น่าสะอาดแต่อย่างใด เพียงแต่มีหน้าที่รองรับชันทรายมีให้ไหลมาอุดตันระบบท่อ
รับน่ากรอง และประโยชน์ที่ส่าคัญคือ ช่วยในการกระจายน่าล้างกลับให้ออกโดยสม่่าเสมอตลอดทั่วทุกจุด โดยปกติกรวด
กรองจะคัดขนาดออกเป็นห้าถึงหกชัน โดยมีความหนารวมทังสินประมาณ 45 ชม. กรวดขนาดเล็กจะอยู่ชันบน การแบ่งชัน
เป็นไปดังนี
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ระบบท่อรับน่ากรอง (Underdrainage System)
ระบบท่อรับน่ากรองของระบบประปาทราย
กรองเร็ว นอกจากใช้ส่าหรับเป็นที่รวมรับน่ากรอง
แล้ว ยังมีความส่าคัญอย่างยิ่งต่อการท่าความสะอาด
ทรายกรองโดยการล้างกลับ น่าที่ไหลผ่านขึนมา
จะต้องมีการกระจายตัวโดยสม่่าเสมอ บางครังมีการ
ใช้ระบบแบบแผ่นรูพรุน (porous plate) ช่วยพยุง
รับชันทรายแทนกรวดได้
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การล้างกลับเป็นไปเพื่อขจัดสิ่งสกปรกหรือตะกอนต่างๆ ซึ่งติดค้างอยู่ที่ชันทรายและผิวหน้าทรายซึ่งเกิดขึนใน
ระหว่างการกรอง น่าซึ่งใช้ในการล้างกลับมาจากเครื่องสูบน่าหรือจากหอถังสูงเก็บน่าก็ได้ น่าล้างจะไหลเข้าทางท่อ
ก้างปลาแล้วกระจายขึนผ่านชันกรวดและทรายด้วย ความเร็วและแรง ท่าให้เม็ดทรายเกิดการสั่นไหว เคลื่อนที่ขึนลงขัด
สีกันเอง ท่าให้สิ่งสกปรกหลุดออก การขยายตัวขึนสูงของชันทรายนีเรียกว่า Sand Expansion มีความสูงระหว่าง 20-
50% ของความหนาของชันทราย อัตราความเร็วที่น่าไหลขึนประมาณ 15-90 ชม./นาที อาจใช้ค่า 45 ชม./นาที ก็
ได้ผลดี อัตรานีท่าได้โดยการปล่อยน่า 500 ลิตร/นาทีต่อตารางเมตรของพืนที่ทรายกรอง ปริมาณน่าที่ใช้ล้างอยู่ระหว่าง
2-49% ของน่ากรองไปแล้วทังหมด ใช้เวลาในการล้าง 10-15 นาที ระยะห่างของการล้างแต่ละครัง 24 - 48 ชม.
แรงดันของน่าที่ใช้ล้าง 0.4 กก./ซม.2 โดยให้ความเร็วสูงสุดของน่าในท่อรวมรับน่าไม่เกิน 1.8-2.4 ม./วินาที
การท่าความสะอาดทรายกรองหรือการล้างกลับ (Filter Backwashing)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ปัญหาที่เกิดในชั้นทรายกรอง (Filter Troubles)
การเกิดสุญญากาศและชันอากาศภายในชันทราย
(Negative head and air bound)
การแตกที่หน้าทราย (Filter crack)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การเกิดสุญญากาศและชันอากาศภายในชันทราย
(Negative head and air bound)
การแตกที่หน้าทราย
(Filter crack)
Sanitary Engineering and Water Supply
ถังกรองตัวกลางหลายชนิด (Multi-Media Filters)
การสร้างชันกรองที่มีประสิทธิภาพสูงขึนไปอีกอาจท่าได้โดยการใช้วัสดุกรองสามหรือสี่ชนิด ซึ่งคัดขนาด และความ
ถ่วงจ่าเพาะอย่างละเอียด (mixed-media filters) ที่น่าเอามาใช้กัน ได้แก่ ชันกรองที่มีความหนา 0.75 เมตร ซึ่ง
ประกอบด้วย แอนทราไซท์ 60 เปอร์เซนต์ ทราย 30 เปอร์เซ็นต์และการ์เน็ท (garnet sand) 10 เปอร์เซนต์ โดยชันบน
เป็นแอนทราไซท์ ขนาด E.S 1.0 มม. ชันกลางเป็นทราย ขนาด E.S. 0.5 มม. และชันล่างเป็นการ์เน็ทขนาด E.S. 0.15
มม. ความถ่วงจ่าเพาะของแอนทราไซท์ ทราย และการ์เน็ทจะเป็น 1.6 , 2.6 และ 4.2 ตามล่าดับ
Sanitary Engineering and Water Supply
เครื่องกรองดินเบาหรือไดอะตอม (Diatomaceous-Earth Filters)
ไดอะตอไมท์เป็นสารละเอียดขนาด 0.5-13 ไมครอน เกิดจากการทับถมของดินโคลนใต้ทะเล ความพรุนของสาร
ไดอะตอไมท์จะช่วยกรองสิ่งสกปรกที่อยู่ในน่าดิบไว้ได้
เครื่องกรองชนิดนีประกอบด้วยไส้กรอง (septum) เป็นแท่งโลหะ
ทรงกระบอกกลวงพันไว้ด้วยเส้นลวดโดยรอบเป็นตาตะแกรงละเอียด ก่อนจะ
กรองต้องผสมน่ากับไดอะตอไมท์ แล้วผ่านสารละลายนีเข้าไปในถังกรอง ซึ่ง
ไดอะตอไมท์จะไปฉาบอยู่ที่ผิวนอกของไส้กรอง เมื่อปรากฎมีฟิล์มของไดอะตอ
ไมท์ติดที่ผิวไส้กรองพอควรแล้วก็ปล่อยน่าดิบเข้าถังกรองได้ ความขุ่นและสิ่ง
ปะปนต่างๆ จะติดค้างอยู่เพราะฟิล์มดินเบาจะกรองซับไว้ น่าใสจะซึมผ่านความ
พรุนเข้าไปได้ (ดังในรูปที่ 1 6.20) แต่ในกรณีที่น่าดิบมีความขุ่นสูงอาจจะต้องมี
การผสมไดอะตอไมท์กับน่าดิบก่อน (body feed) เพื่อให้การกรองมีผลดียิ่งขึน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติmakok99
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Natcha Audnoon
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆthanakit553
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 

What's hot (20)

ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 

Similar to บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)

บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdf
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdfDESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdf
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdfJanPan7
 

Similar to บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration) (8)

บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdf
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdfDESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdf
DESIGN AND ANALYSIS OF FOUNDATION FOR ONSHORE TALL WIND TURBINES.pdf
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (14)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionSafetyChain Software
 
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptx
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptxSolving Puzzles Benefits Everyone (English).pptx
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptxOH TEIK BIN
 
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13Steve Thomason
 
MENTAL STATUS EXAMINATION format.docx
MENTAL     STATUS EXAMINATION format.docxMENTAL     STATUS EXAMINATION format.docx
MENTAL STATUS EXAMINATION format.docxPoojaSen20
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesFatimaKhan178732
 
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxCARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxGaneshChakor2
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...Marc Dusseiller Dusjagr
 
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Celine George
 
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfConcept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfUmakantAnnand
 
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Krashi Coaching
 
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingGrant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingTechSoup
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformChameera Dedduwage
 
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across SectorsAPM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across SectorsAssociation for Project Management
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application ) Sakshi Ghasle
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxpboyjonauth
 
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdfBASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdfSoniaTolstoy
 
PSYCHIATRIC History collection FORMAT.pptx
PSYCHIATRIC   History collection FORMAT.pptxPSYCHIATRIC   History collection FORMAT.pptx
PSYCHIATRIC History collection FORMAT.pptxPoojaSen20
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docxPoojaSen20
 

Recently uploaded (20)

Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
 
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptx
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptxSolving Puzzles Benefits Everyone (English).pptx
Solving Puzzles Benefits Everyone (English).pptx
 
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
The Most Excellent Way | 1 Corinthians 13
 
MENTAL STATUS EXAMINATION format.docx
MENTAL     STATUS EXAMINATION format.docxMENTAL     STATUS EXAMINATION format.docx
MENTAL STATUS EXAMINATION format.docx
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
 
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxCARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
 
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
 
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfConcept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
 
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
Kisan Call Centre - To harness potential of ICT in Agriculture by answer farm...
 
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdfTataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
 
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingGrant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
 
Staff of Color (SOC) Retention Efforts DDSD
Staff of Color (SOC) Retention Efforts DDSDStaff of Color (SOC) Retention Efforts DDSD
Staff of Color (SOC) Retention Efforts DDSD
 
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across SectorsAPM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
APM Welcome, APM North West Network Conference, Synergies Across Sectors
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
 
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdfBASLIQ CURRENT LOOKBOOK  LOOKBOOK(1) (1).pdf
BASLIQ CURRENT LOOKBOOK LOOKBOOK(1) (1).pdf
 
PSYCHIATRIC History collection FORMAT.pptx
PSYCHIATRIC   History collection FORMAT.pptxPSYCHIATRIC   History collection FORMAT.pptx
PSYCHIATRIC History collection FORMAT.pptx
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docx
 

บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)

  • 1. อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply) บทที่ 6 ระบบประปาทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
  • 2. Sanitary Engineering and Water Supply ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 6 ระบบประปาทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 4. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ระบบทรายกรองช้า ใช้ค่าใช้จ่ายในการ ด่าเนินงานต่่าและง่ายในการดูแลรักษา แต่ก็มี ขีดจ่ากัดคือไม่เหมาะสมส่าหรับแหล่งน่าที่มี ความขุ่นสูง และต้องใช้พืนที่มาก ดังนัน ระบบ ทรายกรองเร็วจึงถูกคิดค้นขึนส่าหรับใช้กับแหล่ง น่าผิวดิน เช่น แม่น่า ซึ่งจัดว่าเป็นแหล่งน่า ส่าคัญในการท่าประปา การประปาทรายกรอง เร็วแห่งแรกสร้างขึนในปี ค.ศ. 1909 ที่ มลรัฐนิว เจอร์ซี่ สหรัฐอเมริกา ผู้ออกแบบคือ นายจอร์จ ฟุลเลอร์
  • 5. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ขั้นตอนของระบบทรายกรองเร็ว การผสมเร็ว (Rapid Mixing) การรวมตะกอน (Flocculation) การกรอง (Filtration) การตกตะกอน (Sedimentation)
  • 6. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การผสมเร็ว (Rapid Mixing) รูป การทดลอง Jar Test ความลาดชันความเร็ว (velocity gradient) คือ ความเร็วที่แตกต่างของมวลน่าที่เคลื่อนที่ภายในถังผสม
  • 7. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การผสมเร็ว (Rapid Mixing) แบบไฮดรอลิคจัมป์ (Hydraulic Jump) แบบแผ่นกันวกวน (Baffles) แบบเครื่องกล (Mechanical Mixer)
  • 8. Sanitary Engineering and Water Supply แบบไฮดรอลิ ค จั ม ป์ (Hydraulic Jump) แบบแผ่ น กั น วกวน (Baffles)
  • 9. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply แบบเครื ่ อ งกล (Mechanical Mixer)
  • 10. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่าง จงออกแบบขนาดและก่าลังงานของถังผสมเร็วเพื่อใช้ในการผสมสารส้มกับน่าดิบซึ่งมีอัตราการไหล 20,000 ม.3 /วัน อัตราการไหล Q = 20,000 x 103 = 231.5 ลิตร/วินาที ให้ระยะเวลาผสม (detention time) t = 30 วินาที จาก V = Q . t ดังนัน ปริมาตรถังผสม = 231.5 x 30 x 10-3 = 6.9 ม.3 ใช้ขนาดถังผสม 1.6 x 1.6 ม.2 ลึก 2 เมตร โดยมี free board 0.3 ม. ก่าหนดใช้ก่าลังงาน 5 วัตต์ต่อน่า 1 ลิตร/วินาที ดังนัน ก่าลังงานที่ต้องการ = Q X 5 วัตต์ = 231.5 x 5 วัตต์ = 1158 วัตต์ 24 x 60 x 60
  • 11. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การรวมตะกอน (Flocculation) หลังจากสารเคมีผสมเข้ากับน่าดิบแล้ว จะ เกิดมีตะกอนวุ้นหรือฟล็อก (floc) เล็กๆ จ่านวน มาก ฟล็อกกับน่าดิบจะไหลเข้าสู่ถังรวมตะกอน (flocculation tank) ซึ่งมีกรรมวิธีที่จะท่าให้ ตะกอนฟล็อกเล็กๆ เหล่านีรวมตัวกันเข้าเป็น ตะกอนใหญ่ และดูดซับเอาสิ่งปะปนทังหลายใน น่าดิบไว้จนมีน่าหนักพอเพียงที่จะจมตัวลงได้ การที่จะท่าให้ตะกอนรวมตัวกันนัน อาศัยหลักการที่ว่าถ้า ตะกอนทังหลายไหลไปพร้อมกับน่าในอัตราความเร็วเดียวกัน ด้วย ความเร็วสม่่าเสมอ โอกาสที่ตะกอนจะเข้าใกล้กันหรือกระทบกัน เพื่อเกิดเป็นตะกอนใหญ่จะไม่เกิดขึน ดังนัน จึงต้องปรับให้น่าไหล โดยมีอัตราความเร็วแตกต่างกันหรือมี velocity gradient ดังที่ อธิบายไว้แล้วในเรื่องการผสมเร็ว
  • 12. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Baffle flocculator) ส่าหรับ Hydraulic flocculator ซึ่ง G ได้มาจากการไหลผ่านแผ่นกัน (baffle) หรือ ไหลในท่อ ค่า energy ที่ได้รับ (P) จะเป็น P = Q p gh ดังนัน G = 𝑃 / 𝑢𝑉 = 𝑄𝑝𝑔ℎ/𝑢𝑉 = 𝑝𝑔ℎ / 𝑢𝑡 ถ้าให้ n เป็นจ่านวนช่องที่น่าไหล ดังนัน จ่านวนแผ่นกัน (baffle) จะเท่ากับ n- 1 แผ่น จะได้ Head loss (H) = NV1 2 /2g + (n-1)V2 2 /2g เมื่อ V1 เป็น ความเร็วในช่องแผ่นกัน V2 เป็น ความเร็วระหว่างอ้อมแผ่นกัน
  • 13. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่าง น่าไหลผ่านช่องแผ่นกันด้วยความเร็ว 15 ชม./วินาที และอ้อมปลายแผ่นกันด้วยความเร็ว 60 ซม./วินาที ถ้ามีแผ่นกันทังหมด 19 แผ่น ให้หา ก. Loss of head ข. ก่าลังงานที่ใช้ในการรวมตะกอน ค. ค่า G เมื่ออัตราการผลิต (Q) = 280 ลิตร/วินาที, Detention time 30 นาที และค่า u = 10-3 N.S/m2 วิธีทา H = NV1 2 /2g + (n-1]V2 /2g = 20x(0.15)2 /2x9.81 + 19(0.6)2 /2x9.81 = 0.373 เมตร
  • 14. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply P = Q p gH = 0.28x 1000x9.81x0.373 = 1035 วัตต์ = 1035/746 = 1.388 H.P G = 𝑃 / 𝑢𝑉 = 𝑝𝑔ℎ / 𝑢𝑡 = 1000x9.81 xO.373/10-3 x 1,800 = 45 วินาที-1
  • 15. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่างการออกแบบถังรวมตะกอน แบบแผ่นกั้นวกวน (baffle) จงออกแบบถังท่าตะกอนแบบแผ่นกัน (baffle) ชนิดแนวนอน (round the end) โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี ปริมาตรของน่าที่ผลิตแต่ละวัน 12,000,000 ลิตร ระยะเวลาท่าตะกอน (detention period) 20 นาที ความเร็วเฉลี่ยของการไหล 22.5 ซม./วินาที การคานวณ จากปริมาณของน่าที่ขังอยู่ในถังท่าตะกอน = Qt = 1.2x107x20 ลิตร ดังนัน ปริมาตรของถังท่าตะกอน = 167 ม.3 24 x 60
  • 16. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply จาก detention time 20 นาที ความเร็ว 0.225 ม./วินาที ..ระยะทางการไหล (L) = 20x60x0.225 ม. = 270 ม. พืนที่หน้าตัดของช่องน่าไหล = 167 ม.2 270 = 0.618 ม.2 ให้ระยะห่างระหว่างแผ่น baffle = 0.45 ม. ...ความลึกของน่า = 0.618 ม. = 1.37 ม. 0.45
  • 17. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ให้ถังท่าตะกอนแบ่งออกเป็น 2 ซีก โดยมีผนังกันกลางตลอดความยาวและความกว้างของแต่ละด้าน 3 ม. ถ้าระยะ ระหว่างปลาย baffle กับผนังริมเป็น 1.5 เท่า ของระยะระหว่าง baffle หรือ = 1.5x0.45 = 0.675 ม. ดังนัน ความยาวที่ใช้ประโยชน์ในแต่ละช่อง = 3.0-0.675 ม. = 2.325 ม. จ่านวนช่องน่าไหลส่าหรับความยาว 270 ม. = 270 = 116 ช่อง หรือแต่ละด้านจะมี 58 ช่อง ความยาวของถังเมื่อไม่นับแผ่น baffle = 58x0.45 ม. = 26.10 ม. ถ้าให้แผ่น baffle มีความกว้างแผ่นละ 7.5 ซม. ดังนัน ความยาวทังหมดของถังท่าตะกอน = 26.10 + (57x0.075) ม. = 30.37 ม. 2.325
  • 18. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ประโยชน์ของการกาจัดสิ่งปะปนโดยขบวนการรวมตะกอน ผลของการรวมตะกอน (flocculation) จะช่วยในการก่าจัด 1.ความขุ่น (turbidity) ทังที่เกิดจากสารอินทรีย์และอนินทรีย์ 2. สี (Color) ทัง true และ apparent 3. บักเตรีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์รวมทังเชือโรคอื่นๆ 4. ตะไคร่น่า สาหร่ายและพืชน่าเล็กๆ (plankton organism) 5. สารที่ท่าให้เกิดกลิ่นและรส 6. ฟอสเฟต (phosphate) สารช่วยในการตกตะกอน (Coagulant Aids) ปัญหาอย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึนในกระบวนการ ตกตะกอนก็คือ การจมตัวของตะกอนค่อนข้าง ช้า หรือการจับตัวของตะกอนวุ้นไม่ดีพอ ตะกอน แตกตัวง่าย การใช้สารช่วยในการตกตะกอนจะ ท่าให้ตะกอนจมตัวเร็วขึน และตะกอนไม่แยกตัว สารดังกล่าวนีได้แก่ polyelectrolyte, activated silica, adsorbent, weighting agents และสารพวก oxidant
  • 19. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การตกตะกอน (Sedimentation) หลังจากผ่านขบวนการรวมตะกอนแล้ว ตะกอน วุ้นหรือตะกอนฟล็อก (floc) จะมีขนาดใหญ่ขึนและมี น่าหนักพอเพียงที่จะจมตัวลง ตะกอนฟล็อกกับน่าจะ ไหลเข้าสู่ถังตกตะกอน ซึ่งเป็นถังขนาดใหญ่ น่าจะไหล ในถังอย่างช้าๆ ท่าให้ตะกอนฟล็อกมีโอกาสจมตัวได้ น่าที่ไหลผ่านพ้นถังตกตะกอนจะมีความใสและไหลเข้า สู่ถังกรอง เพื่อก่าจัดตะกอนฟล็อกเล็กๆ เบาๆ ซึ่งลอย ติดไปด้วยบางส่วน Inlet Zone Outlet Zone Settling Zone Sludge Zone
  • 20. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ลักษณะการท่างานของถังตกตะกอนแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน 1. ส่วนน่าไหลเข้า (Inlet Zone) วัตถุประสงค์ของส่วนนี เพื่อลดความเร็วของการไหลเข้าสู่ถัง ทังนี เพื่อมิให้มีความปั่นป่วนเกิดขึน ซึ่งอาจท่าให้ตะกอนฟล็อกแตกตัวและน่าในถังไม่สงบนิ่ง ท่าให้ตะกอน ไม่จม โดยทั่วไปมักใช้แผ่นกัน (baffle) ขวางไว้เป็นช่วงๆ 2. ส่วนตกตะกอน (Settling Zone) คือปริมาตรส่วนใหญ่ของถัง น่าในส่วนนีจะไหลช้ามาก ตะกอน ฟล็อกจะค่อยๆ จมตัวลงสู่เบืองล่าง 3. ส่วนตะกอนทับถม (Sludge Zone) คือบริเวณส่วนล่างของถังซึ่งตะกอนจะลงมาทับถมกันอยู่ และ ถูกระบายทิงต่อไป 4. ส่วนน่าไหลออก (Outlet Zone) มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับส่วนน่าไหลเข้า คือออกแบบให้การไหล ออกจากถังเป็นไปอย่างราบเรียบ ไม่เร็วเกินไปจนอาจเป็นเหตุให้เกิดการดึงดูดเอาตะกอนบางส่วนติด ออกไปด้วย
  • 21. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply รูปแบบถังตกตะกอน ถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ถังตกตะกอนแบบกลม ถังตกตะกอนแบบแผ่นสาดเอียง (inclined plate settler) ถังตกตะกอนแบบไหลขึน (upward flow settling tank)
  • 22. Sanitary Engineering and Water Supply จะออกแบบให้น่าไหลเข้าทางปลายด้านหนึ่ง แล้วไหล ตามแนวนอนไปตามความยาวถังและล้นออกข้ามเวียร์ที่ปลาย อีกข้างหนึ่ง น่าดิบจะไหลเข้าตรงกลางถังซึ่งมีส่วนน่าเข้า (inlet) ท่า หน้าที่กระจายน่าให้ไหลออกอย่างสม่่าเสมอรอบด้าน ข้อ ได้เปรียบของถังตกตะกอนแบบนีคือความเร็วของน่าแรกเริ่มที่ จุดกลางถังจะเร็วแล้วค่อยๆลดลง จนมีความเร็วต่่าสุดเมื่อไหล ล้นผ่านเวียร์ที่เส้นรอบขอบถัง ท่าให้การตกของตะกอนดีขึน โดยทั่วไปพืนล่างของถังกลมจะลาดซัน เพื่อให้ตะกอนไหลลง มารวมกันที่กลางถังด้านล่างและติดตังเครื่องกวาดตะกอนซึ่งมี ถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ถังตกตะกอนแบบกลม
  • 23. Sanitary Engineering and Water Supply เป็นถังซึ่งมีลักษณะการท่างานโดยรวมเอากระบวนการรวม ตะกอนและกระบวนการตกตะกอนไว้ด้วยกัน ตัวถังจะเป็นรูป กรวยหงาย น่าดิบผสมสารส้มจะไหลเข้าทางด้านล่างซึ่งมี พืนที่หน้าตัดแคบ ดังนัน จะไหลในในอัตราเร็วสูง แต่เมื่อไหลสูงขึน พืนที่หน้าตัดของการไหลจะเพิ่มขึนความเร็วจะลดลงจนกระทั่งมี velocity gradient ที่พอเหมาะกับการรวมตะกอนคือจากมากไป หาน้อย ตะกอนจะมีขนาดใหญ่เพิ่มขึนตามล่าดับ จนเมื่อไหลขึนไป ได้ราวสองในสามของความสูงของถัง น่าหนักที่เพิ่มขึนของตะกอน ฟล็อกจะพอดีกันกับแรงยกที่เกิดจากความเร็วของน่าที่ไหลขึน ตะกอนจะไม่ไหลขึนหรือจมตัวลง แต่จะอยู่คงที่และเกาะตัวกันเป็น ขันตะกอนซึ่งเรียกว่าชันสลัดจ์ (sludge blanket) ถังตกตะกอนแบบไหลขึน (upward flow settling tank)
  • 24. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ถังตกตะกอนที่อาศัยหลักการนีมีหลายลักษณะ เป็นชนิดลา เมลลา (Lamella) ซึ่งมีการไหลแบบจากบนลงล่าง ภายในถังจะมี แผ่นรับตะกอนเรียงกันอยู่เป็นแถว ท่ามุมระหว่าง 30 ถึง 45 องศา เมื่อน่าและตะกอนไหลลงมาจากด้านบน ตะกอนจะตกลงบนแผ่น รับตะกอนและไหลเลื่อนสะสมกันลงมารวมอยู่ที่ก้นถัง ท่อรับน่า สะอาดจะอยู่ในช่วงระดับที่ตะกอนแยกตัวออกจากน่าจนหมดแล้ว ท่อนีจะน่าน่าสะอาดขึนไปถึงรางเปิดรับน่าสะอาดด้านบน ถังตกตะกอนแบบแผ่นสาดเอียง (inclined plate settler)
  • 25. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply องค์ประกอบในการออกแบบถังตกตะกอน เมื่อพิจารณาการไหลของน่าในถังตกตะกอนแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีการไหลตามแนวนอนไป ตลอดความยาวของถัง จะเห็นได้ว่าการเคลื่อนที่ของตะกอนเป็นไปในสองลักษณะ คือ เคลื่อนที่ตาม แนวนอนตามการไหลของน่า กับเคลื่อนจมตัวลงตามแรงดึงดูดของโลก ดังนัน ทิศทางที่แท้จริงของการ เคลื่อนที่ของตะกอนจะเป็นไปในทิศทางของความเร็วรวมที่ได้จากรูปสามเหลี่ยมของความเร็วตามแนวตัง และแนวนอน ถ้าถังตกตะกอนมีความลึก h0 และให้ระยะเวลาที่ตะกอนจมตัวลงตลอดความลึกนีเท่ากับ t0 ดังนันความเร็วของตะกอนที่จมตัวลงสู่ก้นถังพอดีจะเป็น V0 ซึ่งมีค่าเท่ากับ h0/t0 ส่าหรับถังตกตะกอนซึ่งมี พืนที่ผิวน่าเป็น A และอัตราการไหลของน่าในถังเป็น Q จะมีค่าของ v0 = Q/A (ซึ่งก็คือค่า h0/t0 นั่นเอง) ค่า v0 เรียกว่า ค่าภาระผิว (surface loading) หรือความเร็วน้าล้น (overflow velocity) ของถัง ตกตะกอน องค์ประกอบในการออกแบบถังตกตะกอน
  • 26. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply จึงมีความเร็วในการจมตัว vs (setting velocity) ของตะกอนแต่ละชนิดแตกต่างกันไปด้วย
  • 27. Sanitary Engineering and Water Supply โดยทั่วไป ถังตกตะกอนรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าจะมีความกว้างอยู่ระหว่าง 2 ถึง 8 เมตร ส่วนความยาวนันอาจเกิน กว่า 30 เมตร ก็นิยมสร้างกันอยู่ อัตราส่วนระหว่างความยาวต่อความ กว้างอยู่ระหว่าง 3 ต่อ 1 ถึง 5 ต่อ 1 และมีความลึกที่เหมาะสมประมาณ 2 ถึง 4 เมตร ขนาดและการใช้งานของถังตกตะกอนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
  • 28. Sanitary Engineering and Water Supply ถังตกตะกอนรูปกลมโดยทั่วไปไม่ นิยมให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เกิน 60 เมตร เพราะไม่สะดวกในการควบคุมการ ท่างาน ส่วนน่าไหลเข้า (inlet) เป็นรูป ทรงกระบอกอยู่ที่ศูนย์กลางถัง ลึกจาก ผิวน่าลงมา 0.5 - 1 เมตร มีช่องกระจาย น่าอยู่โดยรอบ ขนาดและการใช้งานของถังตกตะกอนรูปกลม ความลาดเอียงของก้นถังประมาณ 8% โดยลาดลงสู่แอ่ง ตะกอน (sludge hopper) กลางถังติดตังเครื่องกวาดตะกอนชนิด มีแขนกวาด (rake arms) ซึ่งจะหมุนกวาดให้ตะกอนมารวมอยู่ใน แอ่ง แล้วจึงระบายออก
  • 29. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่าง จงออกแบบถังตกตะกอนสี่เหลี่ยมผืนผ้าส่าหรับอัตราการผลิตวันละ 1,800 ลบ.เมตร โดยมี ค่า detention time 3 ชั่วโมง และค่าภาระผิวไม่เกิน 50 ม.3 /วัน-ม.2 การคานวณ อัตราการผลิต 1,800 ม.3 /วัน = 1,800/24 = 75 ม.3 /ชม. จาก ปริมาตรถังตกตะกอน = อัตราการผลิต x ระยะเวลาตกตะกอน = 75 x 3 = 225 ม.3 ก่าหนดความลึก 3.5 เมตร โดยให้ส่วนตะกอนทับถมมีความสูง 0.50 เมตร ดังนัน ความลึกของส่วนตกตะกอน = 3.50 - 0.50 เมตร = 3.0 เมตร
  • 30. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply จะได้พืนที่ผิวน่า = ปริมาตรถัง/ความลึก = 225/3.0 ตร.ม. = 75 ตร.ม. ใช้อัตราส่วนความกว้าง : ความยาว = 1 : 3 จะได้ความกว้าง 5 เมตร และความยาว = 15 เมตร ตรวจสอบค่า surface loading (Q/A) = 1,800/(45x 16) = 24 ม.3 /วัน-ม.2 ใช้ได้เพราะน้อยกว่าค่าก่าหนด 50 ม.3 /วัน-ม.2
  • 31. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การกรอง (Filtration) ในระบบประปาทรายกรองเร็ว กระบวนการขัน สุดท้ายในการก่าจัดความขุ่นออกจากน่าดิบ หลังจากการ ตกตะกอนแล้วก็คือ การกรอง น่าซึ่งไหลเข้ามาในถังกรองจะมีความใสมาก คือวัด ความขุ่นได้น้อยกว่า 5 NTU น่าจะไหลผ่านชันทรายหรือ ตัวกลาง (filter media) อื่น เช่น ถ่าน สารแขวนลอย และสารคอลลอยด์จะถูกก่าจัดไป คุณสมบัติทางเคมีของ น่าอาจเปลี่ยนแปลงไปด้วย และจ่านวนจุลินทรีย์จะ ลดลงไปมากมาย
  • 32. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การท่างานของถังกรอง การกรอง (Mechanical Straining) การเติบโตและด่ารงชีวิตของสารอินทรีย์ (Biological Metabolism) การตกตะกอนและการดูดซับ (Sedimentation and Adsorption) การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้า (Electrolytic Action)
  • 33. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การท่าความสะอาดขันทรายกรองของระบบทราย กรองเร็วเรียกว่า การล้างกลับ (backwashing) กระท่า โดยปล่อยน่าเข้าทางก้นถังด้วยความเร็วสูง พัดพาเอาเม็ด ทรายลอยขึน (sand expansion) จะเกิดการเสียดสี ระหว่างเม็ดทรายที่ก่าลังลอยขึนและก่าลังตกลงมา ท่าให้ สิ่งสกปรกที่เกาะติดอยู่นันหลุดออกไป ตะกอนสกปรก ต่างๆ ที่มีน่าหนักเบาจึงลอยขึนสูงแล้วล้นออกทางราง ระบาย (trough) และปล่อยทิงต่อไป ในบางครังอาจ ติดตังเครื่องตะกุยหน้าทรายเพื่อช่วยในการท่าความ สะอาดให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน (auxiliary scour)
  • 34. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply โครงสร้างของถังทรายกรองเร็ว ถังกรอง (Filter Tank) กรวดกรอง (Filter Gravel) ทรายกรอง (Filter Sand) ระบบท่อรับน่ากรอง (Underdrainage System)
  • 35. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ถังกรอง (Filter Tank) เป็นถังเปิดมักท่าด้วยคอนกรีต มีขันทรายหยาบหนาประมาณ 0.6 ถึง 0.80 ม. โดยมีชันกรวดคัดขนาดหนา 0.45 ม. รองรับอยู่เบืองล่าง ใต้ชัน กรวดจะมีระบบท่อรับน่ากรอง (underdrainage system) ซึ่ง ประกอบด้วยท่อรวมรับน้ำ (manifold) วำงไปตำมควำมยำวตรงกลำงถัง แล้วมีท่อแขนง (laterals) เป็นสำขำแยกออกจำกท่อรวมรับน้ำ โดยอยู่ ห่ำงกันประมำณ 15-20 ซม. ท่อแขนงนี้จะมีรูเจำะอยู่ทำงด้ำนข้ำง เพื่อให้ น้ำไหลเข้ำ ซึ่งจะไหลต่อไปสู่ท่อรวมรับน้ำแล้วออกไปสู่ถังเก็บหรือถังน้ำ ใส (clear well) ต่อไป
  • 36. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ทรายที่ใช้ส่าหรับกรองจะต้องสะอาดปราศจากดินโคลน พืชหรือ สารอินทรีย์อื่นๆ มีขนาดสม่่าเสมอและถูกต้อง ถ้าเม็ดละเอียดเกินไปจะท่า ให้อุดตันได้ง่าย ในขนาดอัตราการกรองปกติ (5 ม.3 /ชม. - ม.2) จะใช้ ทรายกรองที่มี Effective Size 0.40-0.50 มม. ถ้าเป็นถังชนิดอัตรากรอง สูง (high rate filter) ซึ่งมีการบ่าบัดก่อนหน้า (pretreatment) ที่มี ประสิทธิภาพสูง อาจเพิ่มขนาดของทรายกรองเพื่อให้รับกับอัตราการกรอง ที่เร็วขึนเป็น E.S ประมาณ 0.50-0.70 มม. ค่า Uniformity Coefficient ไม่ควรเกิน 1.8 ทรายกรอง (Filter Sand)
  • 37. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply กรวดกรอง (Filter Gravel) จริงแล้วกรวดไม่ได้ช่วยในการท่าให้น่าสะอาดแต่อย่างใด เพียงแต่มีหน้าที่รองรับชันทรายมีให้ไหลมาอุดตันระบบท่อ รับน่ากรอง และประโยชน์ที่ส่าคัญคือ ช่วยในการกระจายน่าล้างกลับให้ออกโดยสม่่าเสมอตลอดทั่วทุกจุด โดยปกติกรวด กรองจะคัดขนาดออกเป็นห้าถึงหกชัน โดยมีความหนารวมทังสินประมาณ 45 ชม. กรวดขนาดเล็กจะอยู่ชันบน การแบ่งชัน เป็นไปดังนี
  • 38. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ระบบท่อรับน่ากรอง (Underdrainage System) ระบบท่อรับน่ากรองของระบบประปาทราย กรองเร็ว นอกจากใช้ส่าหรับเป็นที่รวมรับน่ากรอง แล้ว ยังมีความส่าคัญอย่างยิ่งต่อการท่าความสะอาด ทรายกรองโดยการล้างกลับ น่าที่ไหลผ่านขึนมา จะต้องมีการกระจายตัวโดยสม่่าเสมอ บางครังมีการ ใช้ระบบแบบแผ่นรูพรุน (porous plate) ช่วยพยุง รับชันทรายแทนกรวดได้
  • 39. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การล้างกลับเป็นไปเพื่อขจัดสิ่งสกปรกหรือตะกอนต่างๆ ซึ่งติดค้างอยู่ที่ชันทรายและผิวหน้าทรายซึ่งเกิดขึนใน ระหว่างการกรอง น่าซึ่งใช้ในการล้างกลับมาจากเครื่องสูบน่าหรือจากหอถังสูงเก็บน่าก็ได้ น่าล้างจะไหลเข้าทางท่อ ก้างปลาแล้วกระจายขึนผ่านชันกรวดและทรายด้วย ความเร็วและแรง ท่าให้เม็ดทรายเกิดการสั่นไหว เคลื่อนที่ขึนลงขัด สีกันเอง ท่าให้สิ่งสกปรกหลุดออก การขยายตัวขึนสูงของชันทรายนีเรียกว่า Sand Expansion มีความสูงระหว่าง 20- 50% ของความหนาของชันทราย อัตราความเร็วที่น่าไหลขึนประมาณ 15-90 ชม./นาที อาจใช้ค่า 45 ชม./นาที ก็ ได้ผลดี อัตรานีท่าได้โดยการปล่อยน่า 500 ลิตร/นาทีต่อตารางเมตรของพืนที่ทรายกรอง ปริมาณน่าที่ใช้ล้างอยู่ระหว่าง 2-49% ของน่ากรองไปแล้วทังหมด ใช้เวลาในการล้าง 10-15 นาที ระยะห่างของการล้างแต่ละครัง 24 - 48 ชม. แรงดันของน่าที่ใช้ล้าง 0.4 กก./ซม.2 โดยให้ความเร็วสูงสุดของน่าในท่อรวมรับน่าไม่เกิน 1.8-2.4 ม./วินาที การท่าความสะอาดทรายกรองหรือการล้างกลับ (Filter Backwashing)
  • 40. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply
  • 41. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ปัญหาที่เกิดในชั้นทรายกรอง (Filter Troubles) การเกิดสุญญากาศและชันอากาศภายในชันทราย (Negative head and air bound) การแตกที่หน้าทราย (Filter crack)
  • 42. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การเกิดสุญญากาศและชันอากาศภายในชันทราย (Negative head and air bound) การแตกที่หน้าทราย (Filter crack)
  • 43. Sanitary Engineering and Water Supply ถังกรองตัวกลางหลายชนิด (Multi-Media Filters) การสร้างชันกรองที่มีประสิทธิภาพสูงขึนไปอีกอาจท่าได้โดยการใช้วัสดุกรองสามหรือสี่ชนิด ซึ่งคัดขนาด และความ ถ่วงจ่าเพาะอย่างละเอียด (mixed-media filters) ที่น่าเอามาใช้กัน ได้แก่ ชันกรองที่มีความหนา 0.75 เมตร ซึ่ง ประกอบด้วย แอนทราไซท์ 60 เปอร์เซนต์ ทราย 30 เปอร์เซ็นต์และการ์เน็ท (garnet sand) 10 เปอร์เซนต์ โดยชันบน เป็นแอนทราไซท์ ขนาด E.S 1.0 มม. ชันกลางเป็นทราย ขนาด E.S. 0.5 มม. และชันล่างเป็นการ์เน็ทขนาด E.S. 0.15 มม. ความถ่วงจ่าเพาะของแอนทราไซท์ ทราย และการ์เน็ทจะเป็น 1.6 , 2.6 และ 4.2 ตามล่าดับ
  • 44. Sanitary Engineering and Water Supply เครื่องกรองดินเบาหรือไดอะตอม (Diatomaceous-Earth Filters) ไดอะตอไมท์เป็นสารละเอียดขนาด 0.5-13 ไมครอน เกิดจากการทับถมของดินโคลนใต้ทะเล ความพรุนของสาร ไดอะตอไมท์จะช่วยกรองสิ่งสกปรกที่อยู่ในน่าดิบไว้ได้ เครื่องกรองชนิดนีประกอบด้วยไส้กรอง (septum) เป็นแท่งโลหะ ทรงกระบอกกลวงพันไว้ด้วยเส้นลวดโดยรอบเป็นตาตะแกรงละเอียด ก่อนจะ กรองต้องผสมน่ากับไดอะตอไมท์ แล้วผ่านสารละลายนีเข้าไปในถังกรอง ซึ่ง ไดอะตอไมท์จะไปฉาบอยู่ที่ผิวนอกของไส้กรอง เมื่อปรากฎมีฟิล์มของไดอะตอ ไมท์ติดที่ผิวไส้กรองพอควรแล้วก็ปล่อยน่าดิบเข้าถังกรองได้ ความขุ่นและสิ่ง ปะปนต่างๆ จะติดค้างอยู่เพราะฟิล์มดินเบาจะกรองซับไว้ น่าใสจะซึมผ่านความ พรุนเข้าไปได้ (ดังในรูปที่ 1 6.20) แต่ในกรณีที่น่าดิบมีความขุ่นสูงอาจจะต้องมี การผสมไดอะตอไมท์กับน่าดิบก่อน (body feed) เพื่อให้การกรองมีผลดียิ่งขึน
  • 45. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube