SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
Lesson 1
State
Asst. Prof. Ating Capt.KATAWUT PONKHOT, Ph.D.
Bachelor of Political Science Program
NRRU
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของรัฐได้
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายเหตุผลแห่งรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายปรัชญาว่าด้วยรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายการกําเนิดรัฐและแนวคิดใหม่ของการเกิดรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบของรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายจุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และชาติ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบของรัฐ
• เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายจากนิติรัฐ สู่ นิติธรรม
ความหมายของรัฐ
Harold lasswell ให้ความหมายว่า รัฐ คือ กลุ่มคนทีอยู่รวมกันเป็น
ระเบียบ อาศัยอยู่ในเขตเดียวกัน และมีอํานาจอธิปไตยสูงสุดในอาณาเขต
H. J. Laski ให้ความหมายว่า รัฐ คือ สังคมหรือชุมชน ทีมีอาณาเขตหรือ
ดินแดนทีแน่นอน มีรัฐบาล ( government) ผู้ถูกปกครอง (Subjects)
และมีอํานาจสูงสุด (Supermacy) เหนือสถาบันอืนทังหมด
Woodrow Willson ให้ความหมายว่า รัฐ หมายถึง การรวมตัวกัน
ของประชาชนอย่างมีระเบียบเพือสร้างสถานภาพทีมีกฎหมายภายในอาณาเขต
หรือดินแดนทีแน่นอน
Roger Benjamin และ Raymond Duvall
1. รัฐในฐานะทีเป็นรัฐบาล (The State as Government) ซึง
หมายความถึง กลุ่มบุคคลทีดํารงตําแหน่งทีมีอํานาจในการตัดสินใจในสังคม
การเมือง
2. รัฐในฐานะทีเป็นระบบราชการ (The State as Public
Bureaucracy) หรือเครืองมือทางการบริหารทีเป็นปึกแผ่น และเป็น
ระเบียบทางกฎหมายทีมีความเป็นสถาบัน
3. รัฐในฐานะทีเป็นชนชันปกครอง (The State as Ruling Class)
4. รัฐในฐานะทีเป็นโครงสร้างทางอุดมการณ์ (The State as
Normative Order)
เหตุผลแห่งรัฐ
• ความกลัว
• ความปรารถนาทีจะมีชีวิตรอดอยู่อย่างมีความสุข
• ความต้องการทีจะอยู่อย่างมีศักดิศรี
ปรัชญาว่าด้วยรัฐ
Socrates Plato
ก่อนคริสตกาล
โสกราตีส เป็นศาสดาของผู้สอน
เพลโต เป็นศาสดาของผู้คิด
อริสโตเติล เป็นศาสดาของผู้เรียน
(บิดาแห่งรัฐศาสตร์ )
รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution)
ทฤษฎีเทวสิทธิ (Theory of the Divine Right)
1. รัฐเกิดจากพระประสงค์ของพระเจ้า
2. มนุษย์มิได้เป็ นปัจจัยสําคัญในการสร้างรัฐ แต่เป็ นเพียง
องค์ประกอบของรัฐ
3. ผู้ปกครองรัฐได้อํานาจปกครองมาจากพระเจ้า ผู้ใดฝ่าฝืนอํานาจรัฐ
ผู้นันฝ่าฝืนโองการพระเจ้า
4. ประชาชนในรัฐจะต้องเชือฟังอํานาจรัฐโดยเคร่งครัด
รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution)
ทฤษฎีสัญญาประชาคม (Theory of the Social Contract)
John Locke Thomas Hobbes Jean Jacques Rousseau
ทฤษฎีสัญญาประชาคม
(Theory of the Social Contract)
1. รัฐเกิดจากมนุษย์ หรือมนุษย์เป็นผู้สร้างรัฐต่างหาก
2. ในการสร้างรัฐ มนุษย์มารวมเข้าด้วยกันโดยมีเจตนาแน่นอน เสมือนทํา
สัญญาร่วมกันว่า จะผูกพันกัน เผชิญทุกข์เผชิญสุขร่วมกัน
3. การทีมนุษย์มาผูกพันร่วมกันเช่นนี ถือว่าเป็นการทําสัญญาประชาคมขึน
รัฐและรัฐบาล จึงเกิดจากสัญญาของมนุษย์ ถ้ารัฐบาลปกครองไม่เป็นธรรม
ก็ถือว่าผิดสัญญาประชาคม รัฐบาลจะต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในฐานะ
คู่สัญญา
4. รัฐบาลจะต้องกระทําตามเจตนารมณ์ของประชาชน ซึง รุสโซ เรียกว่า
General Will โดยเฉพาะในข้อทีว่า เจตนารมณ์ของประชาชนย่อมอยู่
เหนือสิงอืนใด รัฐบาลจะละเมิดมิได้
รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution)
ทฤษฎีพลกําลัง (Theory of Force)
รัฐเกิดขึนจากการยึดครองและการใช้กําลังบังคับ ทฤษฎีนีเองที
นําไปสู่ความเชือในเรือง ชาตินิยม และความคิดทีว่า รัฐคืออํานาจ
ซึงอยู่เหนือศีลธรรมทังปวง
รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution)
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Theory of Evolution)
นําเสนอโดย อริสโตเติล
กลุ่มชน > สังคมร่วมเผ่าพันธุ์ > รัฐหรือนครรัฐ > จักรวรรดิ
เพลโต (Plato)
จํานวนผู้ปกครอง รัฐทีมีกฎหมาย รัฐทีไม่มีกฎหมาย
คนเดียว ราชาธิปไตย ทุชนาธิปไตย
คนส่วนน้อย อภิชนาธิปไตย คณาธิปไตย
คนส่วนมาก มัชฌิมวิถีอธิปไตย ประชาธิปไตย
อริสโตเติล (Aristotle)
จํานวน เพือประชาชน เพือผู้ปกครอง
คนเดียว ราชาธิปไตย ทุชนาธิปไตย
คณะผู้ปกครอง อภิชนาธิปไตย คณาธิปไตย
ประชาชนทังหมด มัชฌิมวิถีประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
(Emergence of the Modern State)
นครรัฐ (City - State)
• พืนทีของนครรัฐมีขนาดเล็ก ประชากรมีประมาณ 10,000 คน
• มีเมือง 1 เมืองและเขตแดนทีเป็นชนบททีมีผู้อยู่อาศัยขนาดเหมาะสมที
ต้องขึนอยู่กับเจ้าหน้าทีบ้านเมือง
• มีขนาดของกองกําลังติดอาวุธในเมืองสามารถจะปราบปรามได้
• นครรัฐทุกแห่งมีรัฐบาล
• รัฐบาลมีเจ้าหน้าทีของนครรัฐทีจะคอยทําหน้าทีต่างๆ
ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
(Emergence of the Modern State)
อาณาจักรโบราณ (Ancient Empire)
• ขนาดของอาณาจักรมีอาณาเขตประมาณ 100,000 ตารางไมล์ มี
ประชากรจํานวนมหาศาล
• สร้างขึนหลังจากชัยชนะของพวกทหารทีมีต่อนครรัฐ
• อัตตาธิปไตย (Autocratic government)
• ผู้ปกครองมีลักษณะการปกครองแบบทรราชย์อย่างสมบูรณ์แบบ
ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
(Emergence of the Modern State)
สมัยกลาง : ศักดินา (The middle Ages : Feudalism)
• เกิดขึนประมาณ ศตวรรษ ที 10 – 11
• รัฐจะเป็นศูนย์รวมของกลุ่มขุนนางศักดินา ผู้ซึงมีกรรมสิทธิทีดินที
ได้รับมาจากพระมหากษัตริย์
• เกิดโครงสร้างความสัมพันธ์แบบปิรามิด
• ก่อให้เกิดสภาพอนาธิปไตยขึน (Anarchy)
ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
(Emergence of the Modern State)
รัฐราชวงศ์ (Dynastic State)
• เกิดขึนในอังกฤษและฝรังเศส
• กษัตริย์เป็นผู้ดูแลอาณาจักรของพระองค์
• ความจงรักภักดีส่วนตัวต่อพระราชวงศ์ ความเห็นพ้องต้องกันมีจุด
ศูนย์กลางอยู่ทีองค์พระมหากษัตริย์พร้อมกันนีกษัตริย์
• จะออกกฎหมายมหาชน(Public Law) และพระองค์จะเป็นผู้เพิม
จํานวนข้าราชการ
ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
(Emergence of the Modern State)
รัฐชาติ (Nation - State)
• รัฐชาติมีรากฐานมาจากลัทธิชาตินิยม
• เกิดขึนครังแรกในประเทศอังกฤษหลังจากการปฏิวัติทีเรียกว่า Glorious
Revolution ในปี ค.ศ. 1688
• ฝรังเศสหลังจากเกิดการปฏิวัติฝรังเศส (French Revolution) ในปี
ค.ศ. 1789
• การเป็นพันธมิตรกันของอิตาลีและเยอรมัน ในระหว่า ค.ศ. 1859 –
1871
องค์ประกอบของรัฐ
ชาติ มีรากศัพท์จากภาษาละติน คําว่า Natus ซึงหมายถึงการ
เกิด (Birth) ดังนันชาติ (Nation) จึงหมายถึง พลเมืองทีมีเชือชาติ
เดียวกันอาศัยในอาณาเขตเดียวกัน
สัญชาติ (Nationality) คือฐานะของบุคคลทีมีความสัมพันธ์
กับรัฐโดยมีรากฐานจากความสวามิภักดิซึงเป็นความรู้สึกทางจิตใจ หรือ
ความสัมพันธ์ทีเกิดจากการทีบุคคลจํานวนหนึงมีเชือชาติเดียวกัน
องค์ประกอบของรัฐ
• ประชากร ( Population)
• ดินแดน (Territory)
• รัฐบาล (Government)
• อํานาจอธิปไตยและความเป็นอิสระ
(Sovereignty and Independence)
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
จุดมุ่งหมายของรัฐ
Aristotle จุดมุ่งหมายของรัฐก็คือจริยธรรม (Ethical)
“ชีวิตทีดีคือชีวิตทีอยู่ตามเหตุผล ในทางจริยธรรมหน้าทีของเหตุผล
ประกอบด้วยแนวทางการประพฤติปฏิบัติตามกฎ ตามระเบียบ แต่
ในทางการเมืองหน้าทีของเหตุผล คือการวางเงือนไขความร่วมมือซึงกัน
และกันในกลุ่มพลเมืองเพือส่งเสริมสวัสดิการของรัฐ”
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
จุดมุ่งหมายของรัฐ
John Locke
“การปกป้องรักษาทรัพย์สินของตน สภาวะธรรมชาติทรัพย์สินไม่
ปลอดภัย การทีจะให้ทรัพย์สินมีความปลอดภัยจะต้องมีสังคมการเมือง
และให้องค์การหนึงคือรัฐบาลใช้อํานาจในการทําหน้าทีในการปกป้อง
รักษาทรัพย์สินของตน”
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
จุดมุ่งหมายของรัฐ
Adam Smith
องค์อธิปัตย์ มีหน้าทีหรือจุดมุ่งหมายตามทีระบุในหนังสือ The
Wealth of Nation ว่ามี 3 ประการคือ
–การปกป้องจากการรุกรานของชาติอืน
–การปกป้องคุ้มครองสมาชิกทุก ๆ คนให้ได้รับความยุติธรรม
–การสร้าง และรักษากิจกรรมสาธารณะ (public works)
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
หน้าทีของรัฐ (The Function of the State)
• หน้าทีทีรัฐต้องกระทํา (Essential Function)
- การป้องกันการรุกรานจากต่างชาติ
- การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมและการดําเนินการไปตามกฎหมายต่อผู้
ปฏิบัติฝ่าฝืน
- การลงโทษผู้ทีกระทําผิด ปกป้องคุ้มครองสิทธิต่างๆ ของปัจเจกบุคคล การ
ยุติข้อโต้แย้ง โดยใช้วิธีการทางกฎหมาย
- การติดต่อ สร้างความสัมพันธ์อันดีกับรัฐอืน
- การเก็บภาษีเพือให้ภารกิจของรัฐดําเนินการต่อไปได้ตรงตามเป้าหมาย
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
หน้าทีของรัฐ (The Function of the State)
• หน้าทีทางธุรกิจ (Business Function) - การขายบริการหรือขายสินค้า
โดยกิจการบางอย่างทีภาคเอกชนอาจทําอยู่แล้วแต่ไม่ได้ผลดีเท่าทีควร ภาครัฐจึง
เข้าไปดําเนินงานเอง
• หน้าทีในการบริการ (Service Function) - รัฐทีจะกระทําหรือไม่กระทํา
ตามความต้องการของสังคมก็ได้ บางครังเป็นการยากในการกําหนดหน้าที
ให้บริการ หน้าทีใดเป็นหน้าทีทีรัฐต้องกระทํา
จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ
หน้าทีของรัฐในทรรศนะนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ แบ่งเป็น 2 แนวคิด
แนวคิดที 1 เน้นบทบาทหน้าทีของรัฐทังด้านเศรษฐกิจและการเมือง
แนวคิดที 2 เน้นบทบาทหน้าทีเฉพาะด้านการเมืองแนวคิดนีเป็นแนวคิด
ร่วมสมัยทีนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์นิยมแบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ
ประชาธิปไตยและเผด็จการ
ประชาธิปไตย (Democracy) กําเนิดขึนครังแรกในยุคกรีก
Democracy มาจาก 2 คําคือ demos จากคําว่า People คือประชาชน
และคําว่า Kretein จากคําว่า to rule คือการปกครอง แปลตามรูปศัพท์ คือ
การปกครองโดยประชาชน( rule by people )หรือ Popular
sovereignty คือ อํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
ความหมายในวงแคบ - รูปแบบการปกครองทีประชาชนเจ้าของประเทศ
เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย มีสิทธิ อํานาจและโอกาส ในการควบคุมกิจการ
ทางการเมืองของชาติ
ความหมายในวงกว้าง - ปรัชญาของสังคมมนุษย์หรือวิถีชีวิตทียึดถือ
อุดมการณ์หรือหลักการทีกําหนดพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมในกิจกรรม
การเมืองเศรษฐกิจ สังคมฯ
• เผด็จการ (dictatorship)
แบบอํานาจนิยม (authoritarianism) และแบบเบ็ดเสร็จ
(Totalitarianism)
ความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และ ชาติ
รัฐ เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า State คําว่า ประเทศ หรือ
Country กับคําว่า ชาติ หรือ Nation
• รัฐไทย หรือ ประเทศไทย หรือ ชาติไทย
• ประเทศ - มุ่งเพียงกล่าวถึงดินแดนหรืออาณาเขตทีอยู่ภายใต้การปกครอง
ของรัฐบาลเดียวกันเท่านันโดยไม่จําเป็นว่าประเทศนันจะต้องมีอธิปไตย
เฉกเช่นรัฐแต่อย่างใด
• ชาติ - มุ่งหมายใช้กับประชาชนหรือสังคมมากกว่าจะใช้กับดินแดนดัง
ประเทศ อีกทังยังหมายถึง ความผูกพันเป็นอันหนึงอันเดียวกันในทาง
วัฒนธรรม อาทิ เผ่าพันธุ์ ภาษา ศาสนา
รูปแบบของรัฐ
• รัฐเดียว
รัฐทีมีศูนย์กลางในทางการเมืองและการปกครองรวมกันเป็นอันหนึง
อันเดียว เป็นรัฐซึงมีเอกภาพไม่ได้แยกออกจากกัน มีการใช้อํานาจสูงสุดทัง
ภายในและภายนอกโดยองค์กรเดียวกันทัวดินแดนของรัฐ
• รัฐรวม
รัฐต่างๆ ตังแต่ 2 รัฐขึนไป ซึงได้เข้ามารวมกันภายใต้รัฐบาลเดียวกัน
หรือประมุขเดียวกัน อาจด้วยความสมัครใจของทุกรัฐเพือประโยชน์ร่วมกัน
โดยทีแต่ละรัฐต่างก็ยังคงมีสภาพเป็นรัฐอยู่อย่างเดิม เพียงแต่การใช้อํานาจ
อธิปไตยได้ถูกจํากัดลงไปบ้าง มากบ้างน้อยบ้างตามแต่รัฐธรรมนูญจะ
กําหนด หรือตามแต่ข้อตกลงทีได้ให้ไว้
จาก นิติรัฐ สู่ นิติธรรม
สมัยกรีก เมืออริสโตเติลกล่าวถึง รัฐทีดีว่าจะต้องมีผู้นําทีดี และ
ผู้นําทีดีจะต้องเคารพกฎหมาย แม้ราษฎรจะดีอย่างไรก็ตาม ถ้าตกไปอยู่
ในรัฐบาลเลว มีผู้นําเลว ไม่เคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง ราษฎรนัน
ย่อมโชคร้ายเดือดร้อน
ศาสตราจารย์ดร. หยุด แสงอุทัย
“รัฐตามรัฐธรรมนูญสมัยใหม่ย่อมเป็นนิติรัฐ คือ เป็นรัฐทียอมตน
อยู่ใต้บังคับแห่งกฎหมาย ซึงรัฐเป็นผู้ตราขึนเอง หรือ ยอมใช้บังคับ”
ประเทศใดประเทศหนึงจะเป็นนิติรัฐได้
1. ในประเทศนันกฎหมายจะต้องอยู่เหนือสิงใดทังหมด
2. ในประเทศทีเป็นนิติรัฐ ขอบเขตแห่งอํานาจหน้าทีของรัฐย่อมกําหนดไว้
แน่นอน
3. ในประเทศทีเป็นนิติรัฐ ผู้พิพากษาจะต้องมีอิสระในการพิจารณา
พิพากษาคดี
หลักนิติธรรมนันจะต้องประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ
Albert Venn Dicey (1835-1922)
1. ฝ่ายบริหารไม่มีอํานาจตามอําเภอใจ
2. บุคคลทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันและศาลเดียวกันจะเป็นผู้
พิจารณาพิพากษา
3. หลักทัวไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นผลมาจากกฎหมายธรรมดาของ
ประเทศ
หลักนิติธรรม
“การปกครองประเทศโดยกฎหมาย กล่าวคือ บุคคลเสมอกันใน
กฎหมาย บุคคลจะต้องรับโทษเพือการกระทําผิดอันใด ต่อเมือมี
กฎหมายบัญญัติไว้ว่า การกระทํานันเป็นความผิดและกําหนดโทษไว้
และจะต้องได้รับการพิจารณาคดีจากศาลยุติธรรม ทีมีความเป็นอิสระ
ในการชีขาดตัดสินคดีไม่ว่าจะเป็นข้อพิพาททีเกิดขึนระหว่างเอกชนด้วย
กันเองก็ดี หรือระหว่างเอกชนกับรัฐก็ดี”
ประเด็น
สอบถาม
คําถามท้ายบท
1. จงอธิบายความหมายของรัฐ
2. จงอธิบายเหตุผลแห่งรัฐ
3. จงสรุปปรัชญาว่าด้วยรัฐ
4. จงสรุปการกําเนิดรัฐและแนวคิดใหม่ของการเกิดรัฐ
5. จงสรุปทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่
6. จงอธิบายถึงองค์ประกอบของรัฐ
7. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ คืออะไร
8. จงอธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และชาติ
9. จงอธิบายรูปแบบของรัฐ
10.จงสรุปประเด็นนิติรัฐ สู่ นิติธรรม

More Related Content

Similar to Lesson 1 state

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติTaraya Srivilas
 

Similar to Lesson 1 state (9)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 

More from KatawutPK

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionKatawutPK
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of governmentKatawutPK
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideologyKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 

More from KatawutPK (11)

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 

Lesson 1 state

  • 1. Lesson 1 State Asst. Prof. Ating Capt.KATAWUT PONKHOT, Ph.D. Bachelor of Political Science Program NRRU
  • 2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของรัฐได้ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายเหตุผลแห่งรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายปรัชญาว่าด้วยรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายการกําเนิดรัฐและแนวคิดใหม่ของการเกิดรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบของรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายจุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และชาติ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบของรัฐ • เพือให้นักศึกษาสามารถอธิบายจากนิติรัฐ สู่ นิติธรรม
  • 3. ความหมายของรัฐ Harold lasswell ให้ความหมายว่า รัฐ คือ กลุ่มคนทีอยู่รวมกันเป็น ระเบียบ อาศัยอยู่ในเขตเดียวกัน และมีอํานาจอธิปไตยสูงสุดในอาณาเขต H. J. Laski ให้ความหมายว่า รัฐ คือ สังคมหรือชุมชน ทีมีอาณาเขตหรือ ดินแดนทีแน่นอน มีรัฐบาล ( government) ผู้ถูกปกครอง (Subjects) และมีอํานาจสูงสุด (Supermacy) เหนือสถาบันอืนทังหมด Woodrow Willson ให้ความหมายว่า รัฐ หมายถึง การรวมตัวกัน ของประชาชนอย่างมีระเบียบเพือสร้างสถานภาพทีมีกฎหมายภายในอาณาเขต หรือดินแดนทีแน่นอน
  • 4. Roger Benjamin และ Raymond Duvall 1. รัฐในฐานะทีเป็นรัฐบาล (The State as Government) ซึง หมายความถึง กลุ่มบุคคลทีดํารงตําแหน่งทีมีอํานาจในการตัดสินใจในสังคม การเมือง 2. รัฐในฐานะทีเป็นระบบราชการ (The State as Public Bureaucracy) หรือเครืองมือทางการบริหารทีเป็นปึกแผ่น และเป็น ระเบียบทางกฎหมายทีมีความเป็นสถาบัน 3. รัฐในฐานะทีเป็นชนชันปกครอง (The State as Ruling Class) 4. รัฐในฐานะทีเป็นโครงสร้างทางอุดมการณ์ (The State as Normative Order)
  • 8. รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution) ทฤษฎีเทวสิทธิ (Theory of the Divine Right) 1. รัฐเกิดจากพระประสงค์ของพระเจ้า 2. มนุษย์มิได้เป็ นปัจจัยสําคัญในการสร้างรัฐ แต่เป็ นเพียง องค์ประกอบของรัฐ 3. ผู้ปกครองรัฐได้อํานาจปกครองมาจากพระเจ้า ผู้ใดฝ่าฝืนอํานาจรัฐ ผู้นันฝ่าฝืนโองการพระเจ้า 4. ประชาชนในรัฐจะต้องเชือฟังอํานาจรัฐโดยเคร่งครัด
  • 9. รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution) ทฤษฎีสัญญาประชาคม (Theory of the Social Contract) John Locke Thomas Hobbes Jean Jacques Rousseau
  • 10. ทฤษฎีสัญญาประชาคม (Theory of the Social Contract) 1. รัฐเกิดจากมนุษย์ หรือมนุษย์เป็นผู้สร้างรัฐต่างหาก 2. ในการสร้างรัฐ มนุษย์มารวมเข้าด้วยกันโดยมีเจตนาแน่นอน เสมือนทํา สัญญาร่วมกันว่า จะผูกพันกัน เผชิญทุกข์เผชิญสุขร่วมกัน 3. การทีมนุษย์มาผูกพันร่วมกันเช่นนี ถือว่าเป็นการทําสัญญาประชาคมขึน รัฐและรัฐบาล จึงเกิดจากสัญญาของมนุษย์ ถ้ารัฐบาลปกครองไม่เป็นธรรม ก็ถือว่าผิดสัญญาประชาคม รัฐบาลจะต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในฐานะ คู่สัญญา 4. รัฐบาลจะต้องกระทําตามเจตนารมณ์ของประชาชน ซึง รุสโซ เรียกว่า General Will โดยเฉพาะในข้อทีว่า เจตนารมณ์ของประชาชนย่อมอยู่ เหนือสิงอืนใด รัฐบาลจะละเมิดมิได้
  • 11. รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution) ทฤษฎีพลกําลัง (Theory of Force) รัฐเกิดขึนจากการยึดครองและการใช้กําลังบังคับ ทฤษฎีนีเองที นําไปสู่ความเชือในเรือง ชาตินิยม และความคิดทีว่า รัฐคืออํานาจ ซึงอยู่เหนือศีลธรรมทังปวง
  • 12. รัฐวิวัฒนาการ (State Evolution) ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Theory of Evolution) นําเสนอโดย อริสโตเติล กลุ่มชน > สังคมร่วมเผ่าพันธุ์ > รัฐหรือนครรัฐ > จักรวรรดิ
  • 13. เพลโต (Plato) จํานวนผู้ปกครอง รัฐทีมีกฎหมาย รัฐทีไม่มีกฎหมาย คนเดียว ราชาธิปไตย ทุชนาธิปไตย คนส่วนน้อย อภิชนาธิปไตย คณาธิปไตย คนส่วนมาก มัชฌิมวิถีอธิปไตย ประชาธิปไตย
  • 14. อริสโตเติล (Aristotle) จํานวน เพือประชาชน เพือผู้ปกครอง คนเดียว ราชาธิปไตย ทุชนาธิปไตย คณะผู้ปกครอง อภิชนาธิปไตย คณาธิปไตย ประชาชนทังหมด มัชฌิมวิถีประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
  • 15. ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ (Emergence of the Modern State) นครรัฐ (City - State) • พืนทีของนครรัฐมีขนาดเล็ก ประชากรมีประมาณ 10,000 คน • มีเมือง 1 เมืองและเขตแดนทีเป็นชนบททีมีผู้อยู่อาศัยขนาดเหมาะสมที ต้องขึนอยู่กับเจ้าหน้าทีบ้านเมือง • มีขนาดของกองกําลังติดอาวุธในเมืองสามารถจะปราบปรามได้ • นครรัฐทุกแห่งมีรัฐบาล • รัฐบาลมีเจ้าหน้าทีของนครรัฐทีจะคอยทําหน้าทีต่างๆ
  • 16. ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ (Emergence of the Modern State) อาณาจักรโบราณ (Ancient Empire) • ขนาดของอาณาจักรมีอาณาเขตประมาณ 100,000 ตารางไมล์ มี ประชากรจํานวนมหาศาล • สร้างขึนหลังจากชัยชนะของพวกทหารทีมีต่อนครรัฐ • อัตตาธิปไตย (Autocratic government) • ผู้ปกครองมีลักษณะการปกครองแบบทรราชย์อย่างสมบูรณ์แบบ
  • 17. ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ (Emergence of the Modern State) สมัยกลาง : ศักดินา (The middle Ages : Feudalism) • เกิดขึนประมาณ ศตวรรษ ที 10 – 11 • รัฐจะเป็นศูนย์รวมของกลุ่มขุนนางศักดินา ผู้ซึงมีกรรมสิทธิทีดินที ได้รับมาจากพระมหากษัตริย์ • เกิดโครงสร้างความสัมพันธ์แบบปิรามิด • ก่อให้เกิดสภาพอนาธิปไตยขึน (Anarchy)
  • 18. ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ (Emergence of the Modern State) รัฐราชวงศ์ (Dynastic State) • เกิดขึนในอังกฤษและฝรังเศส • กษัตริย์เป็นผู้ดูแลอาณาจักรของพระองค์ • ความจงรักภักดีส่วนตัวต่อพระราชวงศ์ ความเห็นพ้องต้องกันมีจุด ศูนย์กลางอยู่ทีองค์พระมหากษัตริย์พร้อมกันนีกษัตริย์ • จะออกกฎหมายมหาชน(Public Law) และพระองค์จะเป็นผู้เพิม จํานวนข้าราชการ
  • 19. ทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ (Emergence of the Modern State) รัฐชาติ (Nation - State) • รัฐชาติมีรากฐานมาจากลัทธิชาตินิยม • เกิดขึนครังแรกในประเทศอังกฤษหลังจากการปฏิวัติทีเรียกว่า Glorious Revolution ในปี ค.ศ. 1688 • ฝรังเศสหลังจากเกิดการปฏิวัติฝรังเศส (French Revolution) ในปี ค.ศ. 1789 • การเป็นพันธมิตรกันของอิตาลีและเยอรมัน ในระหว่า ค.ศ. 1859 – 1871
  • 20. องค์ประกอบของรัฐ ชาติ มีรากศัพท์จากภาษาละติน คําว่า Natus ซึงหมายถึงการ เกิด (Birth) ดังนันชาติ (Nation) จึงหมายถึง พลเมืองทีมีเชือชาติ เดียวกันอาศัยในอาณาเขตเดียวกัน สัญชาติ (Nationality) คือฐานะของบุคคลทีมีความสัมพันธ์ กับรัฐโดยมีรากฐานจากความสวามิภักดิซึงเป็นความรู้สึกทางจิตใจ หรือ ความสัมพันธ์ทีเกิดจากการทีบุคคลจํานวนหนึงมีเชือชาติเดียวกัน
  • 21. องค์ประกอบของรัฐ • ประชากร ( Population) • ดินแดน (Territory) • รัฐบาล (Government) • อํานาจอธิปไตยและความเป็นอิสระ (Sovereignty and Independence)
  • 22. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ จุดมุ่งหมายของรัฐ Aristotle จุดมุ่งหมายของรัฐก็คือจริยธรรม (Ethical) “ชีวิตทีดีคือชีวิตทีอยู่ตามเหตุผล ในทางจริยธรรมหน้าทีของเหตุผล ประกอบด้วยแนวทางการประพฤติปฏิบัติตามกฎ ตามระเบียบ แต่ ในทางการเมืองหน้าทีของเหตุผล คือการวางเงือนไขความร่วมมือซึงกัน และกันในกลุ่มพลเมืองเพือส่งเสริมสวัสดิการของรัฐ”
  • 23. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ จุดมุ่งหมายของรัฐ John Locke “การปกป้องรักษาทรัพย์สินของตน สภาวะธรรมชาติทรัพย์สินไม่ ปลอดภัย การทีจะให้ทรัพย์สินมีความปลอดภัยจะต้องมีสังคมการเมือง และให้องค์การหนึงคือรัฐบาลใช้อํานาจในการทําหน้าทีในการปกป้อง รักษาทรัพย์สินของตน”
  • 24. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ จุดมุ่งหมายของรัฐ Adam Smith องค์อธิปัตย์ มีหน้าทีหรือจุดมุ่งหมายตามทีระบุในหนังสือ The Wealth of Nation ว่ามี 3 ประการคือ –การปกป้องจากการรุกรานของชาติอืน –การปกป้องคุ้มครองสมาชิกทุก ๆ คนให้ได้รับความยุติธรรม –การสร้าง และรักษากิจกรรมสาธารณะ (public works)
  • 25. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ หน้าทีของรัฐ (The Function of the State) • หน้าทีทีรัฐต้องกระทํา (Essential Function) - การป้องกันการรุกรานจากต่างชาติ - การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมและการดําเนินการไปตามกฎหมายต่อผู้ ปฏิบัติฝ่าฝืน - การลงโทษผู้ทีกระทําผิด ปกป้องคุ้มครองสิทธิต่างๆ ของปัจเจกบุคคล การ ยุติข้อโต้แย้ง โดยใช้วิธีการทางกฎหมาย - การติดต่อ สร้างความสัมพันธ์อันดีกับรัฐอืน - การเก็บภาษีเพือให้ภารกิจของรัฐดําเนินการต่อไปได้ตรงตามเป้าหมาย
  • 26. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ หน้าทีของรัฐ (The Function of the State) • หน้าทีทางธุรกิจ (Business Function) - การขายบริการหรือขายสินค้า โดยกิจการบางอย่างทีภาคเอกชนอาจทําอยู่แล้วแต่ไม่ได้ผลดีเท่าทีควร ภาครัฐจึง เข้าไปดําเนินงานเอง • หน้าทีในการบริการ (Service Function) - รัฐทีจะกระทําหรือไม่กระทํา ตามความต้องการของสังคมก็ได้ บางครังเป็นการยากในการกําหนดหน้าที ให้บริการ หน้าทีใดเป็นหน้าทีทีรัฐต้องกระทํา
  • 27. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ หน้าทีของรัฐในทรรศนะนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ แบ่งเป็น 2 แนวคิด แนวคิดที 1 เน้นบทบาทหน้าทีของรัฐทังด้านเศรษฐกิจและการเมือง แนวคิดที 2 เน้นบทบาทหน้าทีเฉพาะด้านการเมืองแนวคิดนีเป็นแนวคิด ร่วมสมัยทีนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์นิยมแบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ ประชาธิปไตยและเผด็จการ
  • 28. ประชาธิปไตย (Democracy) กําเนิดขึนครังแรกในยุคกรีก Democracy มาจาก 2 คําคือ demos จากคําว่า People คือประชาชน และคําว่า Kretein จากคําว่า to rule คือการปกครอง แปลตามรูปศัพท์ คือ การปกครองโดยประชาชน( rule by people )หรือ Popular sovereignty คือ อํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน ความหมายในวงแคบ - รูปแบบการปกครองทีประชาชนเจ้าของประเทศ เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย มีสิทธิ อํานาจและโอกาส ในการควบคุมกิจการ ทางการเมืองของชาติ ความหมายในวงกว้าง - ปรัชญาของสังคมมนุษย์หรือวิถีชีวิตทียึดถือ อุดมการณ์หรือหลักการทีกําหนดพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมในกิจกรรม การเมืองเศรษฐกิจ สังคมฯ
  • 29. • เผด็จการ (dictatorship) แบบอํานาจนิยม (authoritarianism) และแบบเบ็ดเสร็จ (Totalitarianism)
  • 30. ความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และ ชาติ รัฐ เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า State คําว่า ประเทศ หรือ Country กับคําว่า ชาติ หรือ Nation • รัฐไทย หรือ ประเทศไทย หรือ ชาติไทย • ประเทศ - มุ่งเพียงกล่าวถึงดินแดนหรืออาณาเขตทีอยู่ภายใต้การปกครอง ของรัฐบาลเดียวกันเท่านันโดยไม่จําเป็นว่าประเทศนันจะต้องมีอธิปไตย เฉกเช่นรัฐแต่อย่างใด • ชาติ - มุ่งหมายใช้กับประชาชนหรือสังคมมากกว่าจะใช้กับดินแดนดัง ประเทศ อีกทังยังหมายถึง ความผูกพันเป็นอันหนึงอันเดียวกันในทาง วัฒนธรรม อาทิ เผ่าพันธุ์ ภาษา ศาสนา
  • 31. รูปแบบของรัฐ • รัฐเดียว รัฐทีมีศูนย์กลางในทางการเมืองและการปกครองรวมกันเป็นอันหนึง อันเดียว เป็นรัฐซึงมีเอกภาพไม่ได้แยกออกจากกัน มีการใช้อํานาจสูงสุดทัง ภายในและภายนอกโดยองค์กรเดียวกันทัวดินแดนของรัฐ • รัฐรวม รัฐต่างๆ ตังแต่ 2 รัฐขึนไป ซึงได้เข้ามารวมกันภายใต้รัฐบาลเดียวกัน หรือประมุขเดียวกัน อาจด้วยความสมัครใจของทุกรัฐเพือประโยชน์ร่วมกัน โดยทีแต่ละรัฐต่างก็ยังคงมีสภาพเป็นรัฐอยู่อย่างเดิม เพียงแต่การใช้อํานาจ อธิปไตยได้ถูกจํากัดลงไปบ้าง มากบ้างน้อยบ้างตามแต่รัฐธรรมนูญจะ กําหนด หรือตามแต่ข้อตกลงทีได้ให้ไว้
  • 32. จาก นิติรัฐ สู่ นิติธรรม สมัยกรีก เมืออริสโตเติลกล่าวถึง รัฐทีดีว่าจะต้องมีผู้นําทีดี และ ผู้นําทีดีจะต้องเคารพกฎหมาย แม้ราษฎรจะดีอย่างไรก็ตาม ถ้าตกไปอยู่ ในรัฐบาลเลว มีผู้นําเลว ไม่เคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง ราษฎรนัน ย่อมโชคร้ายเดือดร้อน ศาสตราจารย์ดร. หยุด แสงอุทัย “รัฐตามรัฐธรรมนูญสมัยใหม่ย่อมเป็นนิติรัฐ คือ เป็นรัฐทียอมตน อยู่ใต้บังคับแห่งกฎหมาย ซึงรัฐเป็นผู้ตราขึนเอง หรือ ยอมใช้บังคับ”
  • 33. ประเทศใดประเทศหนึงจะเป็นนิติรัฐได้ 1. ในประเทศนันกฎหมายจะต้องอยู่เหนือสิงใดทังหมด 2. ในประเทศทีเป็นนิติรัฐ ขอบเขตแห่งอํานาจหน้าทีของรัฐย่อมกําหนดไว้ แน่นอน 3. ในประเทศทีเป็นนิติรัฐ ผู้พิพากษาจะต้องมีอิสระในการพิจารณา พิพากษาคดี
  • 34. หลักนิติธรรมนันจะต้องประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ Albert Venn Dicey (1835-1922) 1. ฝ่ายบริหารไม่มีอํานาจตามอําเภอใจ 2. บุคคลทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันและศาลเดียวกันจะเป็นผู้ พิจารณาพิพากษา 3. หลักทัวไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นผลมาจากกฎหมายธรรมดาของ ประเทศ
  • 35. หลักนิติธรรม “การปกครองประเทศโดยกฎหมาย กล่าวคือ บุคคลเสมอกันใน กฎหมาย บุคคลจะต้องรับโทษเพือการกระทําผิดอันใด ต่อเมือมี กฎหมายบัญญัติไว้ว่า การกระทํานันเป็นความผิดและกําหนดโทษไว้ และจะต้องได้รับการพิจารณาคดีจากศาลยุติธรรม ทีมีความเป็นอิสระ ในการชีขาดตัดสินคดีไม่ว่าจะเป็นข้อพิพาททีเกิดขึนระหว่างเอกชนด้วย กันเองก็ดี หรือระหว่างเอกชนกับรัฐก็ดี”
  • 37. คําถามท้ายบท 1. จงอธิบายความหมายของรัฐ 2. จงอธิบายเหตุผลแห่งรัฐ 3. จงสรุปปรัชญาว่าด้วยรัฐ 4. จงสรุปการกําเนิดรัฐและแนวคิดใหม่ของการเกิดรัฐ 5. จงสรุปทฤษฎีการกําเนิดรัฐตามแนวคิดใหม่ 6. จงอธิบายถึงองค์ประกอบของรัฐ 7. จุดมุ่งหมายของรัฐและหน้าทีของรัฐ คืออะไร 8. จงอธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ประเทศ และชาติ 9. จงอธิบายรูปแบบของรัฐ 10.จงสรุปประเด็นนิติรัฐ สู่ นิติธรรม