SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บทที่ ๘ ประชาธิปไตยแนวพุทธ
บทนํา
ทฤษฎีประชาธิปไตยเปนทฤษฎีที่มีความเชื่อพื้นฐานวา การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย คือ การปกครองที่มีอํานาจอธิปไตยสูงสุด ประกอบดวย อํานาจนิติ
บัญญัติ บริหารและตุลาการ ซึ่งเปนอํานาจของปวงชน ดังนั้น ประชาธิปไตยจึงมีความ
เกี่ยวของกับประชาชนในดานการจัดระเบียบการจัดการปกครองประเทศ และวิถีชีวิต
ในการดํารงอยูรวมกันอยางยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ความสําคัญและประโยชนซึ่งกันและ
กัน โดยอาศัยกระบวนการเลือกตั้ง โดยเลือกผูแทนเขาไปทําหนาที่รักษาผลประโยชน
และใชอํานาจทางการเมืองแทน ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะกําหนดและบังคับใช
สิท ธิแล ะห นาที่ไดอ ยางถูกตอ ง ช อ บ ธรรม ต าม อุด ม ก ารณป ระช าธิป ไต ย ที่
ประกอบดวยหลักการ0
๑ สําคัญดังตอไปนี้
๑. หลักที่ถือวาประชาชนเปนแหลงที่เกิดและเปนเจาของอํานาจสูงสุดในการ
ปกครองประเทศ
๒. หลักการในการมีสวนรวมของประชาชน
๓. การใชหลักเหตุผล
๔. หลักการปกครองโดยเสียงขางมากโดยไมละเมิดสิทธิของฝายขางนอย
๕. กฎหมายหรือหลักนิติธรรม
๖. หลักความเสมอภาค
ความหมายของประชาธิปไตย
คําวา “ป ระชาธิป ไตย ” (Democracy) มีรากศัพทมาจากภ าษากรีกวา
“Demos” แปลวา “ประชาชน” กับ “Kratos” ซึ่งแปลวา “การปกครอง” สําหรับ
ในภาษาไทย คําวาประชาธิปไตยนั้นผูริเริ่มใชเปนคนแรกคือ กรมหมื่นนราธิปพงศ
ประพันธ “ประชาธิปไตย” สามารถแยกไดเปน ๒ คํา คือ “ประชา” หมายถึง
“ประชาชน” กับ “อธิปไตย” หมายถึง “อํานาจสูงสุดของแผนดิน” เมื่อนําเอาคําทั้ง
สองคํารวมเขาดวยกันจะหมายถึง “การปกครองที่อํานาจสูงสุดเปนของประชาชน”
ต าม พ จ น านุก ร ม ฉ บับ ร าช บัณ ฑิต ย ส ถ าน พ .ศ .๒ ๕ ๔ ๒ ใหค ว าม ห ม าย ข อ ง
ประชาธิปไตยวา1
๒ เปนระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเปนใหญ การถือเสียงขาง
มากเปนใหญ
๑
จรูญ สุภาพ. (๒๕๓๕). ระบบการเลือกตั้งเปรียบเทียบ (ประชาธิปไตย , เผด็จการ) และหลักวิเคราะห
การเมืองแผนใหม. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย
๒
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพ :
นานมีบุคสพับลิเคชันส.
๑๖๕
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประชาธิปไตยในฐานะเปนระบบการเมือง ประกอบดวยหลักสําคัญคือ การให
ประชาชนมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ออกเสียงเลือกตั้ง และการเลือกตั้งจะตองเปนไป
ดวยความบริสุทธิ์ ยุติธรรมและยังมีสิทธิในการออกเสียงประชามติ (Referendum)
สิทธิในการออกเสียงถอดถอน (Recall) เจาหนาที่ของรัฐที่ไดรับตําแหนงในการ
เลือกตั้ง สิทธิในการเสนอแนะเกี่ยวกับกฎหมายที่จําเปน และจะตองมีหลักประกันใน
เรื่องเสรีภาพของประชาชนอยางเหมาะสมตลอดจนความเทาเทียมกันในสังคม ตาม
กฎหมายและการถือเสียงขางมากมีอํานาจปกครอง
ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนวิถีการดําเนินชีวิต ประชาชนยอมรับและปฏิบัติ
ตนในการดํารงชีวิตตามหลักแหงระบอบประชาธิปไตย โดยเคารพในความคิดเห็น
และสิทธิเสรีภาพของผูอื่น สนใจกิจการบานเมือง ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของสังคม
และเคารพในกฎเกณฑกติกาของความเปนประชาธิปไตย การมีวิถีชีวิตแบบ
ประชาธิปไตย ไดแก การมีใจกวางที่จะพิจารณาปญหาตาง ๆ ดวยวิจารณญาณ
อาศัยการพูดคุยแลกเป ลี่ยนความคิดเห็น รวมกัน กอนที่จะมีการตัดสิน รูจัก
ประนีประนอม ไมใชตัดสินปญหาขอขัดแยงดวยการใชกําลังรุนแรง มีขันติธรรม
อดทนรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นที่แตกตางไปจากตัว เคารพสิทธิและเสรีภาพของ
ผูอื่น ตลอดจนยอมรับความเสมอภาคระหวางบุคคล เปนตน
สาโรช บัวศรี ไดใหความหมายของประชาธิปไตยเปน ๓ สถานะ หรือที่
เรียกวา องคสามของประชาธิปไตย ไดแก2
๓
๑. ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนอุดมคติ ซึ่งหมายถึง การมีศรัทธาและความ
เชื่อมั่นในสติปญญา เหตุผลและความสามารถของมนุษย เทิดทูนอิสรภาพ และ
เสรีภาพของมนุษย
๒. ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนระบบการเมืองและวิธีการจัดระเบียบการ
ปกครอง หมายถึง ระบบการเมืองที่ถือวาอํานาจเปนของประชาชนหรือมาจาก
ประชาชน รัฐบาลเปนเพียงผูไดรับมอบอํานาจใหทําหนาที่ปกครองแทนประชาชน
เทานั้น และประชาชนมีโอกาสเปลี่ยนแปลงผูใชอํานาจแทนตนได โดยการเลือกตั้งที่
มีกําหนดวาระ ถือวาเปนการปกครองของประชาชนโดยอาศัยประชาชน และเพื่อ
ประชาชน
๓ . ป ระชาธิป ไตยในฐาน ะที่เปน วิถีชีวิตห รือการดําเนิน ชีวิต ป ระจําวัน
หมายถึง การอยูรวมกัน ปฏิบัติตอกันดวยความเคารพ ทั้งทางกายและวาจา ไม
กาวกายในสิทธิของผูอื่น เคารพกฎเกณฑของสังคม รวมกันรับผิดชอบและทํา
ประโยชนเพื่อความผาสุกของสวนรวม ตลอดจนการใชสติปญญา และความเฉลียว
ฉลาดในการแกปญหาทั้งมวล
กรมวิชาการ ไดระบุวาความหมายของประชาธิปไตย ที่มุงเนนการมีสวน
รวมของประชาชนแตละคนที่มีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกัน จึงใหความหมายของ
๓
สาโรช บัวศรี (๒๕๒๐). พื้นฐานการเมืองและการปกครอง. กรุงเทพฯ : กรมฝกหัดครู.
๑๖๖
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประชาธิปไตยที่ไมหมายถึงเฉพาะระบอบการปกครองอยางเดียว แตรวมไปถึงแบบ
แผนของการดํารงชีวิตรวมกันดวย คือ การตรวจสอบถึงความตองการของประชาชน
และสิ่งที่ประชาชนตองการนั้นไดรับการตอบสนองหรือไม นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการ
มีสวนรวมของประชาชนในสังคมดวย เชน การมีสวนรวมในการออกกฎหมาย
สวัสดิการ สังคม หรือการควบคุมสังคมดานอื่น ๆ โดยที่ประชาชนมีสวนรวมใน
กิจกรรมของสังคม ทั้งนี้ การที่จะไดรับการตอบสนองดังกลาวไดตองอาศัยหลักสอง
ประการ คือ การมีสิทธิและหนาที่ในสังคม หรือเกิดความสัมพันธระหวางสังคมกับ
ปจเจกชน และการที่ปจเจกชนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกัน
อมร รักษาสัตย และคณะ ไดใหลักษณะสําคัญของประชาธิปไตย ในแงของ
หลักการและอุดมการณไว ๑๔ ขอดังนี้3
๔
๑. ประชาชนเปนเจาของอํานาจอธิปไตยเปนผูทรงอํานาจสูงสุด
๒. รัฐบาลไดอํานาจมาจากประชาชนหรือโดยความยินยอมของประชาชน
๓. ประเทศขนาดใหญในปจจุบันนิยมใชประชาธิปไตยทางออม จะตองมีการ
เลือกตั้งผูแทนและพนักงานของรัฐอยางบริสุทธิ์ยุติธรรม โดยประชาชนสามารถใช
สิทธิเลือกตั้งไดอยางอิสระ
๔. สถาบันทางการเมืองที่ทําหนาที่ตัดสินใจทางการเมืองหรือวางนโยบาย
สาธารณะ ตองตั้งขึ้นดวยวิธีทางแหงการแขงขันเพื่อไดรับคะแนนเสียงเห็นชอบจาก
ประชาชน
๕. ประชาชนตองมีสวนรวมในการปกครองประเทศตลอดเวลา ผานกลไก
ตาง ๆ หรือใชสิทธิที่จะแสดงบทบาทตาง ๆ ไดโดยตรง
๖. รัฐบาลตองรับผิดชอบตอประชาชน ประชาชนมีสิทธิติชมควบคุมการ
ทํางานของรัฐบาลตลอดเวลา และมีสิทธิ์เปลี่ยนแปลงรัฐบาลตามวิธีการที่กําหนดไว
๗. อํานาจในการปกครองประเทศตองไมอยูในกํามือของคนคนเดียวหรือกลุม
เดียว ตองมีการแบงอํานาจปกครองประเทศอยางนอยในระดับหนึ่ง
๘. รัฐบาลตองมีอํานาจจํากัด มีการแบงและกระจายอํานาจ มีการตรวจสอบ
และถวงดุลหรือคานอํานาจซึ่งกันและกัน
๙. หนาที่หลักของรัฐบาลคือการสงเสริมปจเจกชน เสรีภาพ ความเสมอภาค
ภราดรภาพของประชาชน
๑๐. การตัดสินใจสําคัญตองเปนไปตามเสียงฝายขางมาก โดยคํานึงถึงสิทธิ
ของฝายขางนอย
๑๑. ประชาชนมีความเสมอภาคกันในดานตาง ๆ โดยเฉพาะความเสมอภาค
ในสายตาของกฎหมายและความมีโอกาสเทาเทียมกันในดานตาง ๆ ทุกคนมีศักดิ์ศรี
และไมมีใครมีอภิสิทธิ์เหนือผูอื่น
๔
อมร รักษาสัตย และคณะ. (๒๕๓๙). ประชาธิปไตย อุดมการณ หลักการและแบบอยางการปกครอง
หลายประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
๑๖๗
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๑๒ . ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพตาง ๆ อยางกวางขวาง โดยรัฐบาลให
หลักประกันและคุมครองการใชสิทธิเสรีภาพนั้นอยางนอยในสิทธิเสรีภาพพื้นฐานที่
สําคัญ
๑๓. ประชาชนตองมีอิสระในการพูด การพิมพ การแสดงความคิดเห็น การ
รวมชุมนุม การตั้งพรรคการเมืองเพื่อใหสามารถมีสวนรวมในการปกครองประเทศได
จริง และอยางมีขอมูล ขาวสาร
๑๔. รัฐบาลตองใชหลักการปกครองโดยกฎหมาย หรือหลักเนติธรรม ไมใช
อํานาจตามอําเภอใจ เชน บุคคลจะถูกจับกุมคุมขังหรือถูกลงโทษไดก็เฉพาะเมื่อมี
กฎหมายกําหนดวามีความผิด และจะตองไดรับการพิจารณาโดยรวดเร็วเปดเผยโดย
คณะตุลาการที่ไมลําเอียง
สรุปไดวาประชาธิปไตยมีความหมายครอบคลุม ๓ ดานสําคัญ คือ
๑. ประชาธิปไตยมีลักษณะที่เปนแนวคิด อุดมการณ หรืออุดมคติ
ที่เชื่อวา มนุษยหรือประชาชนตางมีสิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคอยางเทา
เทียมกันตามธรรมชาติ เคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยซึ่งกันและกัน และสามารถ
อยูรวมกันไดอยางมีความสุข
๒. ประชาธิปไตยในระบบการเมืองการปกครองรูปแบบหนึ่งที่
ประชาชนของประเทศมีสิทธิ มีอํานาจ และมีโอกาสที่จะเขาไปมีสวนรวมหรือ
กําหนดตัวผูนําในการบริหารประเทศ ในลักษณะที่ประชาชนมีอํานาจในการปกครอง
ตนเอง
๓. ประชาธิปไตยในลักษณะเปนวิถีชีวิตที่ประชาชนสวนใหญใชในการ
ดําเนินชีวิตประจําวัน ซึ่งไดแก บุคลิกภาพประชาธิปไตย เชน ความมีเหตุผล การ
เคารพซึ่งกันและกันทั้งในความเปนมนุษยและความสามารถของแตละบุคคล การ
เคารพในกฎเกณฑของสังคม การใชสติปญญาเพื่อการแกปญหาอยางสันติ การมี
ความอดทนอดกลั้นตอความคิดเห็นที่แตกตางกัน รวมทั้งการดําเนินชีวิตอยางมี
เสรีภาพภายใตกฎหมาย และการรวมมือกันเพื่อประโยชนตอสวนรวม

More Related Content

What's hot

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 

What's hot (9)

Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
 
7.0
7.07.0
7.0
 
7.3
7.37.3
7.3
 
Lesson3 bp
Lesson3 bpLesson3 bp
Lesson3 bp
 
6.1
6.16.1
6.1
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
Lesson7 bp
Lesson7 bpLesson7 bp
Lesson7 bp
 

Viewers also liked

Halloween
HalloweenHalloween
HalloweenM3rik3
 
Halloween
HalloweenHalloween
HalloweenM3rik3
 
Bioloogia
BioloogiaBioloogia
BioloogiaM3rik3
 
Tooteesitlus
Tooteesitlus  Tooteesitlus
Tooteesitlus M3rik3
 
aaha sanchar weekly 10 , rukum
aaha sanchar weekly 10 , rukumaaha sanchar weekly 10 , rukum
aaha sanchar weekly 10 , rukummegraj khadka
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองmanit akkhachat
 
aaha sanchar weekly 8, rukum
aaha sanchar weekly  8, rukumaaha sanchar weekly  8, rukum
aaha sanchar weekly 8, rukummegraj khadka
 
Janet jaapan
Janet jaapanJanet jaapan
Janet jaapanM3rik3
 
Kunstiajalugu albrecht dürer
Kunstiajalugu albrecht dürerKunstiajalugu albrecht dürer
Kunstiajalugu albrecht dürerM3rik3
 

Viewers also liked (15)

444
444444
444
 
Halloween
HalloweenHalloween
Halloween
 
Halloween
HalloweenHalloween
Halloween
 
Bioloogia
BioloogiaBioloogia
Bioloogia
 
333
333333
333
 
Tooteesitlus
Tooteesitlus  Tooteesitlus
Tooteesitlus
 
555
555555
555
 
aaha sanchar weekly 10 , rukum
aaha sanchar weekly 10 , rukumaaha sanchar weekly 10 , rukum
aaha sanchar weekly 10 , rukum
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
 
aaha sanchar weekly 8, rukum
aaha sanchar weekly  8, rukumaaha sanchar weekly  8, rukum
aaha sanchar weekly 8, rukum
 
Janet jaapan
Janet jaapanJanet jaapan
Janet jaapan
 
4 aaha sanchar
4 aaha sanchar 4 aaha sanchar
4 aaha sanchar
 
222
222222
222
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Kunstiajalugu albrecht dürer
Kunstiajalugu albrecht dürerKunstiajalugu albrecht dürer
Kunstiajalugu albrecht dürer
 

Similar to 8.1

Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพัน พัน
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีsaovapa nisapakomol
 
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบvivace_ning
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfLulochLambeLoch
 

Similar to 8.1 (20)

Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Soc
SocSoc
Soc
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดี
 
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
 

More from manit akkhachat (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
04
0404
04
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
Nrru 006
Nrru 006Nrru 006
Nrru 006
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 

8.1

  • 1. บทที่ ๘ ประชาธิปไตยแนวพุทธ บทนํา ทฤษฎีประชาธิปไตยเปนทฤษฎีที่มีความเชื่อพื้นฐานวา การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย คือ การปกครองที่มีอํานาจอธิปไตยสูงสุด ประกอบดวย อํานาจนิติ บัญญัติ บริหารและตุลาการ ซึ่งเปนอํานาจของปวงชน ดังนั้น ประชาธิปไตยจึงมีความ เกี่ยวของกับประชาชนในดานการจัดระเบียบการจัดการปกครองประเทศ และวิถีชีวิต ในการดํารงอยูรวมกันอยางยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ความสําคัญและประโยชนซึ่งกันและ กัน โดยอาศัยกระบวนการเลือกตั้ง โดยเลือกผูแทนเขาไปทําหนาที่รักษาผลประโยชน และใชอํานาจทางการเมืองแทน ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะกําหนดและบังคับใช สิท ธิแล ะห นาที่ไดอ ยางถูกตอ ง ช อ บ ธรรม ต าม อุด ม ก ารณป ระช าธิป ไต ย ที่ ประกอบดวยหลักการ0 ๑ สําคัญดังตอไปนี้ ๑. หลักที่ถือวาประชาชนเปนแหลงที่เกิดและเปนเจาของอํานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ ๒. หลักการในการมีสวนรวมของประชาชน ๓. การใชหลักเหตุผล ๔. หลักการปกครองโดยเสียงขางมากโดยไมละเมิดสิทธิของฝายขางนอย ๕. กฎหมายหรือหลักนิติธรรม ๖. หลักความเสมอภาค ความหมายของประชาธิปไตย คําวา “ป ระชาธิป ไตย ” (Democracy) มีรากศัพทมาจากภ าษากรีกวา “Demos” แปลวา “ประชาชน” กับ “Kratos” ซึ่งแปลวา “การปกครอง” สําหรับ ในภาษาไทย คําวาประชาธิปไตยนั้นผูริเริ่มใชเปนคนแรกคือ กรมหมื่นนราธิปพงศ ประพันธ “ประชาธิปไตย” สามารถแยกไดเปน ๒ คํา คือ “ประชา” หมายถึง “ประชาชน” กับ “อธิปไตย” หมายถึง “อํานาจสูงสุดของแผนดิน” เมื่อนําเอาคําทั้ง สองคํารวมเขาดวยกันจะหมายถึง “การปกครองที่อํานาจสูงสุดเปนของประชาชน” ต าม พ จ น านุก ร ม ฉ บับ ร าช บัณ ฑิต ย ส ถ าน พ .ศ .๒ ๕ ๔ ๒ ใหค ว าม ห ม าย ข อ ง ประชาธิปไตยวา1 ๒ เปนระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเปนใหญ การถือเสียงขาง มากเปนใหญ ๑ จรูญ สุภาพ. (๒๕๓๕). ระบบการเลือกตั้งเปรียบเทียบ (ประชาธิปไตย , เผด็จการ) และหลักวิเคราะห การเมืองแผนใหม. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย ๒ ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพ : นานมีบุคสพับลิเคชันส.
  • 2. ๑๖๕ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประชาธิปไตยในฐานะเปนระบบการเมือง ประกอบดวยหลักสําคัญคือ การให ประชาชนมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ออกเสียงเลือกตั้ง และการเลือกตั้งจะตองเปนไป ดวยความบริสุทธิ์ ยุติธรรมและยังมีสิทธิในการออกเสียงประชามติ (Referendum) สิทธิในการออกเสียงถอดถอน (Recall) เจาหนาที่ของรัฐที่ไดรับตําแหนงในการ เลือกตั้ง สิทธิในการเสนอแนะเกี่ยวกับกฎหมายที่จําเปน และจะตองมีหลักประกันใน เรื่องเสรีภาพของประชาชนอยางเหมาะสมตลอดจนความเทาเทียมกันในสังคม ตาม กฎหมายและการถือเสียงขางมากมีอํานาจปกครอง ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนวิถีการดําเนินชีวิต ประชาชนยอมรับและปฏิบัติ ตนในการดํารงชีวิตตามหลักแหงระบอบประชาธิปไตย โดยเคารพในความคิดเห็น และสิทธิเสรีภาพของผูอื่น สนใจกิจการบานเมือง ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของสังคม และเคารพในกฎเกณฑกติกาของความเปนประชาธิปไตย การมีวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตย ไดแก การมีใจกวางที่จะพิจารณาปญหาตาง ๆ ดวยวิจารณญาณ อาศัยการพูดคุยแลกเป ลี่ยนความคิดเห็น รวมกัน กอนที่จะมีการตัดสิน รูจัก ประนีประนอม ไมใชตัดสินปญหาขอขัดแยงดวยการใชกําลังรุนแรง มีขันติธรรม อดทนรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นที่แตกตางไปจากตัว เคารพสิทธิและเสรีภาพของ ผูอื่น ตลอดจนยอมรับความเสมอภาคระหวางบุคคล เปนตน สาโรช บัวศรี ไดใหความหมายของประชาธิปไตยเปน ๓ สถานะ หรือที่ เรียกวา องคสามของประชาธิปไตย ไดแก2 ๓ ๑. ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนอุดมคติ ซึ่งหมายถึง การมีศรัทธาและความ เชื่อมั่นในสติปญญา เหตุผลและความสามารถของมนุษย เทิดทูนอิสรภาพ และ เสรีภาพของมนุษย ๒. ประชาธิปไตยในฐานะที่เปนระบบการเมืองและวิธีการจัดระเบียบการ ปกครอง หมายถึง ระบบการเมืองที่ถือวาอํานาจเปนของประชาชนหรือมาจาก ประชาชน รัฐบาลเปนเพียงผูไดรับมอบอํานาจใหทําหนาที่ปกครองแทนประชาชน เทานั้น และประชาชนมีโอกาสเปลี่ยนแปลงผูใชอํานาจแทนตนได โดยการเลือกตั้งที่ มีกําหนดวาระ ถือวาเปนการปกครองของประชาชนโดยอาศัยประชาชน และเพื่อ ประชาชน ๓ . ป ระชาธิป ไตยในฐาน ะที่เปน วิถีชีวิตห รือการดําเนิน ชีวิต ป ระจําวัน หมายถึง การอยูรวมกัน ปฏิบัติตอกันดวยความเคารพ ทั้งทางกายและวาจา ไม กาวกายในสิทธิของผูอื่น เคารพกฎเกณฑของสังคม รวมกันรับผิดชอบและทํา ประโยชนเพื่อความผาสุกของสวนรวม ตลอดจนการใชสติปญญา และความเฉลียว ฉลาดในการแกปญหาทั้งมวล กรมวิชาการ ไดระบุวาความหมายของประชาธิปไตย ที่มุงเนนการมีสวน รวมของประชาชนแตละคนที่มีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกัน จึงใหความหมายของ ๓ สาโรช บัวศรี (๒๕๒๐). พื้นฐานการเมืองและการปกครอง. กรุงเทพฯ : กรมฝกหัดครู.
  • 3. ๑๖๖ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประชาธิปไตยที่ไมหมายถึงเฉพาะระบอบการปกครองอยางเดียว แตรวมไปถึงแบบ แผนของการดํารงชีวิตรวมกันดวย คือ การตรวจสอบถึงความตองการของประชาชน และสิ่งที่ประชาชนตองการนั้นไดรับการตอบสนองหรือไม นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการ มีสวนรวมของประชาชนในสังคมดวย เชน การมีสวนรวมในการออกกฎหมาย สวัสดิการ สังคม หรือการควบคุมสังคมดานอื่น ๆ โดยที่ประชาชนมีสวนรวมใน กิจกรรมของสังคม ทั้งนี้ การที่จะไดรับการตอบสนองดังกลาวไดตองอาศัยหลักสอง ประการ คือ การมีสิทธิและหนาที่ในสังคม หรือเกิดความสัมพันธระหวางสังคมกับ ปจเจกชน และการที่ปจเจกชนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกัน อมร รักษาสัตย และคณะ ไดใหลักษณะสําคัญของประชาธิปไตย ในแงของ หลักการและอุดมการณไว ๑๔ ขอดังนี้3 ๔ ๑. ประชาชนเปนเจาของอํานาจอธิปไตยเปนผูทรงอํานาจสูงสุด ๒. รัฐบาลไดอํานาจมาจากประชาชนหรือโดยความยินยอมของประชาชน ๓. ประเทศขนาดใหญในปจจุบันนิยมใชประชาธิปไตยทางออม จะตองมีการ เลือกตั้งผูแทนและพนักงานของรัฐอยางบริสุทธิ์ยุติธรรม โดยประชาชนสามารถใช สิทธิเลือกตั้งไดอยางอิสระ ๔. สถาบันทางการเมืองที่ทําหนาที่ตัดสินใจทางการเมืองหรือวางนโยบาย สาธารณะ ตองตั้งขึ้นดวยวิธีทางแหงการแขงขันเพื่อไดรับคะแนนเสียงเห็นชอบจาก ประชาชน ๕. ประชาชนตองมีสวนรวมในการปกครองประเทศตลอดเวลา ผานกลไก ตาง ๆ หรือใชสิทธิที่จะแสดงบทบาทตาง ๆ ไดโดยตรง ๖. รัฐบาลตองรับผิดชอบตอประชาชน ประชาชนมีสิทธิติชมควบคุมการ ทํางานของรัฐบาลตลอดเวลา และมีสิทธิ์เปลี่ยนแปลงรัฐบาลตามวิธีการที่กําหนดไว ๗. อํานาจในการปกครองประเทศตองไมอยูในกํามือของคนคนเดียวหรือกลุม เดียว ตองมีการแบงอํานาจปกครองประเทศอยางนอยในระดับหนึ่ง ๘. รัฐบาลตองมีอํานาจจํากัด มีการแบงและกระจายอํานาจ มีการตรวจสอบ และถวงดุลหรือคานอํานาจซึ่งกันและกัน ๙. หนาที่หลักของรัฐบาลคือการสงเสริมปจเจกชน เสรีภาพ ความเสมอภาค ภราดรภาพของประชาชน ๑๐. การตัดสินใจสําคัญตองเปนไปตามเสียงฝายขางมาก โดยคํานึงถึงสิทธิ ของฝายขางนอย ๑๑. ประชาชนมีความเสมอภาคกันในดานตาง ๆ โดยเฉพาะความเสมอภาค ในสายตาของกฎหมายและความมีโอกาสเทาเทียมกันในดานตาง ๆ ทุกคนมีศักดิ์ศรี และไมมีใครมีอภิสิทธิ์เหนือผูอื่น ๔ อมร รักษาสัตย และคณะ. (๒๕๓๙). ประชาธิปไตย อุดมการณ หลักการและแบบอยางการปกครอง หลายประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
  • 4. ๑๖๗ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๑๒ . ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพตาง ๆ อยางกวางขวาง โดยรัฐบาลให หลักประกันและคุมครองการใชสิทธิเสรีภาพนั้นอยางนอยในสิทธิเสรีภาพพื้นฐานที่ สําคัญ ๑๓. ประชาชนตองมีอิสระในการพูด การพิมพ การแสดงความคิดเห็น การ รวมชุมนุม การตั้งพรรคการเมืองเพื่อใหสามารถมีสวนรวมในการปกครองประเทศได จริง และอยางมีขอมูล ขาวสาร ๑๔. รัฐบาลตองใชหลักการปกครองโดยกฎหมาย หรือหลักเนติธรรม ไมใช อํานาจตามอําเภอใจ เชน บุคคลจะถูกจับกุมคุมขังหรือถูกลงโทษไดก็เฉพาะเมื่อมี กฎหมายกําหนดวามีความผิด และจะตองไดรับการพิจารณาโดยรวดเร็วเปดเผยโดย คณะตุลาการที่ไมลําเอียง สรุปไดวาประชาธิปไตยมีความหมายครอบคลุม ๓ ดานสําคัญ คือ ๑. ประชาธิปไตยมีลักษณะที่เปนแนวคิด อุดมการณ หรืออุดมคติ ที่เชื่อวา มนุษยหรือประชาชนตางมีสิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคอยางเทา เทียมกันตามธรรมชาติ เคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยซึ่งกันและกัน และสามารถ อยูรวมกันไดอยางมีความสุข ๒. ประชาธิปไตยในระบบการเมืองการปกครองรูปแบบหนึ่งที่ ประชาชนของประเทศมีสิทธิ มีอํานาจ และมีโอกาสที่จะเขาไปมีสวนรวมหรือ กําหนดตัวผูนําในการบริหารประเทศ ในลักษณะที่ประชาชนมีอํานาจในการปกครอง ตนเอง ๓. ประชาธิปไตยในลักษณะเปนวิถีชีวิตที่ประชาชนสวนใหญใชในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน ซึ่งไดแก บุคลิกภาพประชาธิปไตย เชน ความมีเหตุผล การ เคารพซึ่งกันและกันทั้งในความเปนมนุษยและความสามารถของแตละบุคคล การ เคารพในกฎเกณฑของสังคม การใชสติปญญาเพื่อการแกปญหาอยางสันติ การมี ความอดทนอดกลั้นตอความคิดเห็นที่แตกตางกัน รวมทั้งการดําเนินชีวิตอยางมี เสรีภาพภายใตกฎหมาย และการรวมมือกันเพื่อประโยชนตอสวนรวม