SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
Political ideology
Asst.prof.Katawut Phonkhot,Ph.D
Dr.Piyanan Songsoontorawat
Bachelor of Political Science Program
NRRU
วัตถุประสงค์
• อธิบายความหมายและประโยชน์ของอุดมการณ์ทางการเมืองได้
• อธิบายถึงการแบ่งประเภทของอุดมการณ์ทางการเมืองประเภทต่างๆ ได้
• อธิบายถึงอุดมการณ์ทางการเมืองทีสําคัญได้
• วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของอุดมการณ์ทางเมืองระหว่างประชาธิปไตยกับ
คอมมิวนิสต์ได้
ความหมายของอุดมการณ์ทางการเมือง
• อุดมการณ์ทางการเมือง หมายถึง สิทธิทางการเมืองทีอธิบายความเป็นมาของระบบสังคมมนุษย์ในอดีต
สภาพความเป็นอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต การวางแนวทางความประพฤติสําหรับสมาชิกใน
ปัจจุบันและสําหรับการบรรลุถึงความมุ่งหวังในอนาคต พร้อมทังให้ความหมายแก่ชีวิตแก่ความประพฤติ
และความสัมพันธ์ทีมนุษย์มีต่อสิงแวดล้อมและระบบสังคมทังมวล (ลิขิต ธีรเวคิน. 2515 : 120)
• อุดมการณ์ทางการเมืองมีเป้าหมายในการทีจะนําเอาบางส่วนของทฤษฎีหรือปรัชญาทางการเมืองมาใช้เป็น
ข้ออ้างแนวทางเป็นการนําวิถีทีจะก่อให้เกิดการยอมรับความคิดนันในหมู่ชนเพือความประสงค์ทีจะ
ก่อให้เกิดการกระทําทางการเมือง ซึงพฤติกรรมถูกกําหนดโดยหลักเกณฑ์ของอุดมการณ์ทางการเมืองนันๆ
ดังนัน อุดมการณ์ทางการเมืองจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับลัทธิการเมือง (Political Doctrine) ซึง
วางเป้าหมายในทางปฏิบัติหรือธํารงรักษาไว้ซึงสภาพการณ์ทางการเมืองอย่างแน่ชัด (ชัยอนันต์ สมุทวณิช.
2520 : 244)
ประโยชน์ของอุดมการณ์ทางการเมือง
• เป็นตัวกําหนดบทบาทของบุคคลในระบบสังคม
• ทําให้ระบบการเมือง สังคมและเศรษฐกิจเป็นทียอมรับของสมาชิก
• ทําหน้าทีเป็นเครืองมือในการระดมพลเพือจุดมุ่งหมายในทางการเมืองหรือการพัฒนาประเทศ
• เป็นการใช้พยากรณ์แนวโน้มทีจะเกิดขึนกับระบบสังคมเศรษฐกิจและการเมือง
ประเภทของอุดมการณ์ทางการเมือง
• อุดมการณ์แบบเปิดและแบบปิด
• อุดมการณ์แบบประชาธิปไตย,ไม่ใช่ประชาธิปไตยและกึงประชาธิปไตย
• อุดมการณ์แบบแนวโน้มไปทางซ้าย กลาง หรือขวา
อุดมการณ์ทางการเมืองทีสําคัญ
• อุดมการณ์อรัฐนิยม
• อุดมการณ์สังคมนิยม
• อุดมการณ์คอมมิวนิสต์
• อุดมการณ์ประชาธิปไตย
• อุดมการณ์ฟาสซิสม์(Fascism)
อุดมการณ์อรัฐนิยม
• ยุคกรีกโบราณ
• อิทธิพลของปรัชญาลัทธิตามธรรมชาติในศตวรรษที 17 และ 18
• ยุคการปฏิวัติใหญ่ในอเมริกา และในฝรังเศส
• อรัฐนิยมในศตวรรษที 18 และ 19 ในอังกฤษและฝรังเศส
• นักเขียนรัสเซียสมัยศตวรรษที 19
อุดมการณ์สังคมนิยม
** อุดมการณ์สังคมนิยมแบบอุดมคติ (Utopian socialism)
• ต่อต้านการมีทรัพย์สินเป็นของส่วนตัว
• ต้องการให้สังคมเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือความมังคังต่างๆ
• ต้องการให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวกันในการดําเนินชีวิตภายในสังคม
• ถือว่าการชักชวนให้คนหันมานิยมสังคมนิยมด้วยวิธีการให้การศึกษาอย่าง ทัวถึง
• ความเชือในวิศวกรรมทางสังคม
• มีแนวคิดคล้ายเสรีนิยม
อุดมการณ์สังคมนิยม
** สังคมนิยมแบบมาร์กซ์ (Marxian Socialism)
• ทฤษฎีคอมมิวนิสต์ของมาร์กซ์ เป็นสังคมนิยมประเภทหนึงลักษณะสําคัญประการแรกคือ
ต้องการให้ทรัพย์สินไม่ว่าจะเป็นทีดินการผลิต และผลผลิต การค้าขาย ถือว่าเป็นของกลางที
จะต้องดําเนินการหรือจัดการโดยรัฐ
อุดมการณ์สังคมนิยม
** สังคมนิยมแบบประชาธิปไตย (Democratic Socialism)
• ทรัพย์สินจะเป็นของบุคคลก็ต่อเมือมีการใช้ให้
เป็นประโยชน์ต่อสังคม
• ระบบตัวแทน สังคมนิยมกิลด์หรือสังคมนิยม
สมาคมอาชีพต้องการกําหนดระบบการเลือก
ผู้แทนราษฎร โดยให้เป็นไปตามหลักแห่งการ
เป็นตัวแทนของกลุ่มอาชีพ
อุดมการณ์คอมมิวนิสต์
อุดมการณ์ประชาธิปไตย
* หลักการประชาธิปไตยทางการเมืองการปกครอง
•หลักอธิปไตยเป็นของปวงชน
•หลักการปกครองโดยคนส่วนมากและไม่ลืมสิทธิของคนส่วนน้อย
•การประกันเสรีภาพและความเสมอภาคโดยกฎหมาย
อุดมการณ์ฟาสซิสม์ (Fascism)
• รัฐมีความสําคัญกว่าปัจเจกบคคล
• ชาตินิยม (nationalism)
• ต่อต้านเสรีนิยม
• แสนยานุภาพนิยมและการก่อการร้าย
• เผด็จการ (dictator)
• ต่อต้านคอมมิวนิสต์(anticommunism)

More Related Content

Similar to U4 political ideology

ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to politicalKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionKatawutPK
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Similar to U4 political ideology (11)

387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
05
0505
05
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 

More from KatawutPK

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionKatawutPK
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsKatawutPK
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 

More from KatawutPK (8)

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 

U4 political ideology