SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
สมบัติทางกายภาพและชีววิทยาของผักและผล
บทที่ 2
เนื้อหา
1. คุณสมบัติทางกายภาพ
1.1 โครงสร้างของเนื้อเยื่อผักและผลไม้
ชนิด
1.1.1 เนื้อเยื่อป้องกัน
1.1.2 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
1.1.3 เนื้อเยื่อคำ้าจุนโครงสร้าง
1.1.4 เนื้อเยื่อลำาเลียง
1.2 การสูญเสียนำ้า
เนื้อหา
2. คุณสมบัติทางชีววิทยา
2.1 การหายใจ
(respiration)
2.1.1 การหายใจที่ใช้
ออกซิเจน
2.1.2 การหายใจที่ไม่ใช้
ออกซิเจน
1. คุณสมบัติทางกายภาพ
1.1 โครงสร้างของเนื้อเยื่อผักและผลไม้
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
(1) เนื้อเยื่อป้องกัน (protective tissues)
(2) เนื้อเยื่อพาเรนไคมา (parenchyma)
(3) เนื้อเยื่อคำ้าจุนโครงสร้าง (supporting
tissues)
(4) เนื้อเยื่อลำาเลียง (vascular tissue)
เนื้อเยื่อป้องกัน (protective tissue)
• เนื้อเยื่อที่เรียงตัวกันอยู่ชั้นนอกสุด
• คิวติเคิลประกอบด้วยสารประเภทไข ได้แก่ wax และ cutin ซึ่งมี
คุณสมบัติไม่ชอบนำ้า (hydrophobic)
• wax ยังให้ความมันเงาแก่ผลไม้ การขัดขวางการเคลื่อนย้ายของนำ้า
• cutin มักจะมีสารประกอบฟีนอลอยู่ด้วย ช่วยทำาหน้าที่ป้องกันเชื้อโรค
และแมลงที่จะเข้าทำาลายผลได้
โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช (leaf tissue
organelle)
รูปที่ 2.1 โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช (leaf tissue organelle) ที่มา Davidson, 2010
นำ้า
อาหาร
ปากใบ (stomata)
รูปที่ 2.2 สโตมาตา (stomata)
1.1.2 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
• มี 3 ใน 4 ของเซลล์ทั้งหมดของเนื้อเยื่อพืช
• ภายในเนื้อเยื่อจะมีช่องว่างภายในเซลล์ คือแวคคิวโอล
(vacuole) ที่เป็นที่เก็บสารต่างๆ เช่น กรด นำ้าตาล รงควัตถุ รวม
ทั้งสารที่ละลายนำ้า ละลายไขมัน และโปรตีน
• เซลล์แต่ละเซลล์จะไม่ชิดกันและมีช่องว่างแทรกอยู่
• มันฝรั่งจะมีช่องว่างน้อยกว่า 1% ของปริมาตรเนื้อเยื่อ แต่ใน
แอปเปิ้ลจะมีช่องว่างถึง 25%
Parenchyma tissue
รูปที่ 2.1 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
• ภายในไซโตรพลาสซึม ประกอบไปด้วยเม็ดแป้ง (starch
granules) และพลาสติด (plastid) ที่บรรจุคลอโรพลาสต์และ
รงควัตถุอื่นๆ
• ผนังเซลล์จะมีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก
1.1.3 เนื้อเยื่อคำ้าจุน (supporting
tissue)
• แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ คอเลนไคมา (collenchyma) และ
สเคอเลนไคมา (sclerenchyma)
1. คอเลนไคมา (collenchyma) ทำาให้เนื้อเยื่อมีความแข็งแรง
พบมากที่ก้าน ลำาต้น ใบ ผนังเซลล์ ซึ่งประกอบไปด้วยเพคติน
และเฮมิเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่
2. สเคอเรนไคมา (sclerenchyma)
• เป็นเซลล์เนื้อเยื่อที่มีผนังหนาและมักเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว
• ประกอบด้วยเซลลูโลส (cellulose) และ/หรือ ลิกนิน (lignin)
• สเคอเรนไคมาแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ เส้นใย (fiber) และ
สเคอรีด (sclereid)
รูปที่ 2.3 เนื้อเยื่อสเคอเรนไคมา
1.1.4 เนื้อเนื่อลำาเลียง (Vescular
tissues)
• แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือไซเลม (Xylem) และโฟลเอม
(Phloem)
• ไซเลมทำาหน้าที่ลำาเลียงนำ้า
• โฟเอม ทำาหน้าที่ลำาเลียงอาหาร
1.2 การสูญเสียนำ้า
• ผลผลิตสดจะต้องคายนำ้าอยู่ตลอดเวลา เพื่อระบายความร้อนที่
เกิดจากการหายใจ
• โครงสร้างต่างๆ ที่ป้องกันการระเหยของนำ้า เช่น ไข (wax) และ
คิวติน (cutin)
• พืชก็มีช่องเปิดต่างๆ เช่น ปากใบ (stomata) และ lenticel
เพื่อถ่ายเทอากาศนำาเข้าออกซิเจนเข้าไปสำาหรับการหายใจและ
ระบายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา (รูปที่ 2.5)
รูปที่ 2.5 โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช
ชนิดพืช จากดอยต่างๆถึง
เชียงใหม่
จากเชียงใหม่ถึง
กรุงเทพฯ
กะหลำ่าปลี 4 54
มะเขือเทศ 13 17
พริกยักษ์ 11 34
ถั่วลันเตา 15 47
มันฝรั่ง 6 26
ผักกาด
หอมห่อ
13 71
ปวยเหล็ง 8 63
แครอท 16 36
ตารางที่ 2.1 สถิติการสูญเสียนำ้าหนัก
โครงการหลวงบางชนิดเฉลี่ยทั้งปี
ปัญหาการคายนำ้า
• การคายนำ้าจากผลเป็นปัญหาที่สำาคัญอย่างหนึ่งของการเก็บ
รักษา เพราะทำาให้เกิดการสูญเสียนำ้าหนัก ความแน่นเนื้อ ผล
เหี่ยว สีผิวไม่สวย และอาจทำาให้การสุกของผลไม่เป็นไปตาม
ปกติ
• ตัวอย่างเช่น มะม่วงที่สูญเสียนำ้ามากกว่า 5-10 เปอร์เซ็นต์ของ
นำ้าหนักจะทำาให้ผลเหี่ยว ความแน่นเนื้อของผลลดลง และทำาให้
รสชาติไม่ดี (Peleg, 1985)
2. คุณสมบัติทางชีววิทยา
• 2.1 การหายใจ (respiration)
การหายใจแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1) การหายใจที่ใช้ออกซิเจน (aerobic respiration)
2) การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration)
การหายใจ
• เป็นกระบวนการชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต ซึ่งนำาอาหาร เช่น แป้ง ไข
มัน นำ้าตาล และโปรตีนที่สะสมมาใช้ให้เกิดเป็นพลังงาน
กระบวนการนี้เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชันที่อาหารถูก
นำามาออกซิไดซ์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์
2.1.1 การหายใจที่ใช้ออกซิเจน
• เป็นการออกซิเดชันของนำ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ให้เป็น
คาร์บอนไดออกไซด์ นำ้าและพลังงาน โดยมีกรดอินทรีย์ต่างๆ
เอนไซม์และโคเอนไซม์เข้ามาเกี่ยวข้อง การออกซิเดชันของ
นำ้าตาลที่สมบูรณ์จะเป็นไปตามสมการ
• C6H12O6 + 6O2 6CO2 + 6H2O + พลังงาน
• 1) กระบวนการไกลโคไลซีส เป็นการเปลี่ยนนำ้าตาลกลูโคส
ให้เป็นนำ้าตาลกลูโคสหรือฟรุคโตสเป็นกรดไพรูวิค (pyruvic
acid) กระบวนการนี้เกิดขึ้นในไซโตพลาสซึมของเซลล์ ซึ่ง
เป็นกระบวนการที่ไม่ต้องการออกซิเจน ผลที่ได้คือพลังงานใน
รูป ATP และ NADH
• 2) วัฏจักรเครบส์ เป็นการเปลี่ยนกรดไพรูวิคให้เป็น
คาร์บอนไดออกไซด์ นำ้าและพลังงาน ซึ่งปฏิกิริยาทั้งหมดเกิดใน
ไมโตคอนเดรียของเซลล์ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ออกซิเจน
• 3) ขั้นการถ่ายทอดอิเลคตรอน (Electron
Transportation system)
• พลังงานที่ได้จากกลูโคส 1 โมเลกุลผ่านเข้าวิถีไกลโคไลซีส สู่
วัฏจักรเครบส์จนถึงการถ่ายทอดอิเลคตรอนจะได้พลังงานทั้งสิ้น
38 ATP
2.1.2 การหายใจที่ไม่ใช้ออกซิเจน
• การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนหรือการหมัก (fermentation)
• เกิดขึ้นเมื่อปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอ ปฏิกิริยานี้จะผ่านวิถี
ไกลโคไลซีสเท่านั้น
• ถ้าอยู่ในเซลล์สิ่งมีชีวิตหรือมีเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มแลกติก (lactic
acid bacteria) ในกระบวนการหมักจะทำาให้ได้ผลิตภัณฑ์คือ
กรดแลกติก
• แต่ถ้ามีเชื้อจุลินทรีย์เช่น ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae
จะทำาให้ได้แอลกอฮอล์
• จะพบว่าการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนจะได้พลังงานเพียงแค่
2 ATP
• จะทำาให้การย่อยสลายกลูโคสเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อนำามาใช้
เป็นพลังงาน และเกิดกระบวนการหมักขึ้น
• ผลผลิตจึงพบสารให้กลิ่นจำาพวกแอลกอฮอล์ และเกิดการเสื่อม
เสียรวดเร็ว
2.2 อัตราการหายใจกับอายุการ
เก็บรักษา
• อัตราการหายใจของผักผลไม้ หมายถึง นำ้าหนักหรือปริมาตร
ออกซิเจนที่ใช้
• หรือคาร์บอนไดออกไซด์ที่คายออกมาต่อหน่วยนำ้าหนักของผัก
ผลไม้ต่อเวลา
• หรืออาจเป็นหน่วยของความร้อนที่คายออกมาต่อนำ้าหนักของผล
ไม้ต่อเวลา
อัตราการหายใจกับอายุการเก็บรักษา
• ผักผลไม้แต่ละชนิดจะมีอัตราการหายใจแตกต่างกัน
• บร็อคเคอรี่จะมีอัตราการหายใจสูงกว่ามันฝรั่งถึง 30 เท่า เมื่อวัด
ที่อุณหภูมิเดียวกัน
• ผลผลิตที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่ออ่อน เช่น
ยอด ตา เมล็ดอ่อน หรือพืชที่ยังเจริญไม่เต็มที่ ส่วนพืชที่มีอัตรา
การหายใจตำ่าจะเป็นเนื้อเยื่อสะสมอาหาร เช่น ราก ลำาต้นใต้ดิน
หัว และผลผลิตที่แก่จัด
ผักและผลไม้จำาแนกลักษณะของการหายใจ
หลังเก็บเกี่ยว
ClimactericClimacteric Non-climactericNon-climacteric
กล้วย ขนุน มังคุด
มะละกอ
มะม่วง ทุเรียน
แอปเปิ้ล
น้อยหน่า ฝรั่ง
เสาวรส
มะเขือเทศ เป็นต้น
ชมพู่ เงาะ มะนาว
ส้ม
ลิ้นจี่ ลำาไย สับปะรด
กระเจี๊ยบ
มะม่วงหิมพานต์ เชอ
รี่ มะกอก
แตงกวา พริก เป็นต้น
Climacteric-Non climacteric
• ผลไม้ประเภท climacteric มีอัตราการหายใจ และการสร้าง
เอทธีลีนเพิ่มมากขึ้นพร้อมๆ กับการสุก
• ในขณะที่พวก non-climacteric ซึ่งโดยทั่วไปมีการหายใจ
และการผลิตเอทธีลีนในอัตราที่ตำ่า และไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่การสุก แต่ทั้งนี้อัตราการหายใจของ
ผลิตผลเกษตรนั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจจัยภายในและ
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
ลักษณะของผลไม้ Climacteric และ Non-
climactericClimacteric
1. มักจะสุกและมี
คุณภาพดีเมื่อ นำามา
บ่ม2. สังเคราะห์เอทธิลีน
เป็นจำานวนมากใน
ระหว่างกระบวนการสุก3. ใช้เอทธิลีนกระตุ้น
ให้เกิดการหายใจแบบ
climacteric ใน
ปริมาณตำ่า4. มีการเพิ่มอัตราการ
หายใจเพียง 1 ครั้ง
Non-climacteric
1. สุกอยู่กับต้น
2. สังเคราะห์เอทธิลีน
ได้น้อย
3. เอทธิลีนกระตุ้
นการหายใจ ให้สูง
ขึ้นได้โดยอัตราจะ
ผันแปร ไปตาม
ปริมาณเอทธิลีน
4. การหายใจเพิ่มขึ้น
ได้มากกว่า 1 ครั้งเมื่อ
2
4
3
1
การหายใจของผลไม้ แบบ Climacteric
สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้น
1. Pre-Climacteric เป็นช่วงที่มีการ
หายใจในอัตราที่ตำ่าก่อนที่จะมีการหายใจเพิ่มขึ้น
2. Climacteric rise เป็นช่วงที่การหายใจ
เพิ่มอัตราขึ้นอย่างมาก
3. Climacteric Peak เป็นจุดที่มีอัตรา
การหายใจสูงที่สุด ช่วงนี้ผลไม้จะมีคุณภาพที่
เหมาะสมต่อการบริโภค
4. Post-Climacteric เป็นช่วงหลังจากที่
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้นสูงที่สุดแล้วอัตราการ
หายใจจะลดลง
การหายใจของพืชบางชนิดเมื่อเกิด
climacteric peak
ตารางที่ 2 อัตราการหายใจของผลิตผลเกษตร
บางชนิด
ประเภท
ของอัตรา
การหายใจ
อัตราการ
หายใจที่ 5
๐
C
(mg.CO2/k
g.hr)
ชนิดของผลิตผล
ตำ่ามาก <5 อินทผาลัม ผลไม้เปลือกแข็ง
ต่างๆ เมล็ดพืชชนิดต่างๆ
ตำ่า 5-10 แอปเปิล ส้ม องุ่น แตงโม
สับปะรด แตงฮันนี่ดิว มะละกอ
แครนเบอรี่ หอมหัวใหญ่
กระเทียม
มันเทศ มันฝรั่ง
ปานกลาง 10-20 กล้วย มะม่วง เงาะ ท้อ แตงแคนที่มา: ดัดแปลงจาก Kader, 1992
ประเภทของ
อัตราการ
หายใจ
อัตราการหายใจ
ที่ 5 ๐
C
(mg.CO2/kg.h
r)
ชนิดของผลิตผล
สูง 20-40
น้อยหน่า กะหลำ่าดอก
ผักบุ้งจีน คะน้า ผัก
กาดหอม
สูงมาก 40-60 ถั่วงอก กะหลำ่าดาว
บรอคโคลี่ กระเจี๊ยบ
ถั่วแขก ไม้ตัดดอก
สูงมากมาก >60 ทุเรียน ข้าวโพดฝัก
ตารางที่ 2 อัตราการหายใจของผลิตผลเกษตรบาง
ชนิด
ที่มา: ดัดแปลงจาก Kader, 1992
กลุ่มของ
ผลิตผล  
 ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
1. ผลิตผลที่
กำาลังเจริญ
เติบโต
- มีอัตราการหายใจสูง
- มีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี
มาก
- การสูญเสียนำ้าเป็นปัจจัย
สำาคัญในการเสื่อมคุณภาพ
- บอบบาง เน่าเสียได้ง่าย
- มีการเจริญเติบโตเกิดขึ้น
ตลอดเวลา ซึ่งอาจทำาให้เกิด
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตาม
ความแตกต่างทางสรีรวิทยา   
กลุ่มของ
ผลิตผล  
 ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
2.ผลไม้ที่
บริบูรณ์แล้ว 
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลาย
อย่างตามกระบวนการสุก
เช่น ผลไม้ประเภท climacteric หรือ
ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง
เช่น ผลไม้ประเภท non-climacteric
- อาจจะบอบบาง ชอกชำ้าง่าย เช่น
สตรอเบอรี่ หรือ ค่อนข้าง
ทนทาน เช่น ส้มโอ
- อาจเกิดการเน่าเสียได้ง่าย
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตาม
ความแตกต่างทางสรีรวิทยา   
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตาม
ความแตกต่างทางสรีรวิทยา   
กลุ่มของ
ผลิตผล  
 ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
3.ผลิตผลที่เป็น
ส่วนสะสมอาหาร
และเป็นส่วน
ขยายพันธุ์ 
- มีการหายใจค่อนข้างตำ่า
- ค่อนข้างทนทาน ไม่เสียง่าย  
- การงอกอาจทำาให้เสื่อมสภาพ
ได้ง่าย
กลุ่มของ
ผลิตผล  
 ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
4. เมล็ด -มีการหายใจตำ่ามากทนทาน
เก็บรักษาได้เป็นปี
- ความชื้นในการเก็บรักษาอาจ
เป็นอุปสรรคในการงอก อาจ
ทำาให้เสื่อมสภาพได้ง่าย
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตาม
ความแตกต่างทางสรีรวิทยา   
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหายใจ
• อุณหภูมิ : อุณหภูมิเพิ่มขึ้นอัตราการหายใจสูงขึ้น
ลดอุณหภูมิลดอัตราการหายใจ
• ความบอบชำ้า พืชที่ชำ้ามีอัตราการหายใจสูงขึ้น
พบว่าแครอทที่ชำ้าจะมีอัตราการหายใจ
สูงขึ้นถึง 5 เท่า
แต่มีข้อยกเว้นกับผลไม้บางชนิด เช่น
แอปเปิล แม้ว่าจะชำ้าแต่ก็ไม่มีผลต่ออัตรา
การหายใจมากนัก
• การปอกเปลือก พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลันเตาที่แกะจากฝักแล้ว
พบว่ามีอัตราการหายใจสูงขึ้น แต่ถั่วบางชนิดไม่เป็นเช่นนี้
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
หายใจ
• การงอก เนื้อเยื่อที่มีการงอกจะมีอัตราการหายใจสูงขึ้น
• สภาพบรรยากาศ
การลดปริมาณออกซิเจน
เพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
สามารถลดอัตราการหายใจได้
2.4 การลดอัตราการหายใจ
• การลดอุณหภูมิ
• การดัดแปลงหรือควบคุมบรรยากาศในการเก็บรักษา
• การหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเอทธิลีน การใช้สารดูดซับเอทธิลีน เช่น
ด่างทับทิม
3.2 การผลิตก๊าซเอทิลีน (ethylene
production)
• เอทธิลีนเป็นก๊าซอินทรีย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยา
ของพืช
• ความเข้มข้นตำ่า มีผลต่อการเสื่อมสลาย (senescence)และการ
สุก
• อัตราการสังเคราะห์เอทธิลีนจะเพิ่มขึ้นเมื่ออยู่ในช่วงสุก ผลิตผล
ที่เกิดบาดแผล ชำ้าและเป็นโรค
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา
(physiological disorder)
• Freezing injury เกิดขึ้นเมื่อผลผลิตได้รับอุณหภูมิตำ่ากว่า
จุดเยือกแข็งของผลิตผลนั้น อาการจะแสดงเมื่อผลนั้นกลับมาสู่
อุณหภูมิปกติ ลักษณะที่พบคือ ฉำ่านำ้า สีไม่สด เป็นต้น
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา
(physiological disorder)
• Chilling injury หรือ อาการสะท้านหนาว มักเกิดกับพืชเมือง
ร้อนที่ได้รับอุณหภูมิตำ่า (แต่สูงกว่าจุดเยือกแข็ง) โดยทั่วไปพบที่
อุณหภูมิตำ่ากว่า 5-15 องศาเซลเซียส
• อาการที่พบคือ สีที่เปลือกนอกและภายในเปลี่ยนแปลงคือ ฉำ่านำ้า
บ่มไม่สุก รสชาติผิดปกติ อ่อนแอต่อการเข้าทำาลายของเชื้อ
จุลินทรีย์
รูปที่ 2.8 การเกิด Chilling Injury ในกล้วย
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา
(physiological disorder)
• Heat injury การสะสมของความร้อน เช่นได้รับแสงอาทิตย์ที่แรง
เกินไป หรืออุณหภูมิสูงมาก จะทำาให้ผลผลิตมีผิวมีสีซีด ผิวเกิดรอย
ไหม้ หรือลวก สุกไม่สมำ่าเสมอ อ่อนนิ่ม ผิวแห้ง เป็นต้น
• สับปะรดจะพบอาการฉำ่านำ้า (water soaked) และใสเป็นแก้ว
(glassy) อาจมีนำ้าเยิ้มออกมา
• กล้วยจะมีลักษณะนิ่ม เป็นสีนำ้าตาล และนำ้าเยิ้ม
• มะเขือเทศจะเกิดเป็นรอยที่ใสเป็นแก้วและอ่อนนิ่มมาก

More Related Content

What's hot

เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellkasidid20309
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 

What's hot (18)

เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Cell
CellCell
Cell
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
Proteins and nucleic acids
Proteins  and nucleic acidsProteins  and nucleic acids
Proteins and nucleic acids
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 

Viewers also liked

Workshop ict inclusief publiversie
Workshop ict inclusief publiversieWorkshop ict inclusief publiversie
Workshop ict inclusief publiversieJan De Craemer
 
Telling the time
Telling the timeTelling the time
Telling the timeAwwaly Boor
 
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)siulollitsac
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4Gawewat Dechaapinun
 
2015 Player Personnel-Scouting Portfolio
2015 Player Personnel-Scouting Portfolio2015 Player Personnel-Scouting Portfolio
2015 Player Personnel-Scouting PortfolioRashad Elby
 
NJ Future Redevelopment Forum 2017 Goldberg
NJ Future Redevelopment Forum 2017 GoldbergNJ Future Redevelopment Forum 2017 Goldberg
NJ Future Redevelopment Forum 2017 GoldbergNew Jersey Future
 
Nano technology 7 smnr report
Nano technology 7 smnr reportNano technology 7 smnr report
Nano technology 7 smnr reportRameez Raja
 

Viewers also liked (12)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Workshop ict inclusief publiversie
Workshop ict inclusief publiversieWorkshop ict inclusief publiversie
Workshop ict inclusief publiversie
 
Telling the time
Telling the timeTelling the time
Telling the time
 
Smsrt sity
Smsrt sitySmsrt sity
Smsrt sity
 
Our film pitch
Our film pitchOur film pitch
Our film pitch
 
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)
02- Editar títulos y agregar contenidos (Profesores)
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 4
 
2015 Player Personnel-Scouting Portfolio
2015 Player Personnel-Scouting Portfolio2015 Player Personnel-Scouting Portfolio
2015 Player Personnel-Scouting Portfolio
 
DESARROLLO DE UNA IDEA
DESARROLLO DE UNA IDEADESARROLLO DE UNA IDEA
DESARROLLO DE UNA IDEA
 
NJ Future Redevelopment Forum 2017 Goldberg
NJ Future Redevelopment Forum 2017 GoldbergNJ Future Redevelopment Forum 2017 Goldberg
NJ Future Redevelopment Forum 2017 Goldberg
 
Nano technology 7 smnr report
Nano technology 7 smnr reportNano technology 7 smnr report
Nano technology 7 smnr report
 

Similar to เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2

เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจssuser48f3f3
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 

Similar to เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2 (20)

2
22
2
 
2
22
2
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
Energy flow1
Energy flow1Energy flow1
Energy flow1
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2