SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
Lesson 4
Political Institution
Asst. Prof. Ating Capt.KATAWUT PONKHOT, Ph.D.
Bachelor of Political Science Program
NRRU
Political Institution
สถาบันทางการเมือง (Political Institution) มาจากคํา
ว่า “สถาบัน” และ “การเมือง”
สถาบัน หมายถึงบรรทัดฐานของพฤติกรรมทีสร้างขึนมา และมี
การปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกระทังเป็นทียอมรับในสังคม
สถาบันทางการเมือง เป็นสถาบันทีแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
การเมืองและสมาชิกของสังคม และระหว่างสมาชิกของสังคมด้วยกัน
เอง
สถาบัน (Institution)
• สถาบันทางรูปธรรม คือ องค์การ หรือสมาคม
• สถาบันทางนามธรรม คือ ระเบียบหรือระบบทีปฏิบัติในสังคม
สถาบันทางการเมือง (Political Institution) คือสถาบัน
ทีมีความสัมพันธ์กับการปกครองของรัฐโดยตรง
สถาบันทางการเมืองการปกครอง หมายถึง สถาบันสังคมทีเป็น
แบบแผนทีเกียวข้องกับการสนองความต้องการของสมาชิกในการ
ดํารงชีวิตตามกฎระเบียบของสังคม ควบคุมให้กลุ่มคนอยู่ในสังคมอย่าง
สงบสุข
องค์กรของสถาบันการเมืองทีสําคัญ
• ฝ่ายนิติบัญญัติ
• ฝ่ายบริหาร
• ฝ่ายตุลาการ
• ฝ่าย องค์กรอิสระ
หน้าทีของสถาบันการเมืองการปกครอง
• สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคม
• วินิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม
• หน้าทีในการบริหารองค์การของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิน
• การป้องกันและรักษาความปลอดภัยทังภายในสังคมและจากภายนอก
สังคม
สถาบันนิติบัญญัติ
สถาบันนิติบัญญัติ ในระบบรัฐสภา มีหน้าทีหลักก็คือ
- การออกกฎหมาย ซึงเป็นกลไกทีสําคัญในการบริหารและปกครองประเทศ
- หน้าทีเป็นตัวแทนของประชาชน
- ควบคุมการทํางานของรัฐบาล
สถาบันนิติบัญญัติ ในระบบประธานาธิบดี มีหน้าทีหลักก็คือ
• รัฐสภามีหน้าทีตรวจสอบถ่วงดุลการทํางานของคณะรัฐมนตรี
• Impeachment ในการขับไล่ประธานาธิบดีอีกด้วย
8
การเรียกชือรัฐสภา
อังกฤษ : Parliament
สหรัฐอเมริกา : Congress
ญีปุ่ น : Diet
ฝรังเศส : Assembly
อิสราเอล : Knesset
องค์ประกอบของสถาบันนิติบัญญัติ
ตามปกติสภานิติบัญญัติของแต่ละประเทศจะแบ่งออกเป็น 2
สภา (Houses, Chambers) ระบบ 2 สภานีเรียกว่า
Bicameral
ระบบสภาเดียว (Unicameral)
เป็นระบบทีได้รับความนิยมน้อยกว่าระบบสองสภา มักปรากฏ
ระบบนีในการปกครองท้องถินมากกว่า ในสหรัฐอเมริกา เช่น สภา
แขวง (County Board) สภาเมือง (City Councils)
ประเทศทีใช้สภาเดียว เช่น สวีเดน นอร์เวย์ เป็นต้น
ระบบสภาเดียวมีข้อดี
• ทําให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว
• ไม่สินเปลืองงบประมาณ
• ไม่ปรากฏการขัดแย้งระหว่างสองสภา
• ผู้แทนของสภาเดียวจะมีความภูมิใจว่าตัวเองเป็นผู้แทนของประชาชน
เพียงองค์กรเดียวเท่านัน
ระบบสภาเดียวอาจจะมีข้อเสียคือ
• อาจจะเกิดข้อบกพร่องได้
• อาจจะเป็นไปได้ว่ากฎหมายอาจจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย
อืนๆ ทีมีลําดับสูงกว่า
• ขัดต่อหลักเสรีภาพของประชาชนเป็นต้น
• รัฐสภาสามารถออกกฎหมายได้ตามอําเภอใจ
• ยากต่อการตรวจสอบถ่วงดุลในระบบรัฐสภา
ระบบสองสภา (Bicameral)
ระบบทีมีสภาหนึงเป็นสภาทีเป็นตัวแทนจากประชาชนทัวไปส่วน
อีกสภาหนึงเป็นสมาชิกทีมีคุณสมบัติพิเศษบางประการ
• สภาล่าง (Lower House)
• สภาสูง (Upper House)
ข้อดีของระบบสองสภา
• เป็นการเปิดโอกาสให้มีตัวแทนจากกลุ่มอาชีพเข้าไปมีเสียงในสภา
• มีสภาสูงคอยทําหน้าทีเป็นสภาทีทําหน้าทีกลันกรองกฎหมายจากสภา
ล่าง
• ทําให้มีสภาทีทําหน้าทีถ่วงดุลการทํางานของรัฐสภา
บทบาทของรัฐสภาในระบบรัฐสภา
• วุฒิสภาทําหน้าทีเป็นสภาพีเลียง
• สภาผู้แทนราษฎรมีอํานาจมากกว่าวุฒิสภา
• รัฐสภามีอํานาจในการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงด้วย
บทบาทของรัฐสภาในระบบรัฐสภา
ในขันตอนของกระบวนการออกกฎหมายนันจะมีหลายขันตอน ดังนี
–คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติเป็นส่วนใหญ่
–รัฐสภาสามารถร่างพระราชบัญญัติได้เช่นเดียวกัน
–การพิจารณาวาระกฎหมายต่างๆ มีดังนี
• วาระทีหนึง อ่านชือพระราชบัญญัติให้สภารับทราบ
• วาระทีสอง เปิดโอกาสให้มีการอภิปราย
• วาระทีสาม ลงมติผ่านร่างพระราชบัญญัติฉบับนัน ก็จะนําร่าง
นันเข้าสู่สภาสูง
บทบาทของรัฐสภาในระบบประธานาธิบดี
สภาสูง (Senate) และสภาผู้แทนราษฎร (House of
Representative)
• สภาสูงและสภาล่างมีอํานาจเท่าเทียมกัน
• การดํารงตําแหน่งของวุฒิสภา วุฒิสภาของสหรัฐอเมริกาอยู่ในตําแหน่งครังละ 6 ปี
และหนึงในสามของสมาชิกจะต้องเลือกตังใหม่ทุกๆ 2 ปี ต้องเป็นคนอเมริกัน
มาแล้ว 9 ปี มีอายุมากกว่า 30 ปีและอยู่ในมลรัฐทีจะสมัครเลือกตังไม่น้อยกว่า
90 วัน
• การดํารงตําแหน่งของสภาผู้แทน ฯ ต้องเป็นคนอเมริกันแล้วไม่น้อยกว่า 7 ปีมีอายุ
ไม่ตํากว่า 25 ปีในการเลือกตัง
บทบาทของรัฐสภาในระบบประธานาธิบดี
หน้าทีของรัฐสภา คือ
• ทังสภาสูงและสภาล่างมีอํานาจในการออกกฎหมายและแก้ไข
รัฐธรรมนูญ
• วุฒิสภามีอํานาจในการให้การรับรองการแต่งตังข้าราชการฝ่ายบริหาร
ของประธานาธิบดี
• วุฒิสภาให้ความยินยอมในการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาต่างๆ ของ
สหรัฐอเมริกาทีทํากับประเทศอืนๆ
• สภาผู้แทน ฯ มีอํานาจกล่าวโทษ (Impeach) ข้าราชการฝ่ายพล
เรือนหรือตุลา
สถาบันฝ่ ายบริหาร
คณะบุคคลหรือตัวบุคคลซึงมีหน้าทีนํากฎหมายไปใช้ อํานาจใน
การบริหารโดยทัวไปมีความเด็ดขาดหรือการตัดสินใจดําเนินการอยู่ที
บุคคลคนเดียว
สถาบันบริหารในระบบรัฐสภา
• ฝ่ายบริหารมีอํานาจในการบริหารปกครองประเทศ
• ฝ่ายบริหารอาจจะประกอบด้วยบุคคลจํานวนมากหรือน้อยไม่สําคัญ
• นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีถือเป็นคณะทํางานเดียวกัน
• รัฐบาลมีความเข้มแข็งและมันคง
สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี
• ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
• ประธานาธิบดีเป็นผู้เลือกคณะบริหาร
สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี
อํานาจหน้าทีของประธานาธิบดีนันพอสรุปได้ดังนี
• ควบคุม และปฏิบัติตามกฎหมาย
• แต่งตัง ถอดถอน โยกย้ายข้าราชการฝ่ายบริหารทัวไป แต่บาง
ตําแหน่ง โดยเฉพาะตําแหน่งทีมีความสําคัญระดับนโยบาย เช่น
รัฐมนตรี และเอกอัครราชทูต ต้องได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา
เสียก่อน
สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี
อํานาจหน้าทีของประธานาธิบดีนันพอสรุปได้ดังนี
• การมีส่วนร่วมในสถาบันนิติบัญญัติ
– ให้ความเห็นชอบ หรือยับยังกฎหมาย
– เสนอร่างกฎหมาย
– State of the Union Message คือคํา ปราศรัยของประธานาธิบดีใน
วาระเปิดประชุมสมัยแรกแห่งปี
– Budgeting Message ข้อความถึงรัฐสภาเพือชีแจงนโยบายและ
วัตถุประสงค์ของงบประมาณของฝ่ายบริหาร
– Economic Report การรายงานภาวะเศรษฐกิจของประเทศในช่วงกลางปี
– Special Message รายงานสภาพการณ์พิเศษทีเกิดขึน
สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี
อํานาจหน้าทีของประธานาธิบดีนันพอสรุปได้ดังนี
• อํานาจในสถาบันตุลาการ
• อํานาจหน้าทีในการดําเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
• อํานาจทางการทหาร
สถาบันตุลาการ
สถาบันตุลาการมีหน้าทีโดยตรงในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ตามหลักกฎหมายของประชาชน ดังนันผู้พิพากษาซึงเป็นตัวจักรสําคัญ
ในกระบวนการยุติธรรมจึงมีความจําเป็นอย่างยิงทีจะผดุงไว้
การแต่งตังและเลือกตังผู้พิพากษา
• แต่งตัง บางระบบการเมือง มีระบบการเข้าสู่ตําแหน่งของผู้พิพากษาเป็น
แบบการแต่งตัง ในประเทศไทยมีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.)
ในสหรัฐอเมริกา ผู้ทีแต่งตังผู้พิพากษาศาลสหพันธ์คือ ประธานาธิบดี
ทังนีโดยผ่านการรับรองจากวุฒิสภา ทังนีทังคณะกรรมการตุลาการและ
วุฒิสภาคือผู้ทีมีความสําคัญในการกลันกรองผู้พิพากษา
• เลือกตัง ประชาชนเป็นผู้เลือกตังผู้พิพากษาเองในบางระดับ เช่นใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ประชาชนในมลรัฐเป็นผู้เลือกตังผู้พิพากษาของศาล
บางประเภทในมลรัฐ ซึงทําให้ผู้พิพากษาได้รับความภาคภูมิใจว่าเป็น
ตัวแทนของประชาชน
บทบาทอืนๆ ของฝ่ายตุลาการ
• การตีความรัฐธรรมนูญ
• การตีความกฎหมาย
• กําหนดกฎเกณฑ์ในกระบวนการยุติธรรม
• สร้างขนบประเพณี
• ให้คําแนะนําของศาล
• เป็นกระบวนการสุดท้ายในการสร้างความมันคงและผดุงไว้ซึงความ
ยุติธรรม
ระบบศาล
ทัวโลกมี 2 ระบบ คือ
- ระบบศาลเดียว (อังกฤษ – ศาลยุติธรรม)
- ระบบศาลคู่ (ฝรังเศส – ศาลยุติธรรม และ ศาลปกครอง
ระบบศาลของประเทศไทย
• ศาลรัฐธรรมนูญ
• ศาลยุติธรรม
ศาลอาญา ศาลแพ่ง แบ่งเป็น ศาลชันต้น อุทธรณ์และฎีกา
และศาลชํานาญการพิเศษ
• ศาลปกครอง
• ศาลทหาร
พรรคการเมือง (Political Party)
พรรคการเมือง (Political Party) มีรากศัพท์มาจากภาษา
ลาตินว่า Par ซึงแปลว่า “ส่วน”
พรรคการเมือง จึงหมายถึงส่วนของประชากรภายในประเทศ
หมายถึงการทีแยกประชากรออกเป็นส่วนๆ ตามความคิดเห็นและ
ประโยชน์ได้เสียทางการเมือง
ส่วนประกอบของพรรคการเมือง
• การจัดองค์การของพรรค
• กลไกของพรรค
• นโยบายของพรรค
• การเงินของพรรค
• การประชุมพรรค
หน้าทีของพรรคการเมือง
• ประกาศหรือแถลงนโยบายหลักของพรรคการเมือง
• ปลุกเร้าและแสดงความคิดเห็นทางการเมือง
• ส่งผู้แทนเข้าสมัครรับเลือกตังผู้แทนราษฎรในการเลือกตังแต่ละครัง
• จัดตังรัฐบาล หากได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา
• ควบคุมรัฐบาล
• ประสานระหว่างกลุ่มผลประโยชน์กับรัฐบาล
ระบบพรรคการเมือง
พรรคการเมืองออกเป็น 3 ระบบด้วยกัน
- ระบบพรรคเดียว (Single Party System)
- ระบบสองพรรค (Two Party System)
- ระบบหลายพรรค (Multi Party System)
ระบบพรรคเดียว
เรามักจะเห็นระบบพรรคเดียวในประเทศเผด็จการทังแบบ
เบ็ดเสร็จนิยม และอํานาจนิยม เช่นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศจีน
ซึงเป็นพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวพรรคฟาสซิสต์ของอิตาลี และ
พรรคนาซีสมัยก่อนและระหว่างสงครามโลกครังทีสอง
ระบบสองพรรค
ลักษณะสําคัญของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคก็คือการทีมี
พรรคการเมืองเด่นๆ ทีแข่งขันกันเป็นผู้บริหารประเทศเสมอเพียงสอง
พรรคเท่านัน
ข้อดี ของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคนีคือ ทําให้รัฐบาลมี
เสถียรภาพ และมีความมันคง เพราะจะมีพรรคการเมืองเพียงพรรค
เดียวทําหน้าทีรัฐบาลหรือผู้บริหารประเทศ ส่วนอีกพรรคทีได้รับคะแนน
เสียงน้อยกว่าจะเป็นผู้ตรวจสอบถ่วงดุล ซึงอาจจะอยู่ในรูปของรัฐสภา
หรือพรรคฝ่ายค้านก็ได้
ระบบสองพรรค
ข้อเสีย ของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค คือ ระบบนีทําให้ไม่
สามารถมีทางเลือกทีสามในประชาธิปไตยได้ คือมีกระแสซ้ายกับขวา
ให้เลือก ไม่สามารถเลือกหนทางทีสาม
ระบบหลายพรรค
ระบบหลายพรรคจะมีพรรคการเมืองทีโดดเด่นและมีอิทธิพลใน
รัฐสภาอยู่หลายพรรค จุดเด่นก็คือไม่มีพรรคการเมืองใดสามารถครอง
เสียงข้างมากในรัฐสภาอย่างเพียงพอทีจะจัดตังรัฐบาลได้
กลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มอิทธิพล
(Interest Group and Pressure Group)
กลุ่มผลประโยชน์ หมายความถึง การรวมตัวกันของผู้มี
ผลประโยชน์ร่วมกัน เนืองจากในสังคมปัจจุบัน มีความซับซ้อน
หลากหลายมากกว่าสังคมดังเดิมมาก เกิดอาชีพหลายอาชีพ เกิด
ตําแหน่ง หน้าที ความรับผิดชอบ บทบาท สถานภาพทีแตกต่างกัน
คนทีอยู่ในสังคมทีมีความหลากหลายเหล่านีจึงเข้ามารวมตัวกัน
บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์
• ทําให้นโยบายของชาติเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง
• กลุ่มผลประโยชน์พยายามมีอิทธิพลในทางการเมือง
• พยายามเข้าถึงองค์กรทีกําหนดนโยบายของชาติ
• ติดตามและประเมินผลงานบทบาทของรัฐบาล
ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์ในไทย
• เชิดชูคนมีอํานาจ
• ขาดเอกภาพ
• ขาดอุดมการณ์
สือมวลชน
(Mass Media)
สือมวลชน อันได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์
ต่างมีบทบาทสําคัญในการเข้าถึงและเปลียนแปลงความคิดของ
ประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง
บทบาททีสําคัญของสือมวลชน
- ทางแรกคือสะท้อนความเห็นของมวลชน
- ทางทีสองคือ เป็นกระบอกเสียงให้กับรัฐบาล
ปัจจัยทีทําให้สือมวลชนมีความสําคัญในทางการเมือง
• การขยายตัวอย่างรวดเร็วของสือมวลชน
• ลัทธิทุนนิยมแพร่หลายไปทัวโลก
• การขยายตัวของอุดมการณ์ประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพ
บทบาทของสือมวลชนในทางการเมือง
• เผยแพร่ข้อมูลตามหลักความจริง ทัศนคติ และความคิดเห็น
• เปิดโปงเรืองราวความจริงทีอาจเป็นประโยชน์ต่อสังคม
• ตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล
• สร้างอุดมการณ์ ค่านิยม
• เป็นตัวกลางในการแสดงความคิดเห็นร่วมของประชาชน
• เป็นตัวกลางในการร้องเรียนความผิดพลาดต่างๆ
• ส่งต่อความคิดเห็นไปยังรัฐบาล
• ช่วยประชาสัมพันธ์การทํางานของรัฐบาล
ประเด็น
สอบถาม
คําถาม
• สถาบันทางการเมืองคืออะไร เพราะเหตุใดจึงมีความสําคัญในทางการเมือง
• สถาบันรัฐธรรมนูญมีความสําคัญอย่างไร จงอธิบายบทบาทของรัฐธรรมนูญในประเทศไทย
ตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
• ท่านพบว่า รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีหลักการใดบ้างทีส่งเสริมการปฏิรูปการเมือง จง
ยกตัวอย่างมา 3 ประเด็น
• พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์มีความแตกต่างกันอย่างไร
• พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์มีบทบาทในทางการเมืองอย่างไร
• หากต้องการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย ท่านคิดว่ามีเหตุจําเป็นประการใดทีจะสนับสนุน
ความ เข้มแข็งของกลุ่มผลประโยชน์
• ระบบราชการมีบทบาทในการปฏิรูปการเมืองหรือไม่ อย่างไร
• ท่านคิดว่าสือมวลชนมีบทบาทอย่างไรในทางการเมือง
• รัฐบาลได้แทรกแซงสือมวลชนของไทยในปัจจุบันนีหรือไม่ อย่างไร
• สถาบันนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ในระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีทํางาน
แตกต่างกันอย่างไร

More Related Content

Similar to Lesson 4 political institution

Similar to Lesson 4 political institution (6)

สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
RSU SE CENTER
RSU SE CENTERRSU SE CENTER
RSU SE CENTER
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 

More from KatawutPK

Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyKatawutPK
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of governmentKatawutPK
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideologyKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 

More from KatawutPK (18)

Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 

Lesson 4 political institution