SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ยุคภูมิปัญญา
                  จัดทำโดย
    1. นำงสำวคันธรส โชติวรรณ์ เลขที่ 11
    2. นำงสำวอรณิชำ ฉันทะ           เลขที่ 22
           ชั้น มัธยมศึกษำปีที่ 6/2
ยุ ค ภู มิ ปั ญ ญา/ยุ ค ภู มิ ธ รรมและแนวคิ ด ประชาธิ ป ไตย
   กำรปฏิวัติทำงวิทยำศำสตร์ที่เริ่มขึ้นในสังคมตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 17
ไม่เพียงก่อให้เกิดควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิทยำกำรและเทคนิค ตลอดจน
สิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตให้ดีขึ้นเท่ำนั้น แต่ยัง
นำไปสู่กำรปฏิวัติทำงภูมิปัญญำ (Intellectual Revolution) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18
อีกด้วย วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์และกำรหลุดพ้นจำกอำนำจของคริสต์ศำสนจักร
ทำให้ชำวตะวันตกกล้ำใช้เหตุผลเพื่อแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง
มำกขึ้น และเชื่อมั่นว่ำควำมมีเหตุผลสำมำรถเปลี่ยนแปลงชีวิตและสังคมให้
ดีขึ้นได้
กำรแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง ตลอดจนกำรเรียกร้อง
สิทธิเสรีภำพในกำรมีส่วนร่วมในกำรปกครองจึงเป็นลักษณะเด่นประกำรหนึ่ง
ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 กำรพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษนี้
จึงเปรียบเสมือนแสงสว่ำงที่ส่องนำทำงให้โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์
ในวิชำกำรต่ำงๆ ทำให้ผู้คนมีควำมรู้ มีสติปัญญำและควำมคิด ตลอดจน
ควำมสำมำรถได้รับกำรยกย่องจำกสังคมมำกขึ้น และเป็นพื้นฐำนสำคัญที่ทำ
ให้ชำติตะวันตกเข้ำสู่ควำมเจริญในยุคใหม่ ดังนั้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 จึงได้รับ
สมญำว่ำเป็น ยุคภูมิธรรม (The Age of Enlightenment)
 นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย

    นักคิดคนสำคัญที่วำงรำกฐำนของปรัชญำกำรเมืองแนวประชำธิปไตย
ได้แก่ ทอมัส ฮอบส์ ,จอห์น ล็อก ชำวอังกฤษ และกลุ่มนักคิด
ฟิโลซอฟ (Philosophs) ของฝรั่งเศส เช่น มองเตสกิเออร์ วอลแตร์,
ชอง-ชำคส์ รูสโซ
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes ค.ศ. 1588-1679)
                            นั ก ปรั ช ญำชำวอั ง กฤษ แนวคิ ด
                   ด้ำนกำรเมืองของฮอบส์ ปรำกฏในหนังสือ
                   ลีไวอำทัน (Leviathan) ซึ่งเป็นงำนเขียน
                   ชิ้ น เอกของฮอบส์ กล่ ำ วว่ ำ ก่ อ นหน้ ำ ที่
                   มนุษย์จะมำอยู่รวมกันเป็นสังคมกำรเมือง
                   มนุษย์มีอิสระและเสรีภำพในกำรกระทำ
                   ใดๆ ซึ่งย่อมก่อให้เกิดควำมวุ่นวำย มนุษย์
                   จึง ตกลงกั นที่ จะหำคนกลำงมำทำหน้ ำ ที่
                   ปกครองเพื่ อ ให้ เ กิ ด สั ง คมกำรเมื อ งที่ อ ยู่
                   ร่วมกันอย่ำงสันติสุข
โดยแต่ละคนยอมเสียสละอำนำจสูงสุดของตนให้แก่ฝ่ำยปกครอง
ทั้งนี้ประชำชนมีสิทธิเลือกกำรปกครองที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของคน
ส่วนใหญ่ โดยมีข้อผูกมัดว่ำทุกคนจะต้องเชื่อฟังผู้ปกครอง ซึ่งจะเป็นผู้ออก
กฎหมำยมำบังคับประชำชนต่อไป
         จะเห็ น ว่ ำ แม้ ฮ อบส์ จ ะนิ ย มระบอบกษั ต ริ ย์ แต่ ก็ มี แ นวควำมคิ ด ว่ ำ
อำนำจของกษัตริย์ไม่ใช่อำนำจของเทวสิทธิ์หรืออำนำจศักดิ์สิทธิ์ แท้จริงแล้ว
เป็นอำนำจที่ประชำชนยินยอมพร้อมใจมอบให้ ส่วนทำงศำสนจักรนั้น ฮอบส์มี
ควำมเห็นว่ำไม่ควรเข้ำมำเกี่ยวกับกำรปกครองของรัฐ นอกจำกนี้ฮอบส์ ยัง
โจมตีควำมเชื่อทำงศำสนำของมนุษย์ว่ำเป็นเรื่องไร้เหตุผล มนุษย์ควรมีชีวิตอยู่
ด้วยเหตุผลและวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ ไม่ควรอยู่ด้วยควำมเชื่องมงำย อย่ำงไร
ก็ตำม ฮอบส์มิได้ปฏิเสธพระเจ้ำ แต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นำทำงศำสนำ
จอห์น ล็อก (John Locke ค.ศ. 1632-1704)

                           นั ก ปรั ช ญำชำวอั ง กฤษ เป็ น
                  ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Two Treatises of
                  Government (ค.ศ. 1689) แนวคิดหลัก
                  ของหนังสือ คือ กำรเสนอทฤษฎีที่ว่ำ
                  รัฐบำลจัดตั้งขึ้นโดยควำมยินยอมของ
                  ประชำชน และต้องรับผิดชอบต่อชีวิต
                  ควำมเป็นอยู่ของประชำชน
แนวคิดทำงกำรเมืองของล็อกอำจสรุปได้ว่ำ ประชำชนเป็นที่มำของ
อำนำจทำงกำรเมืองและมีอำนำจในกำรจัดตั้งรัฐบำลขึ้นได้ รัฐบำลจึงมีหน้ำที่
ปกครองโดยคำนึงถึงประโยชน์และสิทธิธรรมชำติของประชำชนอันได้แก่ ชีวิต
เสรีภำพ และทรัพย์สิน รัฐบำลมีอำนำจภำยในขอบเขตที่ประชำชนมอบให้ และ
จะใช้เฉพำะเพื่อผลประโยชน์ของประชำชน เท่ำนั้น รัฐต้องไม่เข้ำแทรกแซงใน
กิจกำรของปัจเจกชน นอกจำกในกรณีที่จำเป็นจริง ๆ เพื่อรักษำเสรีภำพและ
ทรัพย์สินของผู้นั้น แนวคิดทำงกำรเมืองดังกล่ำวจึงเป็นรำกฐำนควำมคิดของ
ระบอบประชำธิปไตยสมัยใหม่และมีอิทธิพลต่อปัญญำชนและปรัชญำเมธีของ
ยุโรป โดยเฉพำะกลุ่มนักคิดฟิโลซอฟ (philosophes) ของฝรั่งเศษ
บารอน เดอ มองเตสกิเออร์
(Baron de Montesquieu ค.ศ. 1689-1755)
                          บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron
                de Montesquieu หรือ ชำร์ลส์ หลุยส์ เดอ
                เซ็กกองดำต์ (Charies Louis de Secondat)
                ขุ น นำงฝรั่ ง เศส เป็ น ผู้ เ ขี ย นหนั ง สื อ เรื่ อ ง
                วิญญำณแห่งกฎหมำย (The Spirit of Laws)
                ซึ่งใช้เวลำศึกษำค้นคว้ำกว่ำ 20 ปี หนังสือ
                เล่มนี้ พิมพ์เ ผยแพร่ครั้งแรกใน ค.ศ. 1748
                และต่อมำได้รับกำรตีพิมพ์อีก 22 ครั้ง และ
                แปลเป็นภำษำตะวันตกต่ำงๆ เกือบทุกภำษำ
แนวคิดหลักของหนังสือเรื่อง วิญญำณแห่งกฎหมำยสรุปได้ว่ำกฎหมำย
ที่ รั ฐ บำลแต่ ล ะสั ง คมบั ญ ญั ติ ขึ้ น ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศและ
เงื่อนไขทำงนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศำสตร์ของแต่ละสังคม
แต่กำรปกครองแบบกษัตริย์ภำยใต้รัฐธรรมนูญเป็นรูปแบบกำรปกครองที่ดี
ที่สุด นอกจำกนี้อำนำจกำรปกครองควรแยกออกเป็น 3 ฝ่ำย คือ ฝ่ำยนิติบัญญัติ
ฝ่ำยบริหำรและฝ่ำยตุลำกำร กำรแบ่งอำนำจดังกล่ำวเป็นเสมือนกำรสร้ำงระบบ
ตรวจสอบและถ่วงอำนำจ (check and balance system) จะช่วยไม่ให้ผู้ปกครอง
หรือคณะผู้ปกครองหรือรัฐบำลใช้อำนำจแบบเผด็จกำรได้
           แนวคิดในหนังสือเล่มนี้ มีอิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญกำร
ปกครองประเทศของสหรั ฐ อเมริ ก ำ ซึ่ ง ถื อ ว่ ำ เป็ น แม่ แ บบของระบอบกำร
ปกครองในระบอบประชำธิปไตยก็ใช้แนวคิดเรื่องกำรแบ่งแยกอำนำจ และ
ระบบคำนอำนำจของมองเตสกิเออร์เป็นหลัก
วอลแตร์ (Voltaire ค.ศ. 1694-1778)

                       มีชื่อจริงว่ำ ฟรองซัว-มำรี อำรูเอ
               (Francois – Marie Arouet) เป็นนักคิด
               และนั ก เขี ย น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของฝรั่ ง เศส
               วอลแตร์ ป ระทั บ ใจในระบอบกำร
               ปกครองของอังกฤษมำก และตั้งใจจะใช้
               งำนเขียน คัดค้ำนกำรปกครองแบบเผด็จ
               กำร และต่อ ต้ ำ นควำมงมงำยไร้ เหตุ ผ ล
               ตลอดจนเรี ย กร้ อ งเสรี ภ ำพในกำร
               แสดงออกซึ่งควำมคิดเห็นทำงด้ำนต่ำงๆ
ควำมคิดดังกล่ำวของวอลแตร์ สะท้อนออกในหนังสือเรื่องจดหมำย
ปรัชญำ (The Philo – Sophical Letters) หรือที่รู้จักในอีกชื่อว่ำ จดหมำยเรื่อง
เมืองอังกฤษ (Letter on the English) เนื้อหำของหนังสือโจมตีสถำบันและ
กฎระเบียบต่ำงๆ ที่หล้ำหลังของฝรั่งเศส นอกจำกนี้วอลแตร์ยังเรียกร้องให้มี
กำรปฏิรูปประเทศฝรั่งเศสให้ทันสมัยเหมือนอังกฤษ อย่ำงไรก็ดี แม้วอลแตร์
จะต่ อ ต้ ำ นควำมอยุ ติ ธ รรมในสั ง คมและควำมไร้ ขั น ติ ธ รรมทำงศำสนำ
ตลอดจนระบบอภิ สิทธิ์ต่ำง ๆ แต่ใ นด้ ำนกำรเมืองเขำก็ไม่เคยแสดงควำม
คิดเห็นอย่ำงชัดเจนต่อรูปแบบกำรปกครองที่เขำพึงพอใจ หรือต้องกำรให้มี
กำรเปลี่ยนแปลงสังคมและกำรเมืองอย่ำงถอนรำกถอนโคนด้วยกำรปฏิวัติอัน
รุนแรง เขำคิดว่ำกำรใช้เหตุผลและสติปัญญำสำมำรถจะแก้ไขปัญหำสังคม
และกำรเมือง
ซอง - ชาคส์ รูโซ
(Jean-Jacques Rousseau ค.ศ. 1712-1778)
                           เป็นคนเชื้อสำยฝรั่งเศส เขำเขียน
                 หนั ง สื อ หลำยเล่ ม โจมตี ฟ อนเฟะของ
                 สั ง คม และกำรบริ ห ำรที่ ล้ ม เหลวของ
                 รั ฐ บำล นอกจำกนี้ เ ขำยั ง แสดงทั ศ นะ
                 เกี่ยวกับระบบกำรศึกษำ ปัญหำควำมไม่
                 เสมอภำคทำงสังคมอันเป็นผลจำกสภำวะ
                 แวดล้อม เรื่องกำรถือครองกรรมสิทธิ์ใน
                 ทรัพย์สิน และแนวทำงกำรปกครอง และ
                 อื่น ๆ
งำนเขียนชิ้นเอกของเขำซึ่งเป็นตำรำทำงกำรเมืองที่สำคัญ
และมีอิทธิพลมำก คือ สัญญำประชำคม (The Social Contract) ค.ศ.
1762 ว่ำด้วยปรัชญำทำงกำรเมืองด้ำนกำรปกครองและพันธสัญญำ
ทำงกำรเมืองระหว่ำงรัฐบำลและประชำชน งำนเขียนเรื่องนี้ทำให้
รูโซได้ชื่อว่ำเป็นผู้วำงรำกฐำนอำนำจอธิปไตยของประชำชน
 การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ

       หลั ง จำกสมเด็ จ พระรำชิ นี น ำถอลิ ซ ำเบทที่ 1 (Elizabeth       I)
สิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1603 กษัตริย์อังกฤษองค์ต่อๆ มำมักจะมีควำมขัดแย้งกับ
รัฐสภำอยู่เสมอ เนื่องจำกกำรใช้พระรำชอำนำจเกินขอบเขต ใช้เงินแผ่นดินไป
ในทำงที่ฟุ่มเฟือยและก่อสงครำม ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐสภำกับกษัตริย์
รุนแรงมำกขึ้นเรื่อย ๆ จนกลำยเป็นสงครำมกลำงเมืองใน ค.ศ. 1642-1649
และรัฐสภำได้จับพระเจ้ำชำร์ลที่ 1 ประหำรชีวิต จำกนั้นกษัตริย์อังกฤษถูกลด
อำนำจลงเรื่อย ๆ จนถึง ค.ศ. 1688 ในสมัยพระเจ้ำเจมส์ที่ 2 (James II) ที่ทรง
พยำยำมใช้อำนำจอย่ำงสูงสุดอีก จึงก่อให้เกิดกำรปฏิวัติขึ้น
โดยรัฐสภำอังกฤษได้อันเชิญพระเจ้ำวิลเลียม (William)
พระรำชบุตรเขยของพระเจ้ำเจมส์ที่ 2 ขึ้นครองรำชย์บัลลังก์โดยพระองค์
ทรงสัญญำว่ำจะปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติว่ำด้วยสิทธิพื้นฐำนของพลเมือง
(Bill of Rights) ที่รัฐสภำเป็นผู้จัดร่ำงถวำยซึ่งให้อำนำจรัฐสภำและให้
สิทธิเสรีภำพแก่ชำวอังกฤษเหตุกำรณ์ครั้งนี้ เรียกว่ำ กำรปฏิวัติอันรุ่งโรจน์
(The Glorious Revolution) เป็นกำรปฏิวัติที่ไม่มีกำรเสียเลือดเนื้อ
และได้ รั บ กำรสนั บ สนุ น จำกชนทุ ก ชั้ น นั บ แต่ นั้ น มำรั ฐ สภำอั ง กฤษ
ได้ อ อกกฎหมำยให้ สิ ท ธิ เ สรี ภ ำพ แก่ ช ำวอั ง กฤษ ปฏิ รู ป สั ง คมและ
กำรเมืองของอังกฤษ ก้ำวหน้ ำไปตำมลำดั บจนถึงปัจจุบัน อังกฤษได้รั บ
กำรยกย่ อ งว่ ำ เป็ นประเทศแม่ แ บบของกำรปกครองแบบประชำธิป ไตย
อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลำยลักษณ์อักษรเหมือนประเทศ
อื่น ๆ ดังนั้นกำรปกครองของอังกฤษจึงยึดหลักกำรขนบธรรมเนียม
ประเพณี ที่ เ คยปกครองกั น มำและยึ ด กฎหมำยเป็ น หลั ก รั ฐ สภำ
          กำรปฏิวัติใน ค.ศ. 1688 ทำให้ระบอบรำชำธิปไตยแบบเทวสิทธิ์
ของอั ง กฤษสิ้ น สุ ด ลง และได้ ยุ ติ ปั ญ หำขั ด แย้ ง ทำงกำรเมื อ งที่
กระทบกระเทือนอังกฤษมำตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 นอกจำกนี้ในปี
ต่อมำมีกำรออกพระรำชบัญญัติว่ำด้วยขันติธรรมทำงศำสนำ (Act of
Toleration) ให้เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำแก่พวกโปรเตสแตนต์สำขำ
ต่ำง ๆ ที่ไม่ยอมขึ้นต่อนิกำยแองกลิคัน
 การปฏิวติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776
                    ั
            ชำวอังกฤษที่อพยพไปตั้งรกรำกในสหรัฐอเมริกำในระยะแรกมีควำม
ผูกพันกับเมืองแม่ของตนด้วยกำรยอมรับนับถือกษัตริย์อังกฤษเป็นกษัตริย์ของ
ตน และรวมตัวกันปกครองตนเองในรูปแบบอำณำนิคมขึ้นตรงต่ออังกฤษ แต่
เนื่องจำกรัฐบำลอังกฤษเก็บภำษีชำวอำณำนิคมอย่ำงรุนแรง และเอำเปรียบทำง
กำรค้ำ เช่น อังกฤษบังคับให้อำณำนิคมขำยวัตถุดิบและซื้อสิ้นค้ำสำเร็จรูปจำก
อังกฤษในรำคำที่อังกฤษกำหนด ทั้งยังห้ำมผลิตสินค้ำสำเร็จรูปด้วยตนเอง สร้ำง
ควำมไม่พอใจแก่ชำวอำณำนิคมเป็นอย่ำงมำก ใน ค.ศ. 1776 ชำวอำณำนิคมจึง
พร้อมใจกันประกำศอิสรภำพจำกอังกฤษ อังกฤษส่งทหำรมำปรำบกลำยเป็น
สงครำม เรียกว่ำสงครำมประกำศอิสรภำพ ในที่สุดชำวอำณำนิคมได้รับชัยชนะ
ได้ ตั้ ง เป็ น ประเทศใหม่ คื อ สหรั ฐ อเมริ ก ำ มี ป ระธำนำธิ บ ดี เ ป็ น ประมุ ข
เนื่องจำกชำวอเมริกันเป็นชำวยุโรป ประกอบด้วยชำวอังกฤษเป็นส่วน
ใหญ่ มีกำรศึกษำดีและมีจิตใจยึดมั่นในเรื่องของสิทธิเสรีภำพและอิสรภำพ ซึ่ง
เหตุผลหนึ่งที่อพยพมำก็เพื่อแสวงหำควำมเป็นอิสรภำพ เพรำะไม่สำมำรถทน
ต่อกำรบีบคั้น และกำรปกครองอย่ำงกดขี่ของรัฐบำลในทวีปยุโรป ดังนั้นชำว
อเมริ กั นจึ ง มีค วำมคิ ดและจิ ต ใจที่ ยึ ด มั่ นในระบอบประชำธิ ป ไตย สำมำรถ
วำงรำกฐำนกำรปกครองแบบประชำธิปไตยได้ อ ย่ ำงมั่นคง ประธำนำธิบ ดี
อเมริกันผู้มีชื่อเสียงในกำรส่งเสริมระบอบประชำธิปไตยและควำมเสมอภำคใน
ประชำชนคือ ประธำนำธิบดีเอบรำแฮม ลิงคอล์น (Abraham Lincon ค.ศ.
1861-1865) ได้ประกำศยกเลิกระบบทำสและให้ควำมเสมอภำคแก่ชำวผิวดำ
          กำรปฏิวัติของชำวอเมริกัน ค.ศ. 1776 มีอิทธิพลต่อกำรปฏิวัติฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789 เป็นอย่ำงมำก ฝรั่งเศสได้ตัวอย่ำงกำรให้สิทธิประชำชนทุกคนเท่ำ
เทียมกัน ไม่มีกำรแบ่งชนชั้นและศำสนำ ไม่เข้ำมำมีบทบำททำงกำรเมือง
 การปฏิวัติฝรั่งเศส ( ค.ศ. 1789 )
         กำรปกครองระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ของฝรั่งเศส เริ่มประสบ
ควำมล้ ม เหลวในช่ ว งเวลำก่ อ นกำรปฏิ วั ติ ฝ รั่ ง เศส สำเหตุ ม ำจำก
พระมหำกษัตริย์อ่อนแอไม่ทรงพระปรีชำสำมำรถ ในกำรบริหำรบ้ำนเมือง
ประชำชนทั่วไปถูกขูดรีดภำษี จนอยู่ในภำวะยำกจนสิ้นหวัง ขณะที่พวกพระ
และขุนนำงชั้นสูงมีควำมเป็นอยู่อย่ำงฟุ่มเฟือย สมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 14 (Louis
XIV ค.ศ. 1649-1715) ทรงใช้พระรำชทรัพย์ไปในกำรทำสงครำมและเพื่อ
ควำมหรูหรำของรำชสำนักแวร์ซำย ถึงสมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 15 (Louis XV
ค.ศ. 1715-1774) ก็มิได้ทรงประกอบพระรำชกรณียกิจในทำงที่จะแก้ปัญหำ
เศรษฐกิจของฝรั่งเศส ทั้งยังเสียดินแดนอำณำนิคมเกือบทั้งหมดให้อังกฤษ
เนื่องจำกเป็นฝ่ำยแพ้สงครำม เจ็ดปี (ค.ศ. 1745-1763)
ต่อมำในสมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 16 (Louis XVI ค.ศ. 1774-1792)
เศรษฐกิจของฝรั่งเศสยิ่งมีปัญหำมำกขึ้นเพรำะควำมฟุ่มเฟือยของรำชสำนักแวร์
ซำย ประกอบกับต้องใช้จ่ำยในกำรช่วยเหลือชำวอเมริกันในสงครำมประกำศ
อิสรภำพปัญญำชนฝรั่งเศสพยำยำมหำทำงแก้ไขปรับปรุงสถำนกำรณ์ต่ำงๆ
ภำยในประเทศให้ ดี ขึ้ น อั ง กฤษซึ่ ง ปกครองในระบอบกษั ต ริ ย์ ภ ำยใต้
รัฐธรรมนูญ และกำลังเจริญรุ่งเรืองจึงกลำยเป็นแม่แบบและแรงบันดำลใจให้
กลุ่มปัญญำชนหำหนทำงให้ประชำชนชำวฝรั่งเศสได้ชื่นชมกับเสรีภำพอย่ำง
ชำวอังกฤษบ้ำง นอกจำกนี้ ชำวฝรั่งเศสยังมีควำมเชื่อว่ำกำรปกครองแบบมี
รัฐสภำ (parliamentary government) หรือรัฐบำลประชำธิปไตยจะนำควำมมั่น
คั่งมำสู่ประเทศไทยได้
ในที่สุดชำวฝรั่งเศสหมดควำมอดทนที่จะยอมอยู่ภำยใต้เงื่อนไขของ
ระบบสังคมเก่ำที่กีดกั้นเสรีภำพและกำรสร้ำงควำมยุติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม
งำนวรรณกรรมทำงกำรเมืองของล็อก มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ รวมทั้ง
ปั ญ ญำชนอื่ น ๆจึ ง สร้ ำ งเงื่ อ นไขอั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ควำมหวั ง ใหม่ ขึ้ น มำในหมู่
ประชำชน ซึ่งระบบสังคมเก่ำไม่เอื้ออำนวยประโยชน์ให้เต็มที่ และควำมคิด
ดังกล่ำวก็เป็นรูปธรรมมำกขึ้น เมื่อชำวอเมริกันได้ก่อกำรปฏิวัติใน ค.ศ. 1776
เพื่อแยกตัวเองเป็นอิสระจำกกำรเป็นอำณำนิคมของอังกฤษ กำรปฏิวัติอเมริกัน
ค.ศ.1776 จึงไม่เพียงแต่นำควำมชื่นชมมำสู่ผู้นิยมเสรีนิยมเท่ำนั้น แต่ทำให้ควำม
มุ่งหวังต่ำงๆของกลุ่มนักคิดของยุคภูมิธรรมบรรลุควำมเป็นจริง อันได้แก่เรื่อง
สิทธิเสรีภำพและควำมเสมอภำค กำรล้มล้ำงอำนำจที่ไม่เป็นธรรมของรัฐและ
กำรประกำศใช้ รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น ลำยลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ ก ำหนดให้ แ ยกอ ำนำจ
อธิปไตยออกเป็นสำมส่วน เป็นต้น
ดังนั้นอีก 13 ปีต่อมำ ในวันที่ 14 กรกฎำคม ค.ศ. 1789 ชำวฝรั่งเศส
จึงได้ก่อกำรปฏิวัติครั้งใหญ่เพื่อล้มล้ำงอำนำจกำรปกครองแบบประชำธิปไตย
 และต่อมำได้จัดตั้งระบอบกำรปกครองแบบสำธำรณรัฐ ซึ่งนับว่ำมีผลกระทบ
อย่ำงใหญ่หลวงต่อควำมคิดทำงกำรเมืองของนำนำประเทศทั่วโลกทั้งใน
ระยะเวลำอันสั้นและยำว
         กำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เป็นปรำกฏกำรณ์ครั้งแรกที่ประชำชนได้
เรียกร้องเสรีภำพ(liberty) เสมอภำค (equality) และภรำดรภำพ (fraternity)
ตำมแนวทำงของรักปรำชญ์กำรเมืองของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แนวควำมคิด
ดังกล่ำวก็ยังสะท้อนออกเป็นลำยลักษณ์อักษรในรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ
ฝรั่งเศสอีกด้วย เช่น เรื่องของสิทธิในกำรครอบครองทรัพย์สินในมำตรำ 11
ควำมเสมอภำคทำงกระบวนกำรยุติธรรมในมำตรำ 17 และกำรแบ่งแยกอำนำจ
อธิปไตยออกเป็น 3 ส่วนในมำตรำ 51 เป็นต้น
นอกจำกนี้ในคำประกำศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (La Declaration
des droits de I’homme et du citoyen) ซึ่งคณะปฏิวัติได้แถลงต่อประชำชน
เมื่อวันที่ 27 สิงหำคม ค.ศ. 1789 ก็เป็นกำรนำเอำควำมคิดหลักของล็อก มอง
เตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ ย้อนกลับมำใช้ให้เห็นอย่ำงชัดเจนอีกครั้ง เช่น
ในเรื่องเสรีภำพส่วนบุคคล ควำมเสมอภำคในกระบวนกำรยุติธรรม สิทธิใน
กำรครอบครองทรัพย์สิน และอำนำจอธิปไตยแห่งรัฐ ดังจะเห็นว่ำมำตรำที่ 1
ของคำประกำศก็ระบุว่ำ มนุษย์ทุกคนเกิดและดำรงชีวิตอย่ำงอิสระและมีสิทธิ
เสมอภำคกั น ในมำตรำอื่ น ก็ ย กเลิ ก ระบบอภิ สิ ท ธิ์ ท ำงชนชั้ น และกำร
แทรกแซงในเสรีภำพทำงควำมคิดและศำสนำระบุหน้ำที่ข้ำรำชกำรเป็นผู้รับ
ใช้ ข องประชำชน ซึ่ ง เป็ น องค์ อ ธิ ปั ต ย์ หำกข้ ำ รำชกำรกระท ำกำรใดให้
ประชำชนไม่เชื่อถือแล้วประชำชนก็มีสิทธิที่จะต่อต้ำนและล้มล้ำงอำนำจได้
กำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ได้ส่งผลกระทบให้แนวคิดเรื่องเสรีภำพ
ควำมเสมอภำค และภรำดรภำพ แพร่กระจำยไปทั่วทวีปยุโรป โดยผ่ำนกำรที่
ฝรั่ ง เศสท ำสงครำมยึ ด ครองประเทศต่ ำ งๆในยุ โ รปในช่ ว งสงครำมปฏิ วั ติ
ฝรั่งเศส (French Revolutionary War ค.ศ. 1792-1802) และสงครำมนโปเลียน
(Napoleonic War ค.ศ. 1803-1815) แม้ว่ำในท้ำยที่สุด ฝรั่งเศสต้องพ่ำยแพ้
สงครำมก็ตำม แต่ประชำชนในประเทศต่ำงๆ ก็ตื่นตัวต่อแนวคิดของกำรปฏิวัติ
ฝรั่งเศส นำไปสู่กำรต่อต้ำนผู้ปกครองตลอดช่วงเวลำคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ
20 เพื่ อ เรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ ำพในกำรปกครองตนเองของประชำชน
กล่ำวได้ว่ำ แนวควำมคิดประชำธิปไตยของล็อก สองเตสกิเออร์ วอล
แตร์ และรูโซ มีผลในกำรปลุกเร้ำจิตสำนึกทำงกำรเมืองของชำวตะวันตกเป็น
อันมำก และก่อให้เกิดกำรต่อสู้เพื่อให้ได้มำซึ่งประชำธิปไตยในประเทศ
ต่ำงๆ อย่ำงต่อเนื่องนับแต่ปลำยคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมำ ซึ่งถือได้ว่ำ
เป็นจุดเริ่มต้นของศักรำชใหม่ของระบบกำรเมืองที่ประชำชนถือว่ำตนเป็น
เจ้ำของประเทศ และต้องกำรมีส่วนร่วมในกำรปกครองประเทศ เหตุกำรณ์
ปฏิวัติทำงกำรเมืองโดยเฉพำะกำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 เป็นแม่แบบให้
ชำวตะวันตกร่วมเรียกร้องสิทธิเสรีภำพทำงกำรเมืองมำกขึ้น
แหล่งอ้างอิง:
นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก
         : http://writer.dekd.com/Writer/story/viewlongc.php?id
         =669683&chapter=6 (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554).
นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก
         : http://www.thaigoodview.com/node/14435
          (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554).
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก :
         http://neoeu.blogspot.com/2009/11/6.html
         (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554).

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสดppompuy pantham
 
Nara and heian periods
Nara and heian periodsNara and heian periods
Nara and heian periodsClaire James
 
Early Civilizations
Early CivilizationsEarly Civilizations
Early Civilizationsreach
 
The rise and fall of civilizations
The rise and fall of civilizationsThe rise and fall of civilizations
The rise and fall of civilizationsFrank Brande
 
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่SAM RANGSAM
 
Vespasianus
Vespasianus Vespasianus
Vespasianus paolina70
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1จารุ โสภาคะยัง
 
Iconographawhat examining the aztec calendar stone
Iconographawhat examining the aztec calendar stoneIconographawhat examining the aztec calendar stone
Iconographawhat examining the aztec calendar stoneLynise Lassiter
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Nara and heian periods
Nara and heian periodsNara and heian periods
Nara and heian periods
 
Ancient persia
Ancient persiaAncient persia
Ancient persia
 
Early Civilizations
Early CivilizationsEarly Civilizations
Early Civilizations
 
Beginnings of christianity
Beginnings of christianityBeginnings of christianity
Beginnings of christianity
 
Punch Marked Coins (1000 BCE - 500 CE)
Punch Marked Coins (1000 BCE - 500 CE)Punch Marked Coins (1000 BCE - 500 CE)
Punch Marked Coins (1000 BCE - 500 CE)
 
The rise and fall of civilizations
The rise and fall of civilizationsThe rise and fall of civilizations
The rise and fall of civilizations
 
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
การเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
 
Vespasianus
Vespasianus Vespasianus
Vespasianus
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
Iconographawhat examining the aztec calendar stone
Iconographawhat examining the aztec calendar stoneIconographawhat examining the aztec calendar stone
Iconographawhat examining the aztec calendar stone
 
Historiography
HistoriographyHistoriography
Historiography
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
History: An Introdction
History: An IntrodctionHistory: An Introdction
History: An Introdction
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
Fall of the Roman Empire
Fall of the Roman EmpireFall of the Roman Empire
Fall of the Roman Empire
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 

Viewers also liked

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMudmook Mvs
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011oscargaliza
 
Mo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal servicesMo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal servicesAnnette Tonti
 
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationY2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationabnercash
 
How Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationHow Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationStephanie Lynch
 
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretososcargaliza
 
Clase accesos venosos
Clase accesos venososClase accesos venosos
Clase accesos venososMANUEL RIVERA
 
Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Muhammad Yustan
 
Uso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosUso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosMANUEL RIVERA
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)oscargaliza
 
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode PlanDefinitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode Planguest2f17d3
 
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsJudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsDaniel Passos
 
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultati
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultatiTDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultati
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultatiTDR d.o.o Rovinj
 

Viewers also liked (20)

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011
 
Age
AgeAge
Age
 
Mo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal servicesMo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal services
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationY2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
 
AR VERB CONJUGATION
AR VERB CONJUGATIONAR VERB CONJUGATION
AR VERB CONJUGATION
 
How Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationHow Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your Destination
 
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos
84780 recurso inconstitucionalidade contra reais decretos
 
Clase accesos venosos
Clase accesos venososClase accesos venosos
Clase accesos venosos
 
Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)
 
Amac
AmacAmac
Amac
 
Uso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosUso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentos
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
 
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode PlanDefinitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
 
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsJudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
 
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultati
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultatiTDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultati
TDR - regionalni lider - inovacije kao temelj rasta - poslovni rezultati
 

Similar to 00ยุคภูมิ..[1] 6.2

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003AlittleDordream Topten
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdfssuser04a0ab
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 

Similar to 00ยุคภูมิ..[1] 6.2 (20)

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
 
57
5757
57
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
Democracy
DemocracyDemocracy
Democracy
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
Democracy
DemocracyDemocracy
Democracy
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
57
5757
57
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 

00ยุคภูมิ..[1] 6.2

  • 1. ยุคภูมิปัญญา จัดทำโดย 1. นำงสำวคันธรส โชติวรรณ์ เลขที่ 11 2. นำงสำวอรณิชำ ฉันทะ เลขที่ 22 ชั้น มัธยมศึกษำปีที่ 6/2
  • 2. ยุ ค ภู มิ ปั ญ ญา/ยุ ค ภู มิ ธ รรมและแนวคิ ด ประชาธิ ป ไตย กำรปฏิวัติทำงวิทยำศำสตร์ที่เริ่มขึ้นในสังคมตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ไม่เพียงก่อให้เกิดควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิทยำกำรและเทคนิค ตลอดจน สิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตให้ดีขึ้นเท่ำนั้น แต่ยัง นำไปสู่กำรปฏิวัติทำงภูมิปัญญำ (Intellectual Revolution) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อีกด้วย วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์และกำรหลุดพ้นจำกอำนำจของคริสต์ศำสนจักร ทำให้ชำวตะวันตกกล้ำใช้เหตุผลเพื่อแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง มำกขึ้น และเชื่อมั่นว่ำควำมมีเหตุผลสำมำรถเปลี่ยนแปลงชีวิตและสังคมให้ ดีขึ้นได้
  • 3. กำรแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง ตลอดจนกำรเรียกร้อง สิทธิเสรีภำพในกำรมีส่วนร่วมในกำรปกครองจึงเป็นลักษณะเด่นประกำรหนึ่ง ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 กำรพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษนี้ จึงเปรียบเสมือนแสงสว่ำงที่ส่องนำทำงให้โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์ ในวิชำกำรต่ำงๆ ทำให้ผู้คนมีควำมรู้ มีสติปัญญำและควำมคิด ตลอดจน ควำมสำมำรถได้รับกำรยกย่องจำกสังคมมำกขึ้น และเป็นพื้นฐำนสำคัญที่ทำ ให้ชำติตะวันตกเข้ำสู่ควำมเจริญในยุคใหม่ ดังนั้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 จึงได้รับ สมญำว่ำเป็น ยุคภูมิธรรม (The Age of Enlightenment)
  • 4.  นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย นักคิดคนสำคัญที่วำงรำกฐำนของปรัชญำกำรเมืองแนวประชำธิปไตย ได้แก่ ทอมัส ฮอบส์ ,จอห์น ล็อก ชำวอังกฤษ และกลุ่มนักคิด ฟิโลซอฟ (Philosophs) ของฝรั่งเศส เช่น มองเตสกิเออร์ วอลแตร์, ชอง-ชำคส์ รูสโซ
  • 5. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes ค.ศ. 1588-1679) นั ก ปรั ช ญำชำวอั ง กฤษ แนวคิ ด ด้ำนกำรเมืองของฮอบส์ ปรำกฏในหนังสือ ลีไวอำทัน (Leviathan) ซึ่งเป็นงำนเขียน ชิ้ น เอกของฮอบส์ กล่ ำ วว่ ำ ก่ อ นหน้ ำ ที่ มนุษย์จะมำอยู่รวมกันเป็นสังคมกำรเมือง มนุษย์มีอิสระและเสรีภำพในกำรกระทำ ใดๆ ซึ่งย่อมก่อให้เกิดควำมวุ่นวำย มนุษย์ จึง ตกลงกั นที่ จะหำคนกลำงมำทำหน้ ำ ที่ ปกครองเพื่ อ ให้ เ กิ ด สั ง คมกำรเมื อ งที่ อ ยู่ ร่วมกันอย่ำงสันติสุข
  • 6. โดยแต่ละคนยอมเสียสละอำนำจสูงสุดของตนให้แก่ฝ่ำยปกครอง ทั้งนี้ประชำชนมีสิทธิเลือกกำรปกครองที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของคน ส่วนใหญ่ โดยมีข้อผูกมัดว่ำทุกคนจะต้องเชื่อฟังผู้ปกครอง ซึ่งจะเป็นผู้ออก กฎหมำยมำบังคับประชำชนต่อไป จะเห็ น ว่ ำ แม้ ฮ อบส์ จ ะนิ ย มระบอบกษั ต ริ ย์ แต่ ก็ มี แ นวควำมคิ ด ว่ ำ อำนำจของกษัตริย์ไม่ใช่อำนำจของเทวสิทธิ์หรืออำนำจศักดิ์สิทธิ์ แท้จริงแล้ว เป็นอำนำจที่ประชำชนยินยอมพร้อมใจมอบให้ ส่วนทำงศำสนจักรนั้น ฮอบส์มี ควำมเห็นว่ำไม่ควรเข้ำมำเกี่ยวกับกำรปกครองของรัฐ นอกจำกนี้ฮอบส์ ยัง โจมตีควำมเชื่อทำงศำสนำของมนุษย์ว่ำเป็นเรื่องไร้เหตุผล มนุษย์ควรมีชีวิตอยู่ ด้วยเหตุผลและวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ ไม่ควรอยู่ด้วยควำมเชื่องมงำย อย่ำงไร ก็ตำม ฮอบส์มิได้ปฏิเสธพระเจ้ำ แต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นำทำงศำสนำ
  • 7. จอห์น ล็อก (John Locke ค.ศ. 1632-1704) นั ก ปรั ช ญำชำวอั ง กฤษ เป็ น ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Two Treatises of Government (ค.ศ. 1689) แนวคิดหลัก ของหนังสือ คือ กำรเสนอทฤษฎีที่ว่ำ รัฐบำลจัดตั้งขึ้นโดยควำมยินยอมของ ประชำชน และต้องรับผิดชอบต่อชีวิต ควำมเป็นอยู่ของประชำชน
  • 8. แนวคิดทำงกำรเมืองของล็อกอำจสรุปได้ว่ำ ประชำชนเป็นที่มำของ อำนำจทำงกำรเมืองและมีอำนำจในกำรจัดตั้งรัฐบำลขึ้นได้ รัฐบำลจึงมีหน้ำที่ ปกครองโดยคำนึงถึงประโยชน์และสิทธิธรรมชำติของประชำชนอันได้แก่ ชีวิต เสรีภำพ และทรัพย์สิน รัฐบำลมีอำนำจภำยในขอบเขตที่ประชำชนมอบให้ และ จะใช้เฉพำะเพื่อผลประโยชน์ของประชำชน เท่ำนั้น รัฐต้องไม่เข้ำแทรกแซงใน กิจกำรของปัจเจกชน นอกจำกในกรณีที่จำเป็นจริง ๆ เพื่อรักษำเสรีภำพและ ทรัพย์สินของผู้นั้น แนวคิดทำงกำรเมืองดังกล่ำวจึงเป็นรำกฐำนควำมคิดของ ระบอบประชำธิปไตยสมัยใหม่และมีอิทธิพลต่อปัญญำชนและปรัชญำเมธีของ ยุโรป โดยเฉพำะกลุ่มนักคิดฟิโลซอฟ (philosophes) ของฝรั่งเศษ
  • 9. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu ค.ศ. 1689-1755) บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu หรือ ชำร์ลส์ หลุยส์ เดอ เซ็กกองดำต์ (Charies Louis de Secondat) ขุ น นำงฝรั่ ง เศส เป็ น ผู้ เ ขี ย นหนั ง สื อ เรื่ อ ง วิญญำณแห่งกฎหมำย (The Spirit of Laws) ซึ่งใช้เวลำศึกษำค้นคว้ำกว่ำ 20 ปี หนังสือ เล่มนี้ พิมพ์เ ผยแพร่ครั้งแรกใน ค.ศ. 1748 และต่อมำได้รับกำรตีพิมพ์อีก 22 ครั้ง และ แปลเป็นภำษำตะวันตกต่ำงๆ เกือบทุกภำษำ
  • 10. แนวคิดหลักของหนังสือเรื่อง วิญญำณแห่งกฎหมำยสรุปได้ว่ำกฎหมำย ที่ รั ฐ บำลแต่ ล ะสั ง คมบั ญ ญั ติ ขึ้ น ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศและ เงื่อนไขทำงนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศำสตร์ของแต่ละสังคม แต่กำรปกครองแบบกษัตริย์ภำยใต้รัฐธรรมนูญเป็นรูปแบบกำรปกครองที่ดี ที่สุด นอกจำกนี้อำนำจกำรปกครองควรแยกออกเป็น 3 ฝ่ำย คือ ฝ่ำยนิติบัญญัติ ฝ่ำยบริหำรและฝ่ำยตุลำกำร กำรแบ่งอำนำจดังกล่ำวเป็นเสมือนกำรสร้ำงระบบ ตรวจสอบและถ่วงอำนำจ (check and balance system) จะช่วยไม่ให้ผู้ปกครอง หรือคณะผู้ปกครองหรือรัฐบำลใช้อำนำจแบบเผด็จกำรได้ แนวคิดในหนังสือเล่มนี้ มีอิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญกำร ปกครองประเทศของสหรั ฐ อเมริ ก ำ ซึ่ ง ถื อ ว่ ำ เป็ น แม่ แ บบของระบอบกำร ปกครองในระบอบประชำธิปไตยก็ใช้แนวคิดเรื่องกำรแบ่งแยกอำนำจ และ ระบบคำนอำนำจของมองเตสกิเออร์เป็นหลัก
  • 11. วอลแตร์ (Voltaire ค.ศ. 1694-1778) มีชื่อจริงว่ำ ฟรองซัว-มำรี อำรูเอ (Francois – Marie Arouet) เป็นนักคิด และนั ก เขี ย น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของฝรั่ ง เศส วอลแตร์ ป ระทั บ ใจในระบอบกำร ปกครองของอังกฤษมำก และตั้งใจจะใช้ งำนเขียน คัดค้ำนกำรปกครองแบบเผด็จ กำร และต่อ ต้ ำ นควำมงมงำยไร้ เหตุ ผ ล ตลอดจนเรี ย กร้ อ งเสรี ภ ำพในกำร แสดงออกซึ่งควำมคิดเห็นทำงด้ำนต่ำงๆ
  • 12. ควำมคิดดังกล่ำวของวอลแตร์ สะท้อนออกในหนังสือเรื่องจดหมำย ปรัชญำ (The Philo – Sophical Letters) หรือที่รู้จักในอีกชื่อว่ำ จดหมำยเรื่อง เมืองอังกฤษ (Letter on the English) เนื้อหำของหนังสือโจมตีสถำบันและ กฎระเบียบต่ำงๆ ที่หล้ำหลังของฝรั่งเศส นอกจำกนี้วอลแตร์ยังเรียกร้องให้มี กำรปฏิรูปประเทศฝรั่งเศสให้ทันสมัยเหมือนอังกฤษ อย่ำงไรก็ดี แม้วอลแตร์ จะต่ อ ต้ ำ นควำมอยุ ติ ธ รรมในสั ง คมและควำมไร้ ขั น ติ ธ รรมทำงศำสนำ ตลอดจนระบบอภิ สิทธิ์ต่ำง ๆ แต่ใ นด้ ำนกำรเมืองเขำก็ไม่เคยแสดงควำม คิดเห็นอย่ำงชัดเจนต่อรูปแบบกำรปกครองที่เขำพึงพอใจ หรือต้องกำรให้มี กำรเปลี่ยนแปลงสังคมและกำรเมืองอย่ำงถอนรำกถอนโคนด้วยกำรปฏิวัติอัน รุนแรง เขำคิดว่ำกำรใช้เหตุผลและสติปัญญำสำมำรถจะแก้ไขปัญหำสังคม และกำรเมือง
  • 13. ซอง - ชาคส์ รูโซ (Jean-Jacques Rousseau ค.ศ. 1712-1778) เป็นคนเชื้อสำยฝรั่งเศส เขำเขียน หนั ง สื อ หลำยเล่ ม โจมตี ฟ อนเฟะของ สั ง คม และกำรบริ ห ำรที่ ล้ ม เหลวของ รั ฐ บำล นอกจำกนี้ เ ขำยั ง แสดงทั ศ นะ เกี่ยวกับระบบกำรศึกษำ ปัญหำควำมไม่ เสมอภำคทำงสังคมอันเป็นผลจำกสภำวะ แวดล้อม เรื่องกำรถือครองกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน และแนวทำงกำรปกครอง และ อื่น ๆ
  • 14. งำนเขียนชิ้นเอกของเขำซึ่งเป็นตำรำทำงกำรเมืองที่สำคัญ และมีอิทธิพลมำก คือ สัญญำประชำคม (The Social Contract) ค.ศ. 1762 ว่ำด้วยปรัชญำทำงกำรเมืองด้ำนกำรปกครองและพันธสัญญำ ทำงกำรเมืองระหว่ำงรัฐบำลและประชำชน งำนเขียนเรื่องนี้ทำให้ รูโซได้ชื่อว่ำเป็นผู้วำงรำกฐำนอำนำจอธิปไตยของประชำชน
  • 15.  การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ หลั ง จำกสมเด็ จ พระรำชิ นี น ำถอลิ ซ ำเบทที่ 1 (Elizabeth I) สิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1603 กษัตริย์อังกฤษองค์ต่อๆ มำมักจะมีควำมขัดแย้งกับ รัฐสภำอยู่เสมอ เนื่องจำกกำรใช้พระรำชอำนำจเกินขอบเขต ใช้เงินแผ่นดินไป ในทำงที่ฟุ่มเฟือยและก่อสงครำม ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐสภำกับกษัตริย์ รุนแรงมำกขึ้นเรื่อย ๆ จนกลำยเป็นสงครำมกลำงเมืองใน ค.ศ. 1642-1649 และรัฐสภำได้จับพระเจ้ำชำร์ลที่ 1 ประหำรชีวิต จำกนั้นกษัตริย์อังกฤษถูกลด อำนำจลงเรื่อย ๆ จนถึง ค.ศ. 1688 ในสมัยพระเจ้ำเจมส์ที่ 2 (James II) ที่ทรง พยำยำมใช้อำนำจอย่ำงสูงสุดอีก จึงก่อให้เกิดกำรปฏิวัติขึ้น
  • 16. โดยรัฐสภำอังกฤษได้อันเชิญพระเจ้ำวิลเลียม (William) พระรำชบุตรเขยของพระเจ้ำเจมส์ที่ 2 ขึ้นครองรำชย์บัลลังก์โดยพระองค์ ทรงสัญญำว่ำจะปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติว่ำด้วยสิทธิพื้นฐำนของพลเมือง (Bill of Rights) ที่รัฐสภำเป็นผู้จัดร่ำงถวำยซึ่งให้อำนำจรัฐสภำและให้ สิทธิเสรีภำพแก่ชำวอังกฤษเหตุกำรณ์ครั้งนี้ เรียกว่ำ กำรปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (The Glorious Revolution) เป็นกำรปฏิวัติที่ไม่มีกำรเสียเลือดเนื้อ และได้ รั บ กำรสนั บ สนุ น จำกชนทุ ก ชั้ น นั บ แต่ นั้ น มำรั ฐ สภำอั ง กฤษ ได้ อ อกกฎหมำยให้ สิ ท ธิ เ สรี ภ ำพ แก่ ช ำวอั ง กฤษ ปฏิ รู ป สั ง คมและ กำรเมืองของอังกฤษ ก้ำวหน้ ำไปตำมลำดั บจนถึงปัจจุบัน อังกฤษได้รั บ กำรยกย่ อ งว่ ำ เป็ นประเทศแม่ แ บบของกำรปกครองแบบประชำธิป ไตย
  • 17. อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลำยลักษณ์อักษรเหมือนประเทศ อื่น ๆ ดังนั้นกำรปกครองของอังกฤษจึงยึดหลักกำรขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ เ คยปกครองกั น มำและยึ ด กฎหมำยเป็ น หลั ก รั ฐ สภำ กำรปฏิวัติใน ค.ศ. 1688 ทำให้ระบอบรำชำธิปไตยแบบเทวสิทธิ์ ของอั ง กฤษสิ้ น สุ ด ลง และได้ ยุ ติ ปั ญ หำขั ด แย้ ง ทำงกำรเมื อ งที่ กระทบกระเทือนอังกฤษมำตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 นอกจำกนี้ในปี ต่อมำมีกำรออกพระรำชบัญญัติว่ำด้วยขันติธรรมทำงศำสนำ (Act of Toleration) ให้เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำแก่พวกโปรเตสแตนต์สำขำ ต่ำง ๆ ที่ไม่ยอมขึ้นต่อนิกำยแองกลิคัน
  • 18.  การปฏิวติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 ั ชำวอังกฤษที่อพยพไปตั้งรกรำกในสหรัฐอเมริกำในระยะแรกมีควำม ผูกพันกับเมืองแม่ของตนด้วยกำรยอมรับนับถือกษัตริย์อังกฤษเป็นกษัตริย์ของ ตน และรวมตัวกันปกครองตนเองในรูปแบบอำณำนิคมขึ้นตรงต่ออังกฤษ แต่ เนื่องจำกรัฐบำลอังกฤษเก็บภำษีชำวอำณำนิคมอย่ำงรุนแรง และเอำเปรียบทำง กำรค้ำ เช่น อังกฤษบังคับให้อำณำนิคมขำยวัตถุดิบและซื้อสิ้นค้ำสำเร็จรูปจำก อังกฤษในรำคำที่อังกฤษกำหนด ทั้งยังห้ำมผลิตสินค้ำสำเร็จรูปด้วยตนเอง สร้ำง ควำมไม่พอใจแก่ชำวอำณำนิคมเป็นอย่ำงมำก ใน ค.ศ. 1776 ชำวอำณำนิคมจึง พร้อมใจกันประกำศอิสรภำพจำกอังกฤษ อังกฤษส่งทหำรมำปรำบกลำยเป็น สงครำม เรียกว่ำสงครำมประกำศอิสรภำพ ในที่สุดชำวอำณำนิคมได้รับชัยชนะ ได้ ตั้ ง เป็ น ประเทศใหม่ คื อ สหรั ฐ อเมริ ก ำ มี ป ระธำนำธิ บ ดี เ ป็ น ประมุ ข
  • 19. เนื่องจำกชำวอเมริกันเป็นชำวยุโรป ประกอบด้วยชำวอังกฤษเป็นส่วน ใหญ่ มีกำรศึกษำดีและมีจิตใจยึดมั่นในเรื่องของสิทธิเสรีภำพและอิสรภำพ ซึ่ง เหตุผลหนึ่งที่อพยพมำก็เพื่อแสวงหำควำมเป็นอิสรภำพ เพรำะไม่สำมำรถทน ต่อกำรบีบคั้น และกำรปกครองอย่ำงกดขี่ของรัฐบำลในทวีปยุโรป ดังนั้นชำว อเมริ กั นจึ ง มีค วำมคิ ดและจิ ต ใจที่ ยึ ด มั่ นในระบอบประชำธิ ป ไตย สำมำรถ วำงรำกฐำนกำรปกครองแบบประชำธิปไตยได้ อ ย่ ำงมั่นคง ประธำนำธิบ ดี อเมริกันผู้มีชื่อเสียงในกำรส่งเสริมระบอบประชำธิปไตยและควำมเสมอภำคใน ประชำชนคือ ประธำนำธิบดีเอบรำแฮม ลิงคอล์น (Abraham Lincon ค.ศ. 1861-1865) ได้ประกำศยกเลิกระบบทำสและให้ควำมเสมอภำคแก่ชำวผิวดำ กำรปฏิวัติของชำวอเมริกัน ค.ศ. 1776 มีอิทธิพลต่อกำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เป็นอย่ำงมำก ฝรั่งเศสได้ตัวอย่ำงกำรให้สิทธิประชำชนทุกคนเท่ำ เทียมกัน ไม่มีกำรแบ่งชนชั้นและศำสนำ ไม่เข้ำมำมีบทบำททำงกำรเมือง
  • 20.  การปฏิวัติฝรั่งเศส ( ค.ศ. 1789 ) กำรปกครองระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ของฝรั่งเศส เริ่มประสบ ควำมล้ ม เหลวในช่ ว งเวลำก่ อ นกำรปฏิ วั ติ ฝ รั่ ง เศส สำเหตุ ม ำจำก พระมหำกษัตริย์อ่อนแอไม่ทรงพระปรีชำสำมำรถ ในกำรบริหำรบ้ำนเมือง ประชำชนทั่วไปถูกขูดรีดภำษี จนอยู่ในภำวะยำกจนสิ้นหวัง ขณะที่พวกพระ และขุนนำงชั้นสูงมีควำมเป็นอยู่อย่ำงฟุ่มเฟือย สมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV ค.ศ. 1649-1715) ทรงใช้พระรำชทรัพย์ไปในกำรทำสงครำมและเพื่อ ควำมหรูหรำของรำชสำนักแวร์ซำย ถึงสมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 15 (Louis XV ค.ศ. 1715-1774) ก็มิได้ทรงประกอบพระรำชกรณียกิจในทำงที่จะแก้ปัญหำ เศรษฐกิจของฝรั่งเศส ทั้งยังเสียดินแดนอำณำนิคมเกือบทั้งหมดให้อังกฤษ เนื่องจำกเป็นฝ่ำยแพ้สงครำม เจ็ดปี (ค.ศ. 1745-1763)
  • 21. ต่อมำในสมัยพระเจ้ำหลุยส์ที่ 16 (Louis XVI ค.ศ. 1774-1792) เศรษฐกิจของฝรั่งเศสยิ่งมีปัญหำมำกขึ้นเพรำะควำมฟุ่มเฟือยของรำชสำนักแวร์ ซำย ประกอบกับต้องใช้จ่ำยในกำรช่วยเหลือชำวอเมริกันในสงครำมประกำศ อิสรภำพปัญญำชนฝรั่งเศสพยำยำมหำทำงแก้ไขปรับปรุงสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ภำยในประเทศให้ ดี ขึ้ น อั ง กฤษซึ่ ง ปกครองในระบอบกษั ต ริ ย์ ภ ำยใต้ รัฐธรรมนูญ และกำลังเจริญรุ่งเรืองจึงกลำยเป็นแม่แบบและแรงบันดำลใจให้ กลุ่มปัญญำชนหำหนทำงให้ประชำชนชำวฝรั่งเศสได้ชื่นชมกับเสรีภำพอย่ำง ชำวอังกฤษบ้ำง นอกจำกนี้ ชำวฝรั่งเศสยังมีควำมเชื่อว่ำกำรปกครองแบบมี รัฐสภำ (parliamentary government) หรือรัฐบำลประชำธิปไตยจะนำควำมมั่น คั่งมำสู่ประเทศไทยได้
  • 22. ในที่สุดชำวฝรั่งเศสหมดควำมอดทนที่จะยอมอยู่ภำยใต้เงื่อนไขของ ระบบสังคมเก่ำที่กีดกั้นเสรีภำพและกำรสร้ำงควำมยุติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม งำนวรรณกรรมทำงกำรเมืองของล็อก มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ รวมทั้ง ปั ญ ญำชนอื่ น ๆจึ ง สร้ ำ งเงื่ อ นไขอั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ควำมหวั ง ใหม่ ขึ้ น มำในหมู่ ประชำชน ซึ่งระบบสังคมเก่ำไม่เอื้ออำนวยประโยชน์ให้เต็มที่ และควำมคิด ดังกล่ำวก็เป็นรูปธรรมมำกขึ้น เมื่อชำวอเมริกันได้ก่อกำรปฏิวัติใน ค.ศ. 1776 เพื่อแยกตัวเองเป็นอิสระจำกกำรเป็นอำณำนิคมของอังกฤษ กำรปฏิวัติอเมริกัน ค.ศ.1776 จึงไม่เพียงแต่นำควำมชื่นชมมำสู่ผู้นิยมเสรีนิยมเท่ำนั้น แต่ทำให้ควำม มุ่งหวังต่ำงๆของกลุ่มนักคิดของยุคภูมิธรรมบรรลุควำมเป็นจริง อันได้แก่เรื่อง สิทธิเสรีภำพและควำมเสมอภำค กำรล้มล้ำงอำนำจที่ไม่เป็นธรรมของรัฐและ กำรประกำศใช้ รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น ลำยลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ ก ำหนดให้ แ ยกอ ำนำจ อธิปไตยออกเป็นสำมส่วน เป็นต้น
  • 23. ดังนั้นอีก 13 ปีต่อมำ ในวันที่ 14 กรกฎำคม ค.ศ. 1789 ชำวฝรั่งเศส จึงได้ก่อกำรปฏิวัติครั้งใหญ่เพื่อล้มล้ำงอำนำจกำรปกครองแบบประชำธิปไตย และต่อมำได้จัดตั้งระบอบกำรปกครองแบบสำธำรณรัฐ ซึ่งนับว่ำมีผลกระทบ อย่ำงใหญ่หลวงต่อควำมคิดทำงกำรเมืองของนำนำประเทศทั่วโลกทั้งใน ระยะเวลำอันสั้นและยำว กำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เป็นปรำกฏกำรณ์ครั้งแรกที่ประชำชนได้ เรียกร้องเสรีภำพ(liberty) เสมอภำค (equality) และภรำดรภำพ (fraternity) ตำมแนวทำงของรักปรำชญ์กำรเมืองของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แนวควำมคิด ดังกล่ำวก็ยังสะท้อนออกเป็นลำยลักษณ์อักษรในรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ ฝรั่งเศสอีกด้วย เช่น เรื่องของสิทธิในกำรครอบครองทรัพย์สินในมำตรำ 11 ควำมเสมอภำคทำงกระบวนกำรยุติธรรมในมำตรำ 17 และกำรแบ่งแยกอำนำจ อธิปไตยออกเป็น 3 ส่วนในมำตรำ 51 เป็นต้น
  • 24. นอกจำกนี้ในคำประกำศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (La Declaration des droits de I’homme et du citoyen) ซึ่งคณะปฏิวัติได้แถลงต่อประชำชน เมื่อวันที่ 27 สิงหำคม ค.ศ. 1789 ก็เป็นกำรนำเอำควำมคิดหลักของล็อก มอง เตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ ย้อนกลับมำใช้ให้เห็นอย่ำงชัดเจนอีกครั้ง เช่น ในเรื่องเสรีภำพส่วนบุคคล ควำมเสมอภำคในกระบวนกำรยุติธรรม สิทธิใน กำรครอบครองทรัพย์สิน และอำนำจอธิปไตยแห่งรัฐ ดังจะเห็นว่ำมำตรำที่ 1 ของคำประกำศก็ระบุว่ำ มนุษย์ทุกคนเกิดและดำรงชีวิตอย่ำงอิสระและมีสิทธิ เสมอภำคกั น ในมำตรำอื่ น ก็ ย กเลิ ก ระบบอภิ สิ ท ธิ์ ท ำงชนชั้ น และกำร แทรกแซงในเสรีภำพทำงควำมคิดและศำสนำระบุหน้ำที่ข้ำรำชกำรเป็นผู้รับ ใช้ ข องประชำชน ซึ่ ง เป็ น องค์ อ ธิ ปั ต ย์ หำกข้ ำ รำชกำรกระท ำกำรใดให้ ประชำชนไม่เชื่อถือแล้วประชำชนก็มีสิทธิที่จะต่อต้ำนและล้มล้ำงอำนำจได้
  • 25. กำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ได้ส่งผลกระทบให้แนวคิดเรื่องเสรีภำพ ควำมเสมอภำค และภรำดรภำพ แพร่กระจำยไปทั่วทวีปยุโรป โดยผ่ำนกำรที่ ฝรั่ ง เศสท ำสงครำมยึ ด ครองประเทศต่ ำ งๆในยุ โ รปในช่ ว งสงครำมปฏิ วั ติ ฝรั่งเศส (French Revolutionary War ค.ศ. 1792-1802) และสงครำมนโปเลียน (Napoleonic War ค.ศ. 1803-1815) แม้ว่ำในท้ำยที่สุด ฝรั่งเศสต้องพ่ำยแพ้ สงครำมก็ตำม แต่ประชำชนในประเทศต่ำงๆ ก็ตื่นตัวต่อแนวคิดของกำรปฏิวัติ ฝรั่งเศส นำไปสู่กำรต่อต้ำนผู้ปกครองตลอดช่วงเวลำคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 เพื่ อ เรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ ำพในกำรปกครองตนเองของประชำชน
  • 26. กล่ำวได้ว่ำ แนวควำมคิดประชำธิปไตยของล็อก สองเตสกิเออร์ วอล แตร์ และรูโซ มีผลในกำรปลุกเร้ำจิตสำนึกทำงกำรเมืองของชำวตะวันตกเป็น อันมำก และก่อให้เกิดกำรต่อสู้เพื่อให้ได้มำซึ่งประชำธิปไตยในประเทศ ต่ำงๆ อย่ำงต่อเนื่องนับแต่ปลำยคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมำ ซึ่งถือได้ว่ำ เป็นจุดเริ่มต้นของศักรำชใหม่ของระบบกำรเมืองที่ประชำชนถือว่ำตนเป็น เจ้ำของประเทศ และต้องกำรมีส่วนร่วมในกำรปกครองประเทศ เหตุกำรณ์ ปฏิวัติทำงกำรเมืองโดยเฉพำะกำรปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 เป็นแม่แบบให้ ชำวตะวันตกร่วมเรียกร้องสิทธิเสรีภำพทำงกำรเมืองมำกขึ้น
  • 27. แหล่งอ้างอิง: นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://writer.dekd.com/Writer/story/viewlongc.php?id =669683&chapter=6 (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554). นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.thaigoodview.com/node/14435 (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554). ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย .[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://neoeu.blogspot.com/2009/11/6.html (วันที่ค้นข้อมูล : 12 มกรำคม 2554).