SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
Political concepts
Asst.prof.Katawut Phonkhot,Ph.D
Dr.Piyanan Songsoontorawat
Bachelor of Political Science Program
NRRU
วัตถุประสงค์
• อธิบายความหมายของแนวความคิดทางการเมืองได้
• อธิบายและแยกสาระสําคัญแนวความคิดเกียวกับการเมืองในแต่ล่ะยุคได้
• อธิบายและเข้าใจประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมืองได้
• อธิบายและสรุปเกียวกับแนวความคิดปรัชญาการเมืองในแต่ละยุคสมัยได้
• อธิบายและเปรียบเทียบความสําคัญแนวความคิดของนักปรัชญาในแต่ล่ะ ยุคมีความสอดคล้องกับสถานการณ์การเมืองปัจจุบันได้
แนวความคิดทางการเมือง
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคโรมัน
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคกลาง
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคสมัยใหม่
• แนวความคิดทางการเมืองในยุคแห่งความรุ่งโรจน์
• ปฏิวัติอุตสาหกรรม
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
สถาบันทางการเมือง
ของกรีก
ทาส
(slave)
คนต่างด้าว
(metics)
พลเมือง
(citizen)
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
รูปแบบการ
ปกครอง
สภาเมือง สภาห้าร้อย สภาสิบนายพล ศาล
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
• แนวคิดทางการเมืองของเพลโต
• “ทุกสิงทุกอย่างควรจะดีทีสุดเท่าทีมันสามารถเป็นไปได้ถ้ามันเป็นสิงทีดีทีสุดแล้ว สิงนันจะ
กลายเป็นสากล”
The Republic
รัฐจะต้องให้ความยุติธรรม ลักษณะสังคมแบบคอมมิวนิสต์
คุณงามความดี ไม่สนับสนุนประชาธิปไตย
การแบ่งงานกันทํา ความกลมกลืน
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
• แนวคิดทางการเมืองของอริสโตเติล
• ความรู้เป็นสิงทีดีทีสุดในการปกครองรัฐ
• แบ่งปันทีดินอย่างเท่าเทียมกันแต่ต้องใช้เพือส่วนรวมไม่ใช่เพือส่วนตัว
• งานศิลปะคือการปกครองรัฐ
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
• แนวคิดทางการเมืองของเพลโต
• มนุษย์เป็นสัตว์การเมือง
• แนวคิดเกียวกับรัฐ
• สนับสนุนหลักการปกครองโดยกฎหมาย
• สนับสนุนให้มีการถือครองสมบัติส่วนตัว
• รูปแบบของระบบการเมือง
• สนับสนุนโพลิตี
แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก
• แนวคิดทางการเมืองของเพลโต
ระบบ ผู้ปกครองคนเดียว กลุ่มผู้ปกครอง คนหมู่มาก
ระบบดี
ระบบกษัตริย์หรือ
ราชาธิปไตย
(monarchy)
ระบบขุนนาง หรืออภิ
ชนาธิปไตย
(aristocracy)
ระบบรัฐธรรมนูญ
(Polity)
ระบบไม่ดี
ระบบธรราชย์
(tyranny)
ระบบพวกพ้อง หรือ
คณาธิปไตย
(oligarchy)
ระบบประชาธิปไตย
(Democracy)
แนวคิดทางการเมืองปลายยุคกรีก
•แนวความคิดของกลุ่มอิพิคิวเรียน
•แนวความคิดของกลุ่มซินนิค
•แนวความคิดของพวกสโตอิค
แนวคิดทางการเมืองปลายยุคกรีก
** แนวความคิดของกลุ่มอิพิคิวเรียน
• “ชีวิตทีดีงามคือชีวิตทีตัดสิงยุ่งๆ นีออกไปเสียและหาความสุขให้แก่ตัวเองอย่าง
เต็มที”
• รัฐก่อตัวขึนมาด้วยจุดประสงค์ทีจะรักษาไว้ซึงความมันคงปลอดภัยของบุคคล
• นิยมระบบกษัตริย์เพราะ เชือว่าเป็นระบบทีแข็งแกร่งและรับประกันความ
ปลอดภัยได้ดีกว่า
แนวคิดทางการเมืองปลายยุคกรีก
** แนวความคิดของกลุ่มซินนิค
• สอนให้คนยากจนเกลียดชังต่อผู้ดีและต่อต้านการแบ่งชนชัน
• สร้างสังคมใหม่ทีไม่มีการครอบครอง ทรัพย์สิน ไม่มีระบบครอบครัว ไม่มี
ชาติหรือกฎหมาย
แนวคิดทางการเมืองปลายยุคกรีก
** แนวความคิดของพวกสโตอิค (Stoics)
• รัฐบาลโลกและกฎของพระเจ้า : กฎทีว่าด้วยอะไร
ถูก อะไร ผิด ด้วยกฎอันเป็นนิรันดร์ของพระเจ้า
• ความเสมอภาค : เชือในความเท่าเทียมกันของมนุษย์
โดยไม่ตัดสินจากฐานะทางสังคม
ความคิดทางการเมืองยุคโรมัน
** แนวความคิดของชิเซโร (Cicero)
• รัฐคือสมบัติของประชาชน
• รัฐใช้อํานาจในนามประชาชน
• กฎหมายธรรมชาติ
• ชิเซโรไม่สนับสนุนระบอบการปกครองแบบนครรัฐของกรีก
• ผู้ปกครองต้องให้บริการแก่ประชาชนและต้องระลึกว่าการกระทําต่างๆ ต้องส่งผลถึง
ความดีงามของรัฐ
แนวคิดทางการเมืองยุคกลาง
** แนวความคิดของนักบุญเซนต์ ออกัสติน (St. Augustine)
• อาณาจักรของพระเจ้า : ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นการต่อสู้กันระหว่างอาณาจักร
บนพืนโลก (earthly society) และอาณาจักรของพระเจ้า (city of god)
• อาณาจักรของมนุษย์ทีดีต้องมีความยุติธรรม : ผู้ปกครองเปรียบเสมือนตัวแทนจาก
พระเจ้าและถือเป็นการลงโทษของพระเจ้าต่อมนุษย์ซึงเป็นคนบาป
• ความเป็นอันหนึงอันเดียวกันของมนุษยชาติ : เชือในพระเจ้าองค์เดียวกัน
แนวคิดทางการเมืองยุคกลาง
** แนวความคิดของนักบุญโทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas)
• รัฐต้องอยู่ภายใต้อํานาจขององค์การของศาสนาคริสต์
• ไม่สนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่สนับสนุนการ
ปกครองแบบราชาธิปไตย
• ประชาชนต้องเชือฟังผู้ปกครอง
แนวคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
• สภาพทางสังคมในยุคฟืนฟู
• แนวความคิดของแมคเคียวเวลลี
• แนวความคิดของมาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther)
• แนวความคิดของจัง โบแดง (John Bodin)
แนวคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
** สภาพทางสังคมในยุคฟื นฟู
• ฟืนฟูศิลปะวิทยาการ
• การพัฒนาวิทยาศาสตร์
• ศาสนาคริสต์เริมเสือมลง
• การขยายตัวของการค้าทางไกล
• การสร้างระบบกฎหมายใหม่และพัฒนาระบบเงินตรา
• การล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันออก
• การเสือมของระบบฟิวดัล
แนวคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
** แนวความคิดของแมคเคียวเวลลี
• แยกการเมืองออกจากศาสนา
• รัฐเป็นสิงสูงสุด
• ต้องแยกรัฐออกจากศีลธรรมจรรยา
• ครองนครหรือนักการเมืองเป็นนักฉวยโอกาส
• อย่ากลัวถ้าจะต้องทําผิดบ้าง
• ผู้ปกครองไม่จําเป็นต้องเป็นคนดีแต่ควรแสร้งแสดงให้คนอืนคิดว่าเป็นคนดี
• ผู้ปกครองควรให้คนเกลียดมากกว่าคนรัก
• หลีกเลียงการประจบสอพลอ
• ผู้มีอํานาจย่อมเป็นผู้ถูก
แนวคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
** แนวความคิดของมาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther)
• อํานาจทางการเมืองควรแยกออกมาจากอํานาจทางศาสนา
• ประชาชนสามารถต่อต้านกษัตริย์ผู้ไม่เป็นธรรม
• ประชาชนต้องเชือฟังอํานาจของกษัตริย์โดยไม่ต้องผ่านสันตะปาปา
แนวคิดทางการเมืองในยุคฟื นฟู
** แนวความคิดของจัง โบแดง (John Bodin)
• รัฐเป็นการรวมกันของแรงของสังคม
• อํานาจสูงสุดทีมีเหนือประชาชน ทุกคนโดยไม่ถูกจํากัด
โดยกฎหมาย
• กษัตริย์เป็นผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐ
แนวความคิดทางการเมืองยุคสมัยใหม่
** โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
• ทุกคนจะแสวงหาประโยชน์ซึงกันและกันไม่มีกฎระเบียบ ไม่มี
กฎหมายหรืออํานาจใดๆ
• มนุษย์เข้ามาอยู่รวมกันเป็นสังคมและสละอํานาจให้องค์อธิปัตย์
• ระบบกษัตริย์เป็นระบบการปกครองทีดีทีสุด
• เศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อความมันคงทางการเมือง
แนวความคิดทางการเมืองยุคสมัยใหม่
** จอนห์ล็อค (John Locke)
• สภาพธรรมชาติของมนุษย์มีสิทธิเสรีภาพ
• สิทธิตามธรรมชาติทีได้กล่าวมาอยู่ติดตัวมนุษย์มาตังแต่เกิดไม่มีใครสามารถ ละเมิดหรือถอดถอนไปได้
• ผู้ปกครองทุกคนย่อมอยู่ภายใต้กฎหมาย
• การเมืองทีมีเหตุผลต้องเชือฟังคนกลุ่มใหญ่
• สนับสนุนหลักการแบ่งแยกอํานาจแบบรัฐสภา
• รัฐบาลควรมีอํานาจทีจํากัด
รัฐ
บา
ล
คว
รมี
อํา
นา
จที
จํา
• ประชาชนสามารถใช้สิทธิลบล้างรัฐบาลทีใช้อํานาจไม่ชอบธรรม
รัฐ
บา
ล
คว
รมี
อํา
นา
จที
• บุคคลมีสิทธิต่อทรัพย์สิน
ยุคแห่งความรุ่งโรจน์ (Enlightenment)
** แนวความคิดของมองเตสกิเออ (Montesquieu)
•ทุกสิงทุกอย่างขึนอยู่กับกฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึงเสมอ
•สนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย
•การศึกษามีอิทธิพลต่อการเมือง
•บุคคลพึงมีเสรีภาพตามกฎหมาย
ยุคแห่งความรุ่งโรจน์ (Enlightenment)
** รุสโซ (Jean-Jacque Rousseau)
• มนุษย์เกิดมากับเสรีภาพ แต่เขาได้ถูกพันธนาการไว้
• สัญญาประชาคม : การทีเอก ชนทุกคนยอมยกสิทธิตามธรรมชาติของตนให้กับองค์ธิปัตย์
• เจตนารวมนีเป็นอันหนึงอันเดียว
• กฎหมายคืออํานาจของเจตนารวม
• รัฐ และรัฐบาลมีความแตกต่างกัน
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
** คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)
• ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นการต่อสู้ระหว่างชนชัน
• โลกของนายทุน
• พวกนายทุนทังหลายมักเรียกร้องเสรีภาพ
• นายทุนเป็นพวกไร้ศีลธรรม
• ชนชันกรรมาชีพจะชนะชนชันนายทุนในทีสุด
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
** คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)
• คอมมิวนิสต์คือ กลุ่มผู้นําของชนชันกรรมาชีพ
• ชนชันกรรมาชีพจะต้องรวมตัวกันเป็นอันหนึงอันเดียว
• ไม่มีทรัพย์สินส่วนตัว
• ยกเลิกสถาบันครอบครัว
• ยกเลิกความเป็นชาติ
U3 political concepts

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร Por Oraya
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 

What's hot (20)

อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 

Similar to U3 political concepts

U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideologyKatawutPK
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองFURD_RSU
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 

Similar to U3 political concepts (11)

U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 

More from KatawutPK

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionKatawutPK
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of governmentKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 

More from KatawutPK (15)

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 

U3 political concepts