SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
Lesson 2
Theory of Sovereignty
and Right / Liberty
Asst. Prof. Ating Capt.KATAWUT PONKHOT, Ph.D.
Bachelor of Political Science Program
NRRU
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตย
อํานาจอธิปไตยหมายความถึงการใช้อํานาจโดยรัฐ
• การใช้อํานาจอธิปไตยโดยนิตินัย (De Jure Sovereignty)
- สิทธิแห่งอํานาจตามกฎหมายทีจะกระทําการอย่างหนึงอย่างใด
• การใช้อํานาจอธิปไตยโดยพฤตินัย (De Facto
Sovereignty) - ความสามารถในทางข้อเท็จจริงทีจะกระทําการ
เช่นนัน
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้า
ของสันตะปาปา ของกษัตริย์
• เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของพระเจ้า จึงเกิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจ
สูงสุดเป็นของพระเจ้า (Supremacy of God) และต่อมาได้
พัฒนามาสู่ทฤษฎีอํานาจสูงสุดเป็นของผู้นําทางศาสนจักร จึงเกิด
ทฤษฎีว่าด้วยอํานาจสูงสุดเป็นของพระสันตะปาปา (Supremacy
of Pope)
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้า
ของสันตะปาปา ของกษัตริย์
• ด้วยความมุ่งหมายว่า จะสร้างฐานแห่งอํานาจ ของฝ่าย ศาสนจักรเหนือ
ฝ่ายอาณาจักรโดยเด็ดขาด โดยอ้างว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นบริสุทธิเทพ จึง
ไม่อาจมาข้องแวะหรือบงการมนุษย์ได้ทุกคน ในทุกเวลาและในทุกสถานที
จึงได้เลือกให้พระบุตร หรือพระเยซู (Jesus Christ) มาไถ่บาปมนุษย์
แทน เพือต่อจากนันไปมนุษย์จะได้ปฏิบัติตามเจตนารมณ์อิสระของตนได้
ต่อมาพระบุตรได้เลือกสาวกคนสําคัญคือ นักบุญปีเตอร์(Saint Peter)
ให้เป็นผู้ปกครองดูแลคริสศาสนิกชนทังหลายในโลกสืบต่อจากพระองค์ ซึง
ในทีสุด นักบุญปีเตอร์ได้มอบอํานาจให้พระสันตะปาปาองค์ต่อๆ มา
รับภาระนีสืบต่อไปอย่างไม่ขาดสาย ดังนันพระสันตะปาปาจึงเป็นผู้มีอํานาจ
สูงสุดทางฝ่ายศาสนจักร
• ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที 15-16
• พระมหากษัตริย์ของฝรังเศสก็เข้มแข็งขึนทังกษัตริย์ได้ต่อสู้ขับเคียวกับ
อํานาจของผู้นําทางศาสนจักร เพือฟืนฟูถึงอํานาจทางการเมืองของ
กษัตริย์ให้กลับคืนมาก็เกิดมีทฤษฎีใหม่ทีนิยมในขณะนันคือทฤษฎีว่า
ด้วยความมีอํานาจสูงสุดของกษัตริย์(The Supremacy of
King)
• “อํานาจอธิปไตย” แทนคําว่า “อํานาจสูงสุด” เป็นครังแรกโดยถือ
ว่ากษัตริย์ เป็นรัฎฐาธิปัตย์(Sovereign) หรือผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐ
แต่ละรัฐ เป็นผู้ใช้อํานาจอธิปไตยซึงเป็นของรัฐ
แนวความคิดเห็นของนักทฤษฎีทางการเมือง
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin: ค.ศ.1530-1596)
อํานาจอธิปไตย ปรากฏในหนังสือชือ “สาธารณรัฐใน 6
บรรพ” ว่า “สาธารณรัฐ (Res Publica)” คือสิทธิในการ
ปกครองกลุ่มบุคคลหลายๆ กลุ่ม และทีเป็นส่วนร่วมของกลุ่มบุคคล
เหล่านีคือ “อํานาจอธิปไตย (Puissance Souveraine)”
แนวความคิดเห็นของนักทฤษฎีทางการเมือง
• โบแดงก็เห็นว่า อํานาจอธิปไตยนีอาจถูกจํากัดโดยกฎหมายหรือกฎของ
ธรรมชาติอันเป็นบรรดากฎหมายต่างๆ ทีกําหนดความถูกต้องหรือ
ความผิดในลักษณะทีมุ่งให้คนรักษาสัญญาและเคารพในทรัพย์สินของ
คนอืนส่วนอีกประการหนึงทีเป็นสิงจํากัดอํานาจอธิปไตยก็คือ กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ ซึงหมายถึงเป็นกฎหมายหลักของประเทศ
แนวความคิดเห็นของนักทฤษฎีทางการเมือง
โทมัส ฮอปส์ (Thomas Hobbes: ค.ศ.1588-1677)
มนุษย์เห็นแก่ตัว และโหดร้าย สังคมเกิดจากการขัดแย้ง และ
ต้องการให้มีผู้ตัดสินคุ้มครองคนแต่ละคน ดังนันสังคมจึงเป็นสิงที
มนุษย์ได้ร่วมกันสร้างขึน ไม่ใช่สิงทีมีมาตามธรรมชาติ รัฐเกิด ขึนก็
เพือจะปกป้องคนโดยแต่ละคนต่างได้ทําสัญญายอมสละเสรีภาพเพือ
ความสงบไม่ต้องรบราฆ่าฟันกันเมือคนทําสัญญากันเช่นนี คนแต่ละคน
ต้องเคารพสัญญาของสังคมนัน และต้องเคารพรัฐซึงเป็นผู้รับมอบ
อํานาจไปจากคน ฮอปส์เรียกสัญญาเช่นนีว่า Leviathan
แนวความคิดเห็นของนักทฤษฎีทางการเมือง
• ปุฟเฟนดอร์ฟ (Puffendorf)
อํานาจอธิปไตย ไว้ในหนังสือ “De Jure Naturae et
Gentium”
• แบ่งอํานาจอธิปไตยออกเป็น 7 อํานาจ คือ
1. อํานาจนิติบัญญัติ 2. อํานาจลงโทษทางอาญา
3. อํานาจทําสงครามและสงบศึก 4. อํานาจทําสนธิสัญญา
5. อํานาจแต่งตังข้าราชการ 6. อํานาจเก็บภาษีอากร
7. อํานาจจัดการศึกษา
แนวความคิดเห็นของนักทฤษฎีทางการเมือง
จอห์น ล๊อค (John Locke: ค.ศ.1632-1704)
• หนังสือ “Secone Treaties of Civil Government” เมือ
ปี ค.ศ.1690
• มนุษย์และสังคมจะแยกจากกันไม่ได้ เพราะสังคมประกอบขึนจากมนุษย์
สังคมจึงมีวัตถุประสงค์สุดท้ายคือ ความผาสุกและความสงบของมนุษย์ซึง
เป็นสมาชิก ดังนันจึงต้องปล่อยให้กลไกทางสังคมและเศรษฐกิจ ดําเนินไป
เองตามสภาพของมัน เพราะกฎเกณฑ์แห่งความพอเหมาะของธรรมชาติ
จะชักจูงให้มนุษย์ ผลิตและปรับปรุงผลผลิต ให้ตรงกับความต้องการของ
มนุษย์เอง
จอห์น ล๊อค (John Locke: ค.ศ.1632-1704)
• อํานาจอธิปไตยออกเป็น 3 อํานาจ
• 1. อํานาจในการบัญญัติกฎหมาย (อํานาจนิติบัญญัติ) ซึงล๊อคเห็นว่า
ต้องไม่ใช่เป็นแบบถาวรเพราะกฎหมายจะจํากัดเสรีภาพของมนุษย์
• 2. อํานาจในการบริหาร หรือในการบังคับใช้กฎหมาย ซึงเป็นการ
ปฏิบัติโดยฝ่ายปกครองและศาล
• 3. อํานาจในความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
• ล๊อค เป็นผู้ให้กําเนิดแก่ ปัจเจกชนนิยม และเสรีภาพคนแรก
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
ฌ๊องจ๊าค รุสโซ (Jean Jaque Rousseau: ค.ศ.1721-1778)
ซึงเป็นผู้ทีเขียนหนังสือ “The Social Contract” หรือสัญญา
ประชาคม
สังคมตามธรรมชาติของมนุษย์นันก็คือมนุษย์เกิดมามีอิสระและเท่าเทียมกัน
สภาพธรรมชาติของมนุษย์จะมีสภาพคล้ายสัตว์ และมีความต้องการน้อยมากในยุค
นัน เรืองของกรรมสิทธิก็ยังไม่มี จนภายหลัง เมือการมีกรรมสิทธิของมนุษย์แต่ละ
คนเกิดขึนรุสโซจึงเชือว่ากรรมสิทธิก่อให้เกิดความชัวร้าย เพราะเหตุกรรมสิทธิได้
ก่อให้เกิดความไม่เสมอภาคระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ความจําเป็นทีจะต้องมีการ
คุ้มครองป้องกันกรรมสิทธิของตน ทําให้มนุษย์ในยุคโบราณ ดําเนินการจัดรูปแบบ
การปกครองของตนขึน
• รุสโซได้กล่าวเอาไว้ว่า “...เราแต่ละคนต่างมอบตัวของเราเอง และ
พลังอํานาจของตัวเรา ให้มาอยู่ภายใต้เจตจํานงทัวไปร่วมกัน และเราก็
ได้มาซึงองค์คณะ ทีสมาชิกแต่ละคน เป็นส่วนทีแยกไม่ได้ของทังหมด
...”
ผลของทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
1. ประชาชนจะมีสิทธิทีจะเลือกผู้ปกครองของตนเอง
2. การมอบอํานาจของประชาชนให้ผู้แทนนัน
3. ประชาชนมีส่วนร่วมในทางกฎหมายและการเมือง
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
ซีเอเยส์(Sieyes) ค.ศ.1748-1836
ซึงเป็นนักปรัชญาทีต่อต้านระบอบอภิสิทธิชนโดยเฉพาะขุนนาง
และกษัตริย์ หนังสือทีมีชือของเขาก็คือ “ความเรียงเกียวกับอภิสิทธ์
...” (Essai Sur les Privileges) ในปี ค.ศ.1789 และ
“อะไรคือสามัญชน” (Qu’est-ce que le tiers Etat ?)
ด้วยการต่อต้านอภิสิทธิชนนีเองทําให้เขาได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภา
ฐานันดรซึงนําไปสู่การปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ.1789
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
ซีเอเยส์(Sieyes) ค.ศ.1748-1836
รัฐบาลมีขึนก็เพือปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ความ
เสมอภาคปราศจากอภิสิทธิเท่านันทีจะเป็นรากฐานของสังคมทีดี สิทธิ
เสรีภาพพืนฐานทีเป็นสิทธิมนุษยชน ทีรัฐต้องคุ้มครองความมีเสรีภาพ
กรรมสิทธิและความมันคง
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
ซีเอเยส์ (Sieyes) ค.ศ.1748-1836
ทฤษฎีกฎหมายมหาชนก็คือ การแบ่งแยกระหว่าง อํานาจสูงสุดใน
การก่อตังองค์กรทางการเมือง (Pouvoir Constituant) และ
อํานาจขององค์กรทีได้รั บมาจากการก่ อตัง (Pouvoir
Constitue) อํานาจแรก เป็นอํานาจทีเป็นของชาติ (Nation) ซึง
อาจมอบให้ผู้แทนไปสร้างรัฐธรรมนูญ เพือก่อตังองค์กรทางการ
เมืองขึนเพือนําไปใช้ในการปกครองประเทศ
การถือทฤษฎีอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ ทําให้เกิดผลดังนี
1. การออกเสียงเลือกตังเป็นหน้าที
2. ผู้แทนแต่ละคนไม่ได้เป็นผู้แทนของประชาชน
3. ประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางกฎหมายกับการเมือง
ทฤษฎีการแบ่งแยกอํานาจ
มองตสกิเออ (Montesquieu: ค.ศ.1689-1755)
รัฐบาลทีดีทีสุด ต้องเป็นรัฐบาลทีอํานาจแต่ละอํานาจ ใช้โดย
องค์กรแต่ละองค์กรทีต่างกัน เมือบุคคลคนเดียว หรือองค์กรเดียวมี
การรวมอํานาจนิติบัญญัติและบริหารไว้ด้วยกันเสรีภาพจะเกิดขึนไม่ได้
และความยุติธรรมก็จะไม่บังเกิดถ้าอํานาจในการตัดสินคดีไม่ได้แยก
ออกจากอํานาจนิติบัญญัติ หรือบริหาร ความมุ่งหมายสูงสุดของมอง
เตสกิเออ ในการแยกอํานาจ ก็เพือทีจะคุ้มครองและให้หลักประกัน
เกียวกับสิทธิเสรีภาพแก่ประชาชน
ทฤษฎีการแบ่งแยกอํานาจ
มองตสกิเออ (Montesquieu: ค.ศ.1689-1755)
ผู้ทีเขียนหนังสือเรือง The spirit of Law หรือ
เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย
• อํานาจอธิปไตย
1. อํานาจนิติบัญญัติ
2. อํานาจบริหาร
3. อํานาจตุลาการ
ลักษณะแห่งอํานาจอธิปไตย
1.มีความสมบูรณ์เด็ดขาด (Absoluteness)
2.ความครอบคลุมทัวไปรอบด้าน (Comprehensiveness)
3.ความยืนยงถาวร (Permanence)
4.ความไม่อาจจะถูกแบ่งแยกได้ (Indivisibility)
ประเภทของอํานาจอธิปไตย
1. อํานาจอธิปไตยทางกฎหมาย (Legal Sovereignty)
2. อํานาจอธิปไตยทางการเมือง (Political Sovereignty )
3. อํานาจอธิปไตยตามข้อเท็จจริง ( De Facto Sovereignty)
4. อํานาจอธิปไตยตามนิตินัย (De Jure Sovereignty )
5. อํานาจอธิปไตยภายนอก (External Sovereignty)
เจ้าของอํานาจอธิปไตย
1.พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย
2.ประชาชนเป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย
3.ผู้มีอํานาจร่างรัฐธรรมนูญเป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย
4.องค์กรนิติบัญญัติเป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย
รัฐกับอํานาจอธิปไตย
• ประการแรก อํานาจดังกล่าวผูกพันยึดติดอยู่กับดินแดน
• ประการทีสอง อํานาจอธิปไตย ยึดติดอยู่กับความเป็นสถาบันใน
ขอบเขตทีกําหนดไว้ด้วยดินแดนและประชากร
ประชาชนกับอํานาจอธิปไตย
1.ประชาชนใช้อํานาจอธิปไตยโดยตรง
2.ประชาชนใช้อํานาจอธิปไตยโดยอ้อมผ่านทางผู้แทน
3.ประชาชนใช้อํานาจอธิปไตยกึงโดยตรง
สิทธิเสรีภาพ (Right / Liberty)
• สิทธิ (Right) หมายถึง อํานาจ หรือประโยชน์อันมีกฎหมายรับรอง
และคุ้มครองให้
• สิทธิ มีความเป็ น 2 นัย คือ สิทธิทางกฎหมาย (Positive
Rights) ได้แก่ อํานาจ หรือประโยชน์กฎหมายสามารถรับรองและ
คุ้มครอง
• สิทธิทางศีลธรรม (Moral Rights) ได้แก่ สิทธิทีเกิดจาก
ความรู้สึกนึกคิดของคนทัวไปว่า วิถีทางทีถูกต้อง และเป็นธรรม
สิทธิเสรีภาพ (Right / Liberty)
• เสรีภาพ (Liberty) หมายถึง
• ความมีอิสระทีจะกระทําการ หรือ งดเว้นกระทําการใดๆ นันเอง
หน้าทีของรัฐต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน
1. หน้าทีกระทําการ
2. หน้าทีงดเว้นกระทําการ
ปรัชญาว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ
มนุษย์ทังหลายเกิดมาเท่าเทียมกัน มนุษย์มีสิทธิบางประการทีติด
ตัวมนุษย์มาตังแต่เกิดจนกระทังถึงแก่ความตาย สิทธิดังกล่าวได้แก่
สิทธิในชีวิต เสรีภาพในร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน และความเสมอภาค
ซึงเป็นสิทธิทีไม่สามารถโอนให้แก่กันได้ และใครผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้
ทีมาของสิทธิและเสรีภาพในทางทฤษฎี
• แนวความคิดกฎหมายธรรมชาติ
กฎหมายธรรมชาติ ก็คือ กฎแห่งธรรมชาติของความเป็นมนุษย์
เมือแนวความคิดนี เชือในกฎธรรมชาติ ก็เลยเชือในสิทธิธรรมชาติด้วย
และเป็นทีมาของสิทธิมนุษยชนในทีสุด
• แนวความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมือง
สิทธิหมายความว่า ประโยชน์ทีกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้
สิทธิจึงเกิดขึนได้โดยกฎหมาย ถ้าไม่มีกฎหมายรับรอง หรือ คุ้มครอง
แล้วสิทธินันๆ ก็ไม่อาจเกิดมีขึนได้
สิทธิมนุษยชน (Human right)
• สิทธิมนุษยชน (Human right) เป็นพืนฐานทีถือว่ามนุษย์ทุกคน
ต้องมี
• เกิดปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ (United
Nations Universal Declaration of Human
Rights - UDHR) ขึนซึงสมัชชาสหประชาชาติลงมติยอมรับ
และประกาศใช้เมือ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 จวบจนถึงปี ค.ศ.
2002
การแบ่งประเภทของสิทธิมนุษยชนตามหลักกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
1. สิทธิพลเมือง (civil rights) ทางด้านการเมือง เช่น สิทธิทีจะมีชีวิต
อันปราศจาก จากการถูกทรมาน หรือ จากการถูกบังคับใช้แรงงาน
หรือ จากการลงโทษทีเกินเหตุ และโหดร้าย สิทธิทีจะได้รับการ
พิพากษาอย่างเป็นธรรม การมีเสรีภาพทีจะแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
2. สิทธิคุณภาพชีวิต ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เช่น สิทธิ
ทีจะได้รับการบริการสาธารณสุข และได้รับการศึกษาอย่างพอเพียง
ตลอดจนมีมาตรฐานความเป็นอยู่ทีดี
ประเด็น
สอบถาม
คําถาม
1. จงอธิยายถึงแนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตย
2. จงอธิยายถึงแนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้า ของสันตะปาปา ของ
กษัตริย์
3. จงอธิยายถึงแนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
4. จงอธิยายถึงแนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
5. จงอธิยายถึงทฤษฎีการแบ่งแยกอํานาจ
6. จงอธิยายถึงลักษณะแห่งอํานาจอธิปไตย
7. จงอธิยายถึงประเภทของอํานาจอธิปไตย
8 จงอธิยายถึงเจ้าของอํานาจอธิปไตย
9. จงอธิยายถึงรัฐกับอํานาจอธิปไตย
10.จงอธิยายถึงประชาชนกับอํานาจอธิปไตย
11.จงอธิยายถึงสิทธิเสรีภาพและสิทธิมนุษยชน

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่chonlataz
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..kruruty
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 

What's hot (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
7
77
7
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 

Similar to Lesson 2 sovereignty

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfLulochLambeLoch
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตยSaiiew Sarana
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรkhamaroon
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบvivace_ning
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of governmentKatawutPK
 

Similar to Lesson 2 sovereignty (20)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
8.1
8.18.1
8.1
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดร
 
Coup d'état
Coup d'étatCoup d'état
Coup d'état
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 

More from KatawutPK

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionKatawutPK
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyKatawutPK
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideologyKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 

More from KatawutPK (15)

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 

Lesson 2 sovereignty