SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
คู่มือการเก็บรักษาจุลินทรีย์
โดยวิธีการระเหยแห้งในสภาวะสูญญากาศ
(Liquid-drying)
ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresource Research Center)
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
การเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งฯ
หลักการ
• อาศัยหลักการดึงน้าออกจากเซลล์ภายใต้สภาวะสูญญากาศใน
ขณะที่ตัวอย่างเป็นของเหลว (ระเหย)
• แตกต่างจากวิธีระเหิดแห้ง (Freeze drying) ซึ่งใช้หลักการดึงน้า
ออกจากเซลล์ในขณะที่น้าอยู่ในสภาวะของแข็ง (ระเหิด) ที่ต้องแช่
แข็งตัวอย่างก่อนท้าแห้ง ท้าให้การเก็บรักษาโดยวิธีการระเหยแห้ง
ใช้เวลาการเก็บรักษาน้อยกว่าวิธีระเหิดแห้ง และสามารถใช้เก็บ
รักษาจุลินทรีย์ที่ไม่สามารถทนสภาวะแช่แข็งได้
ข้อดี
• สามารถเก็บรักษาจุลินทรีย์ได้หลายชนิด เช่น แบคทีเรียและยีสต์
ส่วนใหญ่ รวมถึงราที่สร้างสปอร์หลายกลุ่ม
• สามารถเก็บรักษาจุลินทรีย์ได้นานถึง 10 ปี หรือมากกว่า เมื่อเก็บ
ในที่มืดอุณหภูมิ 4-10C
• สามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องได้ แต่อายุการเก็บรักษาจะสันลง
หากเก็บไว้ที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานาน
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
2
การเตรียมอุปกรณ์ และสารป้องกันเซลล์
จุลินทรีย์
• เตรียมเซลล์จุลินทรีย์บ่มที่อุณหภูมิเหมาะสม ส้าหรับแบคทีเรียและ
ยีสต์อายุประมาณ 24-48 ชม. หรือจนจุลินทรีย์เจริญอยู่ในช่วง
Late log phase
• ส้าหรับราและแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท ให้บ่มที่อุณหภูมิ
เหมาะสมจนสร้างสปอร์ที่เจริญเต็มที่
สารป้องกันเซลล์
• เตรียมสารป้องกันเซลล์ (ตารางที่ 1) 3-4 มล. ใส่ในหลอด นึ่งฆ่า
เชือที่อุณหภูมิ 121C นาน 15 นาที
หลอด ampoule
• ล้างหลอดโดยแช่ในกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มข้น 2%
ข้ามคืน จากนันล้างด้วยน้าสะอาด 2 ครังและน้ากลั่น 1 ครัง แล้ว
อบให้แห้ง อุดปากหลอดด้วยจุกส้าลี นึ่งฆ่าเชือที่อุณหภูมิ 121C
นาน 15 นาที แล้วอบให้แห้ง
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
3
สารป้องกันเซลล์
จุลินทรีย์ ส่วนประกอบของสารป้องกันเซลล์
แบคทีเรีย
ทั่วไป
sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g, ribitol 1.5 g,
L-cystein hydorochloride monohydrate 0.05 g, 0.1 M
potassium phosphate buffer (pH 7.0) 100 ml
หมายเหตุ: ส้าหรับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติก (lactic acid
bacteria) ให้เติม activated charcoal 1 g ในสารละลาย
ป้องกันเซลล์
ยีสต์ A: polyvinylpyrrolidone (K-90) 6 g, lactose 5 g, distilled
water 75 ml
B: sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g, 1 M
potassium phosphate buffer (pH 7.0) 10 ml, trehalose
5 g, distilled water 15 ml
sterilized separately by autoclaving, then mix A & B
รา sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g,
0.1 M potassium phosphate buffer (pH 7.0) 100 ml
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
Source: NBRC, Japan
ตารางที่ 1 สารป้องกันเซลล์ส้าหรับจุลินทรีย์แต่ละประเภท
4
หมายเหตุ: สารป้องกันเซลล์ที่เหมาะสมสาหรับจุลินทรีย์แต่ละชนิดอาจแตกต่างไปจากที่ระบุ และจุลินทรีย์บางชนิดอาจ
มีอัตราการรอดชีวิตต่า หรือไม่รอดชีวิตเมื่อใช้สารดังกล่าว ควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงสูตรสาร
ป้องกันเซลล์ให้เหมาะสมกับจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการเก็บรักษานั้นๆ
วิธีการเก็บรักษา
ใช้พาสเจอร์ปิเปตถ่ายสารป้องกันเซลล์ 3-4 มล. ใส่หลอดจุลินทรีย์
แล้วผสมให้เข้ากัน
จากนันใช้พาสเจอร์ปิเปตแบ่งสารละลายเซลล์ใส่หลอด Ampoule
หลอดละ 0.1-0.2 มล.
ใช้กรรไกรตัดส่วนปลายของส้าลีอุดหลอดออก และใช้แท่งแก้ว
รูปตัวแอล (L) ดันส้าลีให้ลึกจากปลายหลอดประมาณ 3-4 ซม.
คอดหลอดโดยใช้เปลวไฟความร้อนสูง โดยให้รอยคอดอยู่บริเวณเหนือ
จุกส้าลีประมาณ 1 ซม. และให้บริเวณที่คอดมีเส้นผ่านศูนย์กลางของ
หลอดประมาณ 1-2 ม.ม.
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
(มีต่อ)
5
วิธีการเก็บรักษา (ต่อ)
เสียบหลอดที่คอดแล้วเข้ากับเครื่องท้าแห้ง
ท้าแห้งประมาณ 3-4 ชั่วโมง
ปิดหลอดในสภาวะสูญญากาศ
โดยใช้เปลวไฟความร้อนสูงลนบริเวณรอยคอด
น้าหลอดไปตรวจความเป็นสูญญากาศภายในหลอด
โดยใช้เครื่อง High-frequency spark tester หลอดที่เป็นสูญญากาศ
จะเห็นประกายแสงสีน้าเงิน-ม่วงภายในหลอด
น้าหลอดที่มีสภาวะเป็นสูญญากาศเก็บในที่มืดอุณหภูมิ 4-10C
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand 6
การเพาะจุลินทรีย์ที่เก็บรักษาโดยวิธีระเหยแห้ง
• ใช้อุปกรณ์เปิดหลอด Ampoule กรีดรอบหลอด บริเวณกึ่งกลางจุก
ส้าลี
• ใช้ส้าลีชุบแอลกอฮอล์หมาดเช็ดบริเวณรอบรอยกรีด
• ใช้แผ่นส้าลีหนาหุ้มหลอดแล้วหักหลอดบริเวณรอยกรีด
• ใช้พาสเจอร์ปิเปตเติมสารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์ (ตารางที่ 2) ใส่หลอด
จุลินทรีย์ ประมาณ 0.3-0.4 มล.
• ทิงไว้ประมาณ 2-3 นาทีแล้วผสมให้เข้ากัน
• ถ่ายส่วนผสมลงในอาหารเลียงเชือที่เหมาะสม
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
7
สารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์
จุลินทรีย์ ส่วนประกอบสารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์
แบคทีเรียทั่วไป polypeptone 10 g, yeast extract 2 g,
MgSO4.7H2O 1 g, distilled water 1 L, pH 7.0
ยีสต์ glucose 10 g, peptone 5 g, yeast extract 3 g,
malt extract 3 g, distilled water 1 L, pH 6.0
รา และแบคทีเรีย
กลุ่มแอคติโนมัยสีท
peptone 5 g, yeast extract 3 g, MgSO4.7H2O 1 g,
distilled water 1 L, pH 7.0
Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
ตารางที่ 2 สารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์แต่ละประเภท
ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC)
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 อาคาร B ชัน 8 ห้อง 817
143 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ต. คลองหนึ่ง อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120
โทร: +66 (0) 2117 8000-1
อีเมล์: tbrcservice@biotec.or.th
8
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
rutchadaphun123
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
peter dontoom
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
Bios Logos
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Thanyamon Chat.
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
Wann Rattiya
 

What's hot (20)

อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
 
Hardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's LawHardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's Law
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 

Viewers also liked

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
Sambushi Kritsada
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 

Viewers also liked (11)

Seminar with inspiration (and advice) for young (microbial) scientists
Seminar with inspiration (and advice) for young (microbial) scientistsSeminar with inspiration (and advice) for young (microbial) scientists
Seminar with inspiration (and advice) for young (microbial) scientists
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
Lecture 6 aft
Lecture 6 aftLecture 6 aft
Lecture 6 aft
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
 
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
4
44
4
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 

Similar to คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid drying)

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
adriamycin
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Technology Innovation Center
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
KaRn Tik Tok
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
Anana Anana
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
wisita42
 

Similar to คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid drying) (20)

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Waters sampling
Waters samplingWaters sampling
Waters sampling
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 

More from tbrc

Standards in brc/kctc in korea
Standards in brc/kctc in koreaStandards in brc/kctc in korea
Standards in brc/kctc in korea
tbrc
 

More from tbrc (20)

Online conference UNJCC Indonesia​
Online conference UNJCC Indonesia​Online conference UNJCC Indonesia​
Online conference UNJCC Indonesia​
 
1. IMBT Vietnam
1. IMBT Vietnam1. IMBT Vietnam
1. IMBT Vietnam
 
Online conference undip indonesia
Online conference undip indonesiaOnline conference undip indonesia
Online conference undip indonesia
 
An micro sec_report
An micro sec_reportAn micro sec_report
An micro sec_report
 
7. airlangga indonesia
7. airlangga indonesia7. airlangga indonesia
7. airlangga indonesia
 
6. biotec thailand
6. biotec thailand6. biotec thailand
6. biotec thailand
 
5. ust philippines
5. ust philippines5. ust philippines
5. ust philippines
 
4. biotech philippines
4. biotech philippines4. biotech philippines
4. biotech philippines
 
3. ipbcc indonesia
3. ipbcc indonesia3. ipbcc indonesia
3. ipbcc indonesia
 
2. itb indonesia
2. itb indonesia2. itb indonesia
2. itb indonesia
 
Thai rath : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Thai rath : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียนThai rath : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Thai rath : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
 
Thai rath ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Thai rath ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียนThai rath ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Thai rath ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
 
Daily news : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Daily news : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียนDaily news : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Daily news : ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
 
Prachachat turakij: ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Prachachat turakij: ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียนPrachachat turakij: ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
Prachachat turakij: ฐานข้อมูลจุลินทรีย์อาเซียน
 
กรุงเทพธุรกิจ 24 พ.ค. 2562
กรุงเทพธุรกิจ 24 พ.ค. 2562กรุงเทพธุรกิจ 24 พ.ค. 2562
กรุงเทพธุรกิจ 24 พ.ค. 2562
 
Standards in brc/kctc in korea
Standards in brc/kctc in koreaStandards in brc/kctc in korea
Standards in brc/kctc in korea
 
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (I)
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (I)Ethical and legal issues related to human-derived tissues (I)
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (I)
 
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (II)
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (II)Ethical and legal issues related to human-derived tissues (II)
Ethical and legal issues related to human-derived tissues (II)
 
Introduction to ITBCC
Introduction to ITBCCIntroduction to ITBCC
Introduction to ITBCC
 
Biobanking for better research and healthcare
Biobanking for better research and healthcareBiobanking for better research and healthcare
Biobanking for better research and healthcare
 

คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid drying)

  • 1. คู่มือการเก็บรักษาจุลินทรีย์ โดยวิธีการระเหยแห้งในสภาวะสูญญากาศ (Liquid-drying) ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresource Research Center) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand
  • 2. การเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งฯ หลักการ • อาศัยหลักการดึงน้าออกจากเซลล์ภายใต้สภาวะสูญญากาศใน ขณะที่ตัวอย่างเป็นของเหลว (ระเหย) • แตกต่างจากวิธีระเหิดแห้ง (Freeze drying) ซึ่งใช้หลักการดึงน้า ออกจากเซลล์ในขณะที่น้าอยู่ในสภาวะของแข็ง (ระเหิด) ที่ต้องแช่ แข็งตัวอย่างก่อนท้าแห้ง ท้าให้การเก็บรักษาโดยวิธีการระเหยแห้ง ใช้เวลาการเก็บรักษาน้อยกว่าวิธีระเหิดแห้ง และสามารถใช้เก็บ รักษาจุลินทรีย์ที่ไม่สามารถทนสภาวะแช่แข็งได้ ข้อดี • สามารถเก็บรักษาจุลินทรีย์ได้หลายชนิด เช่น แบคทีเรียและยีสต์ ส่วนใหญ่ รวมถึงราที่สร้างสปอร์หลายกลุ่ม • สามารถเก็บรักษาจุลินทรีย์ได้นานถึง 10 ปี หรือมากกว่า เมื่อเก็บ ในที่มืดอุณหภูมิ 4-10C • สามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องได้ แต่อายุการเก็บรักษาจะสันลง หากเก็บไว้ที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานาน Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand 2
  • 3. การเตรียมอุปกรณ์ และสารป้องกันเซลล์ จุลินทรีย์ • เตรียมเซลล์จุลินทรีย์บ่มที่อุณหภูมิเหมาะสม ส้าหรับแบคทีเรียและ ยีสต์อายุประมาณ 24-48 ชม. หรือจนจุลินทรีย์เจริญอยู่ในช่วง Late log phase • ส้าหรับราและแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท ให้บ่มที่อุณหภูมิ เหมาะสมจนสร้างสปอร์ที่เจริญเต็มที่ สารป้องกันเซลล์ • เตรียมสารป้องกันเซลล์ (ตารางที่ 1) 3-4 มล. ใส่ในหลอด นึ่งฆ่า เชือที่อุณหภูมิ 121C นาน 15 นาที หลอด ampoule • ล้างหลอดโดยแช่ในกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มข้น 2% ข้ามคืน จากนันล้างด้วยน้าสะอาด 2 ครังและน้ากลั่น 1 ครัง แล้ว อบให้แห้ง อุดปากหลอดด้วยจุกส้าลี นึ่งฆ่าเชือที่อุณหภูมิ 121C นาน 15 นาที แล้วอบให้แห้ง Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand 3
  • 4. สารป้องกันเซลล์ จุลินทรีย์ ส่วนประกอบของสารป้องกันเซลล์ แบคทีเรีย ทั่วไป sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g, ribitol 1.5 g, L-cystein hydorochloride monohydrate 0.05 g, 0.1 M potassium phosphate buffer (pH 7.0) 100 ml หมายเหตุ: ส้าหรับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติก (lactic acid bacteria) ให้เติม activated charcoal 1 g ในสารละลาย ป้องกันเซลล์ ยีสต์ A: polyvinylpyrrolidone (K-90) 6 g, lactose 5 g, distilled water 75 ml B: sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g, 1 M potassium phosphate buffer (pH 7.0) 10 ml, trehalose 5 g, distilled water 15 ml sterilized separately by autoclaving, then mix A & B รา sodium L(+)-glutamate monohydrate 3 g, 0.1 M potassium phosphate buffer (pH 7.0) 100 ml Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand Source: NBRC, Japan ตารางที่ 1 สารป้องกันเซลล์ส้าหรับจุลินทรีย์แต่ละประเภท 4 หมายเหตุ: สารป้องกันเซลล์ที่เหมาะสมสาหรับจุลินทรีย์แต่ละชนิดอาจแตกต่างไปจากที่ระบุ และจุลินทรีย์บางชนิดอาจ มีอัตราการรอดชีวิตต่า หรือไม่รอดชีวิตเมื่อใช้สารดังกล่าว ควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงสูตรสาร ป้องกันเซลล์ให้เหมาะสมกับจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการเก็บรักษานั้นๆ
  • 5. วิธีการเก็บรักษา ใช้พาสเจอร์ปิเปตถ่ายสารป้องกันเซลล์ 3-4 มล. ใส่หลอดจุลินทรีย์ แล้วผสมให้เข้ากัน จากนันใช้พาสเจอร์ปิเปตแบ่งสารละลายเซลล์ใส่หลอด Ampoule หลอดละ 0.1-0.2 มล. ใช้กรรไกรตัดส่วนปลายของส้าลีอุดหลอดออก และใช้แท่งแก้ว รูปตัวแอล (L) ดันส้าลีให้ลึกจากปลายหลอดประมาณ 3-4 ซม. คอดหลอดโดยใช้เปลวไฟความร้อนสูง โดยให้รอยคอดอยู่บริเวณเหนือ จุกส้าลีประมาณ 1 ซม. และให้บริเวณที่คอดมีเส้นผ่านศูนย์กลางของ หลอดประมาณ 1-2 ม.ม. Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand (มีต่อ) 5
  • 6. วิธีการเก็บรักษา (ต่อ) เสียบหลอดที่คอดแล้วเข้ากับเครื่องท้าแห้ง ท้าแห้งประมาณ 3-4 ชั่วโมง ปิดหลอดในสภาวะสูญญากาศ โดยใช้เปลวไฟความร้อนสูงลนบริเวณรอยคอด น้าหลอดไปตรวจความเป็นสูญญากาศภายในหลอด โดยใช้เครื่อง High-frequency spark tester หลอดที่เป็นสูญญากาศ จะเห็นประกายแสงสีน้าเงิน-ม่วงภายในหลอด น้าหลอดที่มีสภาวะเป็นสูญญากาศเก็บในที่มืดอุณหภูมิ 4-10C Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand 6
  • 7. การเพาะจุลินทรีย์ที่เก็บรักษาโดยวิธีระเหยแห้ง • ใช้อุปกรณ์เปิดหลอด Ampoule กรีดรอบหลอด บริเวณกึ่งกลางจุก ส้าลี • ใช้ส้าลีชุบแอลกอฮอล์หมาดเช็ดบริเวณรอบรอยกรีด • ใช้แผ่นส้าลีหนาหุ้มหลอดแล้วหักหลอดบริเวณรอยกรีด • ใช้พาสเจอร์ปิเปตเติมสารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์ (ตารางที่ 2) ใส่หลอด จุลินทรีย์ ประมาณ 0.3-0.4 มล. • ทิงไว้ประมาณ 2-3 นาทีแล้วผสมให้เข้ากัน • ถ่ายส่วนผสมลงในอาหารเลียงเชือที่เหมาะสม Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand 7
  • 8. สารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ ส่วนประกอบสารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์ แบคทีเรียทั่วไป polypeptone 10 g, yeast extract 2 g, MgSO4.7H2O 1 g, distilled water 1 L, pH 7.0 ยีสต์ glucose 10 g, peptone 5 g, yeast extract 3 g, malt extract 3 g, distilled water 1 L, pH 6.0 รา และแบคทีเรีย กลุ่มแอคติโนมัยสีท peptone 5 g, yeast extract 3 g, MgSO4.7H2O 1 g, distilled water 1 L, pH 7.0 Copyright 2016 TBRC, BIOTEC, Thailand ตารางที่ 2 สารที่ใช้เพาะจุลินทรีย์แต่ละประเภท ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 อาคาร B ชัน 8 ห้อง 817 143 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต. คลองหนึ่ง อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120 โทร: +66 (0) 2117 8000-1 อีเมล์: tbrcservice@biotec.or.th 8 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม