SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
Constitutionalism and
Sovereignty
Dr.Piyanan Songsoontorawat
Bachelor of Political Science Program
NRRU
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
• อธิบายพัฒนาแนวคิดเกียวกับรัฐธรรมนูญนิยมในแต่ละยุคได้
• อภิปราย เปรียบเทียบแนวความคิดพืนฐานของทฤษฎีรัฐธรรมนูญนิยมได้
• อธิบายแนวคิดอํานาจอธิปไตยได้
• สรุป และอธิบายทฤษฎีการแบ่งแยกอํานาจได้
• วิเคราะห์แนวความคิดพืนฐานของทฤษฎีรัฐธรรมนูญนิยมกับบริบทของประเทศไทยได้
พัฒนาแนวคิดเกียวกับรัฐธรรมนูญนิยม
• พัฒนาแนวคิดเกียวกับรัฐธรรมนูญยุคแรก
• แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในสมัยกลาง
• แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในสมัยใหม่
พัฒนาแนวคิดเกียวกับรัฐธรรมนูญยุคแรก
ให้ความสําคัญกับกฎหมายในฐานะทีเป็นกฎเกณฑ์ทีควบคุมความประพฤติ
ของผู้ปกครอง อันจะนํามาซึงผู้ปกครองทีดี โดยมีเพลโต้(Plato) นัก
ปรัชญาชาวกรีกเป็นเจ้าของแนวคิดดังกล่าว
สมัยโรมัน คือ ทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social Contract) ซึงมี
แนวคิดว่ากฎหมายคือสัญญาร่วมกันของประชาชน
คริสตศตวรรษที 13 พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในขณะนันคือพระเจ้าจอห์น
Magna Carta
แนวคิดพืนฐานของทฤษฎีรัฐธรรมนูญนิยม
• เป็นการแสดงถึงความพยายามในการนํากฎหมายลายลักษณ์อักษรเข้ามาแทนที
จารีตประเพณีทีไม่มีความแน่นอนเพือจํากัดอํานาจผู้ปกครองและรับรองสิทธิ
เสรีภาพของประชาชนผู้อยู่ภายใต้การปกครอง
• การพัฒนาในช่วงแรกนียืนอยู่บนข้อตกลงทีเรียกว่าสัญญาสังคม การทีขุนนาง
ขอให้พระเจ้าแผ่นดินลงนามในเอกสารทางการเมืองดังกล่าวอยู่บนพืนฐาน
ความคิดทีว่าผู้ปกครองคือกษัตริย์ต้องปกครองประชาชนตามจารีตประเพณีที
เป็นเสมือนสัญญาสังคมทีได้รับการยอมรับมาในอดีต เมือผู้ปกครองไม่ทําตาม
คํามันสัญญานันผู้อยู่ภายใต้การปกครองคือขุนนางและประชาชนย่อมมีสิทธิที
จะเรียกทวงให้ผู้ปกครองปฏิบัติตามสัญญาได้
แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในสมัยกลาง
** ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ (Natural law)
• เซนต์ออกุสติน (Saint Augustin) ซึงเขียนหนังสือชือ "นครของพระเป็น
เจ้า"
• เซนต์โทมัส อไควนัส นครเป็นผลมาจากธรรมชาติ
• โกรติอุสเชือว่ากฎหมายธรรมชาติมีโครงสร้างทีมีลักษณะอิสระไม่จําต้องอาศัยข้อ
อ้างอิงในทางศาสนา
แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในสมัยกลาง
** ทฤษฎีประชาธิปไตยเสรีนิยม
• อันมีรากฐานแนวคิดมาจาก "สัญญาประชาคม" ทีประชาชนตกลงยินยอมสละสิทธิ
เสรีภาพทีเคยมีอยู่ตามธรรมชาติ
• "ปรัชญาว่าด้วยการแบ่งแยกการใช้อํานาจอธิปไตย"
• ประกาศเอกราชของประเทศอเมริกาปี ค.ศ. 1776 และมีการจัดทํารัฐธรรมนูญในปี
ค.ศ.1787 และการปฏิวัติใหญ่ในฝรังเศสปี ค.ศ.1789
หลักการทีรัฐธรรมนูญในระบบสากล
• รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเป็นสัญญาประชาคมต้องให้คนทังสังคมมีส่วนร่วมในการจัดทํา
• รัฐธรรมนูญต้องคุ้มครองศักดิศรีความเป็นมนุษย์ความเสมอภาค สิทธิเสรีภาพของคนแต่ละคน
ตามคติสัญญาประชาคมของกฎหมายธรรมชาติ
• รัฐธรรมนูญจะต้องให้ความสําคัญกับการทําให้การจํากัดอํานาจของผู้ปกครองมีประสิทธิภาพ
• รัฐธรรมนูญต้องเป็นการปกครองโดยความยินยอมของผู้อยู่ใต้ปกครอง
• มีการปกครองโดยกฎหมายทีเรียกว่านิติรัฐ
แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในสมัยใหม่
• ต้องการใช้รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรมาจํากัดอํานาจของผู้ปกครองและ
คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
• ต้องการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึนในสังคมโดยคุ้มครองคนทีอ่อนแอกว่า
• ต้องการสร้างเสถียรภาพและประสิทธิภาพให้เกิดขึนในการจัดการบ้านเมือง
โดยเฉพาะระบบการเมือง
แนวความคิดพืนฐานของรัฐธรรมนูญนิยม
• ทฤษฎีสัญญาประชาคม
• หลักความเป็นสูงสุดของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
• ทฤษฎีการแบ่งแยกการใช้อํานาจอธิปไตย
• หลักนิติรัฐ
ทฤษฎีสัญญาประชาคม
• ทุกคนต้องทําพันธะสัญญาซึงกันและกันมอบอํานาจ
สิทธิให้กับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในการปกครองคนใน
สังคม เพือให้สังคมสงบสุข
Thomus Hobbes
• รัฐทังหลายโดยธรรมชาติย่อมมีกฎแห่งธรรมชาติ
ปกครองอยู่ซึงผูกพันบุคคลทุกคน
John Locke
• โดยสัญญาประชาคมมนุษย์ดํารงอยู่ในทางการเมืองชัว
ชีวิต เราสามารถเคลือนไหวและมีเจตจํานงเสรีโดยมี
กฎหมายบัญญัติไว้...ทังนีเป็นไปตามธรรมชาติ
Jean Jacques
Rousseau
หลักความเป็นสูงสุดของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
• หลักความเป็นสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (Supremacy of the Constitutional) ซึง
เป็นผลของรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตยอันเป็นกฎเกณฑ์สูงสุดในการปกครอง
ประเทศ
ทฤษฎีการแบ่งแยกการใช้อํานาจอธิปไตย
• มองเตสกิเออ (Montesquieu) นักปราชญ์ชาวฝรังเศส เขาได้เสนอแนวคิดในการ
แบ่งแยกการใช้อํานาจอธิปไตยออกเป็นสามอํานาจคือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และ
อํานาจตุลาการเพือทําให้เกิดดุลยภาพของอํานาจไม่ให้มีการผูกขาดอํานาจอยู่ทีองค์กรใดองค์กร
หนึงหรือบุคคลใดบุคคลหนึง
หลักนิติรัฐ
• กาเร เดอ มัลแบร์ ( R. Carre de Malberg) ซึงได้กล่าวไว้ว่าหลักนิติรัฐเป็นหลักทีรัฐ
ต้องยอมตนอยู่ใต้ระบบกฎหมายในความสัมพันธ์กับปัจเจกชนและคุ้มครองสถานะของปัจเจก
ชน โดยรัฐต้องยอมตนอยู่ใต้กฎเกณฑ์สองนัยคือ การกําหนดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
และการกําหนดวิธีการและมาตราการซึงรัฐสามารถใช้เพือบรรลุวัตถุประสงค์
หลักนิติรัฐ
• กฎหมายของบ้านเมืองย่อมมีความสําคัญยิงใหญ่และเด็ดขาดกว่าอํานาจอืน
• บุคคลทุกคนย่อมอยู่ภายใต้กฎหมายบ้านเมือง
• กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นเพียงการรองรับสิทธิของมนุษย์ตามทีศาลได้รับรองและ
บังคับบัญชาให้เท่านัน
แนวคิดอํานาจอธิปไตย
• การใช้อํานาจอธิปไตยโดยนิตินัย (De Jure Sovereignty) ซึงหมายความถึง สิทธิแห่ง
อํานาจตามกฎหมายทีจะกระทําการอย่างหนึงอย่างใด
• การใช้อํานาจอธิปไตยโดยพฤตินัย (De Facto Sovereignty) ซึงก็หมายถึง
ความสามารถในทางข้อเท็จจริงทีจะกระทําการเช่นนัน
แนวคิดอํานาจอธิปไตย
• แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้า ของสันตะปาปา ของ
กษัตริย์
• แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
• แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอํานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
• การออกเสียงเลือกตังเป็นหน้าที ซึงประชาชนต้องปฏิบัติตาม
• ผู้แทนแต่ละคนไม่ได้เป็นผู้แทนของประชาชน
• ประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางกฎหมายกับการเมือง
ทฤษฎีการแบ่งแยกอํานาจ
สรุป
แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) คือ แนวความคิดทีจะใช้
รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรให้เป็นเครืองมือในการกําหนดรูปแบบการปกครองและกําหนด
กลไกอันเป็นโครงสร้างพืนฐาน (Infra-structure) ในการจัดองค์กรบริหารรัฐ ซึงการใช้
รัฐธรรมนูญในลักษณะสัญญาประชาคมเป็นเครืองมือในการจัดองค์กรบริหารของรัฐสมัยใหม่
นันมีวัตถุประสงค์ในการจํากัดอํานาจผู้ปกครองและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ซึงเป็น
วัตถุประสงค์อันเกิดขึนเป็นลําดับแรกและคงอยู่จนปัจจุบันนี และวัตถุประสงค์ในการสร้าง
เสถียรภาพและประสิทธิภาพให้กับรัฐบาลในระบบการเมือง ซึงวัตถุประสงค์ข้อนีต้องการใช้
รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเป็นกลไกทีจะทําให้รัฐบาลบริหารบ้านเมืองให้เป็นไปโดยเรียบร้อย
ต่อเนืองและแก้ไขปัญหาทีเกิดขึนในสังคมได้และวัตถุประสงค์ประการสุดท้ายคือเพือสร้างความ
เป็นธรรมให้เกิดขึนในสังคม

More Related Content

Similar to Lesson 3 constitutionalism and sovereignty

Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionKatawutPK
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political conceptsKatawutPK
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideologyKatawutPK
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereigntyKatawutPK
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptKatawutPK
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regimeKatawutPK
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 stateKatawutPK
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)puasansern tawipan
 

Similar to Lesson 3 constitutionalism and sovereignty (20)

Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
 

Lesson 3 constitutionalism and sovereignty