SlideShare a Scribd company logo
1 of 146
Download to read offline
กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ลมฟ้าอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Earth’s original atmosphere was probably just hydrogen and helium,
because these were the main gases in the dusty, gassy disk around the
Sun from which the planets formed. The Earth and its atmosphere were
very hot. Molecules of hydrogen and helium move really fast, especially
when warm. Actually, they moved so fast they eventually all escaped
Earth's gravity and drifted off into space.
Earth’s “second atmosphere” came from Earth itself. There were lots of
volcanoes, many more than today, because Earth’s crust was still
forming. The volcanoes released steam (H2O), carbon dioxide (CO2),
ammonia (NH3).
The origin of earth’s atmosphere
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Much of the CO2 dissolved into the oceans. Eventually, a
simple form of bacteria developed that could live on energy
from the Sun and carbon dioxide in the water, producing
oxygen as a waste product. Thus, oxygen began to build up
in the atmosphere, while the carbon dioxide levels continued
to drop. Meanwhile, the ammonia molecules in the
atmosphere were broken apart by sunlight, leaving nitrogen
and hydrogen. The hydrogen, being the lightest element,
rose to the top of the atmosphere and much of it eventually
drifted off into space.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Schlatter, 2009 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
แก๊สที่เป็นองค์ประกอบหลัก
เกิดขึ้นจากการสลายตัวของแร่
ธาตุในเปลือกโลก แต่เมื่ออะตอม
เดี่ยวของมันแยกออกมาจะรวมเข้า
เป็นองค์ประกอบของสารอื่น
เป็นผลผลิตจากการสังเคราะห์แสง
ของพืช แพลงตอนพืช และสาหร่าย
สีเขียว
เป็นแก๊สเฉื่อยไม่ทาปฏิกิริยากับ
ธ า ตุ อื่ น เกิ ด ขึ้ น จา ก ก า ร
สลายตัว ของธาตุ K ภายในโลก
เป็นแก๊สที่มีอยู่ในบรรรยากาศแต่
ดั้ ง เ ดิ ม น้ า ฝ น แ ล ะ พื ช ต รึ ง
คาร์บอนไดออกไซด์ลงมาบนพื้นดิน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Sources
and
Concentrations
of
Major
Greenhouse
Gases
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
องค์ประกอบ
ผันแปร
Aerosols
เมื่อน้าเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปสู่
อีกสถานะ จะเกิดการดูดกลืนและ
คายความร้อนแฝงทาให้เกิดพายุ
ไอน้าเป็นแก๊สเรือนกระจก
เช่นเดียวกับ CO2 ทาให้พื้นผิวโลก
ไม่ร้อนหรือหนาวจนเกินไป
กรอง UV แต่เนื่องจากโอโซน
เป็นพิษต่อร่างกาย หากมี
โอโซนเกิดขึ้นในชั้นโทรโพส
เ ฟี ย ร์ ( มั ก เ กิ ด ขึ้ น จ า ก
เครื่องยนต์ และโรงงาน) ก็จะ
ทาให้เกิดมลภาวะ
อนุภาคขนาดเล็กที่ลอยค้างอยู่
ในอากาศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดย
ธรรมชาติหรือฝีมือมนุษย์ ทา
หน้าที่เป็นแกนให้ละอองน้าจับ
ตัวกัน ละอองอากาศสามารถ
ดูดกลืนและสะท้อนแสงอาทิตย์
ทาให้เกิด Light scattering
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
(World Meteorological Organization : WMO) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Vertical profile of temperature
Exosphere Thermosphere Mesosphere Stratosphere Troposphere
มี ไ อ น้ า ม ห า ศ า ล
ก่อให้เกิดเมฆ หมอก
พายุ และฝน อุณหภูมิ
ลดลงตามความสูงจาก
ผิวโลกโลก มีความ
หนาแน่นของอากาศสูง
ที่สุด
มีไอน้าเล็กน้อย ไม่มี
เมฆ อากาศมีการ
เคลื่อนตัวอย่าวช้าๆ จึง
เหมาะกับการเดินทาง
ทางอากาศ แก๊สสาคัญ
ในชั้นนี้ คือ แก๊สโอโซน
ซึ่งช่วยดูดซับรังสี UV
จ า ก ด ว ง อ า ทิ ต ย์
อุณหภูมิของชั้นนี้อยู่
ระหว่าง -60 ถึง 10
องศาเซลเซียส โดย
อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเมื่อ
ระดับความสูงเพิ่มขึ้น
มีอากาศเบาบางมาก
แต่ก็มากพอที่จะทาให้
ดาวตกเกิดการเผาไหม้
และเป็นชั้นที่ช่วยดูดซับ
รังสี UV จากดวง
อาทิตย์ อุณหภูมิในชั้นนี้
จะลดลงมาอยู่ที่ -120
องศาเซลเซียส
มีอากาศเบาบางมากกว่า
ชั้นมีโซสเฟียร์ แต่เป็นชั้น
หลักที่ช่วยดูดซับรังสี UV
จากดวงอาทิตย์ ทาให้มี
อุณหภูมิในชั้นนี้มากถึง
2,000 องศาเซลเซียส ที่
ระดับความสูง 700 กม.
อนุภาคในชั้นนี้เป็นอนุภาค
ที่มีประจุไฟฟ้าที่เรียกว่า
"อิออน" ที่เกิดจากการแตก
ตัว เมื่ออนุภาคในสภาวะ
ป ก ติ ถู ก ก ร ะ ตุ้ น ด้ ว ย
รังสี UV จากดวงอาทิตย์
อิ อ อ น เ ห ล่ า นี้ จ ะ มี
คุ ณ ส ม บั ติ ส ะ ท้ อ น
คลื่นวิทยุได้ จึงเป็นชั้นที่ใช้
ส่งสัญญาณวิทยุสื่อสาร
รวมถึงการเกิดแสงเหนือ
และแสงใต้ หรือ "ออโรรา"
อากาศค่อยๆ เจือจาง
ล ง เ มื่ อ ค ว า ม สู ง
เพิ่มขึ้น และเจือจาง
จนเข้าสู่อวกาศ
"Aurora Borealis"
แปลว่า "แสงเหนือ"
(Northern Light) ส่วน
"Aurora Australis"
แปลว่า "แสงใต้"
(Southern Light) และ
คาว่า "Aurora Polaris"
แปลว่า "แสงขั้วโลก"
ใช้เรียกทั้งแสงเหนือ
และแสงใต้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Schlatter, 2009 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Schlatter, 2009
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Schlatter, 2009
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Ozone is Earth’s natural sunscreen, shielding
life from dangerous solar ultraviolet
radiation. Human-produced chemicals in our
atmosphere—such as chlorofluorocarbons
(CFCs), used for many years as refrigerants
and in aerosol spray cans—have depleted the
Earth’s ozone layer. Scientists first recognized
the potential for harmful effects of CFCs on
ozone in the early 1970s. In the 1980s,
governments around the world woke up to
the destruction of the ozone layer and in
1987 negotiated the Montreal Protocol—an
international treaty designed to protect the
ozone layer by banning CFCs and similar
ozone-depleting chemicals.
The Antarctic Ozone Hole
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปรับอุณหภูมิ
กั้นอุกกาบาต
ดูดรังสี UV เอาไว้
หน้าที่ของบรรยากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
อุณหภูมิอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
อุณหภูมิอากาศ (Air temperature) เป็นปัจจัยพื้นฐานในการศึกษาสภาพอากาศ (weather)
เนื่องจากอุณหภูมิอากาศมีเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา เช่น ปี ฤดูกาล เดือน วัน หรือแม้กระทั่งราย
ชั่วโมง นักอุตุนิยมวิทยาจึงศึกษาค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิอากาศ ดังนี้
Daily mean temperature
Monthly mean temperature
Yearly mean temperature
ค่าอุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิต่าสุดรวมกันแล้วหารสอง
ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิของแต่ละวันรวมกัน แล้วหารด้วยจานวนวัน
ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิของแต่ละเดือนรวมกัน แล้วหารด้วยสิบสอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เทอร์มอมิเตอร์ (Thermometer) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิ เป็นเทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้ในการศึกษาสภาพอากาศ
เรียกว่า “เทอร์มอมิเตอร์ชนิดสูงสุด-ต่าสุด” (Max-min thermometer) ซึ่งสามารถวัดค่าอุณหภูมิสูงสุดและ
ต่าสุดในรอบวัน กราฟอุณหภูมิอากาศในรอบวันในภาพ แสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิสูงสุดมักเกิดขึ้นตอนบ่าย มิใช่ตอน
เที่ยง ทั้งนี้เนื่องจากพื้นดินและบรรยากาศต้องการอาศัยเวลาในดูดกลืนและคายความร้อน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
maximum air temperature
---> 14.00 – 16.00 น.
minimum air temperature
---> 05.00 – 06.00 น.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Earth’s energy budget
4% 20%
19%
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปัจจัยที่ทาให้
อุณหภูมิอากาศ
เปลี่ยนแปลง
พื้นดินและพื้นน้า ความสูงของพื้นที่ เส้นรุ้งหรือละติจูด
โคจรรอบดวงอาทิตย์ ภูมิประเทศ ปริมาณเมฆ สะท้อนแสงของผิวโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ความกดอากาศและลม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ความดันอากาศ (air pressure) : แรงที่อากาศกระทาต่อพื้นที่ 1 ตารางหน่วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Atmospheric
pressure
ระดับความสูงอ้างอิง คือ ระดับน้าทะเล มีค่า 0 เมตร ((Max + Min) ÷ 2)
Pทะเล = 101,325 Pa หรือ 101 kPa * 1 Pa = 1 N/m2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ
ในระบบปิดและระบบเปิดอุณหภูมิมีผลต่อความ
ดันเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
บอลลูนอยู่ในอากาศได้อย่างไร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ
1. ความหนาแน่น
2. ระดับความสูง
3. อุณหภูมิ
- ความกดอากาศสูง (H)
- ความกดอากาศต่า (L)
การวัดความดันบรรยากาศ (ระดับน้าทะเล)
* วัดความสูงของน้า : 1 atm = 10 m
* วัดความสูงของปรอท : 1 atm = 760 mm --> mmHg
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
มีข้อแนะนาสาหรับนักปีนเขาว่าไม่ควรเปลี่ยนแปลงระดับความสูงเกิน
500 เมตรต่อวัน เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
บุคคลกลุ่มใดบ้างได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความดัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Barometer, device used to measure atmospheric pressure.
Atmospheric pressure at sea level is about 14.7 pounds per square inch,
equivalent to 30 inches (760 millimetres) of mercury, 1,013.2 millibars, or
101,320 pascals.
Mercury Barometer
*ที่ระดับน้าทะเลมีความดัน 1 atm --> ดันปรอทสูงขึ้น 76 cm
*ใช้คานวณหาระดับความสูงได้ ความสูงทุกๆ 11 m ระดับของปรอทจะลดลง 1 mm
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ยอดเขา G วัดความดันอากาศ
ได้ 680 mmHg จงหา
ความสูงจากระดับน้าทะเลของ
ยอดเขานี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
An aneroid barometer is an instrument for measuring pressure
as a method that does not involve liquid. Invented in 1844 by
French scientist Lucien Vidi, the aneroid barometer uses a small,
flexible metal box called an aneroid cell (capsule), which is made
from an alloy of beryllium and copper.
Aneroid barometer
ประกอบด้วยตลับโลหะ ฝาตลับบุบขึ้นลงตามความ
ดันอากาศ ภายนอกตอนบนของฝาตลับมีสปริง ซึ่ง
ต่อไปที่คานและเข็มที่ชี้ไปบนหน้าปัดที่ซึ่งมีตัวเลข
แสดงความดันอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Aneroid barograph
เป็นเครื่องมือวัดความดันอากาศแบบแอนิ
ร อ ย ด์ แ ต่ ใ ช้ บั น ทึ ก ค ว า ม ดั น อ า ก า ศ
แบบต่อเนื่อง โดยแกนที่ขึ้นลงตามการบุบ
ของตลับโลหะจะไปดันเข็มชี้ให้ปลายเข็ม
เลื่อนขึ้นลงบนกระดาษกราฟที่หมุนอยู่
ตลอดเวลา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ใช้หลักการแบบแอนิรอยด์มิเตอร์ แต่ปรับหน้าปัดให้อ่านระดับความสูงได้ด้วย ใช้
สาหรับวัดความสูงในเครื่องบิน หรือเครื่องติดตัวนักโดดร่มเพื่อบอกระดับความสูง
Altimeter
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Electronic barometer
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ลม (wind)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวราบหรือแนวนอน เกิดจาก convection ของอากาศ ทาให้
เกิดการเคลื่อนตัวของอากาศ
อากาศร้อน
เมฆ ฝน
ความแห้งแล้ง
แนวตั้ง
แนวราบ
ความกด
อากาศสูง
ความกด
อากาศต่า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ลมบก
(Land breeze)
ลมทะเล
(Sea breeze)
10.00 น. – 13.00 น.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ลมหุบเขา
(Valley breeze)
ลมภูเขา
(Mountain breeze)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
อัตราเร็วลม (wind speed)
ระยะทางที่ลมเคลื่อนที่ในเวลาหนึ่งๆ หน่วย m/s, km/hr, knot
ปัจจัยที่ผลต่อการเคลื่อนที่ของลม
1. ความแตกต่างของความกดอากาศ
2. ระยะห่างระหว่าง 2 บริเวณ
3. ลักษณะของพื้นที่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เครื่องวัดลม
Wind vane Anemometer Aerovane
ลมพัดลูกศรอยู่ใน
แนวเดียวกันกับลม
จานวนรอบที่หมุนสัมพันธ์
กับอัตราเร็วลม
บอกทั้งความเร็วและ
ทิศทางลม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Make an anemometer. Mark one of the cups. Hold the device in the wind.
Count the amount of spins per minute. Calculate the average wind speed.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ความชื้นอากาศ
(Humidity)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ความชื้น (Humidity) คือ ปริมาณไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ ความชื้นของอากาศมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความดันและอุณหภูมิ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณของไอน้าในอากาศขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศ
* อากาศร้อนสามารถเก็บไอน้าได้มากกว่าอากาศเย็น
* อุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดๆ หนึ่งที่ทาให้เกิด Saturated air
หรืออากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ 100%
* หากอุณหภูมิลดต่าลงอีก ไอน้าจะควบแน่นเรียกว่า Dew point
* จุดน้าค้างของอากาศชื้นย่อมมีอุณหภูมิสูงกว่าจุดน้าค้างของอากาศแห้ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
condensation
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Humidity
Relative humidity Absolute humidity
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เครื่องมือในการวัดความชื้นอากาศ
Wet and dry hygrometer
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เครื่องมือในการวัดความชื้นอากาศ
Hair hygrometer
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
อากาศปริมาตร 20 m3 มีไอน้าอยู่ 1,600 g ที่อุณหภูมิ 30 °c ถ้าอากาศที่อุณหภูมิเดียวกันมี
ปริมาณไอน้าอิ่มตัวที่ 167 g/m3 จงหาความชื้นสัมบูรณ์ และความชื้นสัมพัทธ์
ในห้องขนาด 250 ลูกบาศก์เมตร มีความชื้นสัมบูรณ์ 30 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในห้องนั้นจะมี
มวลของไอน้าในอากาศเท่าใด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
60% ความชื้นที่เหมาะสมกับการดารงชีวิต
< 60% อากาศแห้งผิวแห้งแตก
> 60% จะทาให้อากาศร้อนและมีเหงื่อเหนียวอึดอัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมฆและฝน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
http://www.sattmet.tmd.go.th/satmet/mergesat.html
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
นักเรียนลองสังเกตดูสิ...
อากาศเย็นมีความสามารถเก็บไอน้าได้น้อยกว่าอากาศร้อน เมื่อ
อุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงจุดน้าค้าง อากาศจะอิ่มตัวไม่
สามารถเก็บไอน้าได้มากกว่านี้ หากอุณหภูมิยังคงลดต่าไปอีก ไอ
น้ า จ ะ ค ว บ แ น่ น เ ป ลี่ ย น ส ถ า น ะ เ ป็ น ข อ ง เ ห ล ว
อย่างไรก็ตามนอกจากปัจจัยทางด้านความดันและ
อุณหภูมิแล้ว การควบแน่นของไอน้ายังจาเป็นจะต้อง
มี “พื้นผิว” ให้หยดน้า (Droplet) เกาะตัว ยกตัวอย่างเช่น เมื่อ
อุณหภูมิของอากาศบนพื้นผิวลดต่ากว่าจุดน้าค้าง ไอน้าในอากาศ
จะควบแน่นเป็นหยดน้าเล็กๆ เกาะบนใบไม้ใบหญ้าเหนือพื้นดิน บน
อากาศก็เช่นกัน ไอน้าต้องการอนุภาคเล็กๆ ที่แขวนลอยอยู่ใน
อากาศเป็น “แกนควบแน่น” (Condensation nuclei) แกน
ควบแน่นเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติในการดูดซับน้า (Hygroscopic)
ดังเช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้ หรืออนุภาคเกลือ ซึ่งมีขนาด
ประมาณ 0.0002 มิลลิเมตร หากปราศจากแกนควบแน่นแล้ว ไอ
น้าบริสุทธิ์ไม่สามารถควบแน่นเป็นของเหลวได้ ถึงแม้จะมีความชื้น
สัมพัทธ์มากกว่า 100% ก็ตาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมฆก้อน = Cumulus เมฆแผ่นว่า = Stratus
เมฆก้อนลอยชิดติดกัน = Stratocumulus เมฆก้อนที่มีฝนตกว่า = Cumulonimbus
เมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า Nimbostratus
* High Clouds Cirro - (6 km↑) ---> Cirrocumulus, Cirrostratus, Cirrus
* Middle Clouds Alto - (2 – 6 km) ---> Altocumulus, Altostratus
* Low Clouds Stratus, Stratocumulus, Nimbostratus, Cumulus, Cumulonimbus
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Nimbostratus Cumulonimbus
Cumulus กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Cirrocumulus Altocumulus
Cirrus
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Cirrus ---> อากาศดี ท้องฟ้าแจ่มใส
Nimbostratus ---> อาจเกิดฝนพราๆ
Cumulonimbus ---> อาจเกิดฝนตกหนักในเวลาอันใกล้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
“เมฆ” เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการยกตัวของอากาศเท่านั้น กลไกที่ทาให้เกิดการเคลื่อน
ตัวของอากาศในแนวดิ่งเช่นนี้ มี 4 กระบวนการ
สภาพภูมิประเทศ (terrain)
การเกิดเมฆจากแนวปะทะของอากาศ
(cold front / warm front)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมฆจาก อากาศบีบตัว (convergence) เมฆ จากการพาความร้อน (thermal)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมฆจากการพาความร้อน (thermal)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณเมฆปกคลุม คือ ปริมาณเมฆทั้งหมดที่ปกคลุมทั่วท้องฟ้า
--> ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ที่ถูกสะท้อนหรือดูดซับไว้ก่อนที่จะมาถึงพื้นผิวโลก
--> ปริมาณรังสีจากพื้นผิวโลกที่จะถูกสะท้อนกลับหรือดูดซับไว้ก่อนที่จะกลับสู่อวกา
ปริมาณเมฆ
ปกคลุม
ค่าประมาณปริมาณเมฆปก
คลุมของพื้นที่ทั้งหมด
ไม่มีเมฆ
(No clouds)
ไม่มีเมฆปกคลุม
ไม่สามารถมองเห็นได้
ท้องฟ้าแจ่มใส
(Clear clouds)
น้อยกว่า 10%
เมฆบางส่วน
(Isolated clouds)
10% - 25%
เมฆกระจัดกระจาย
(Scattered clouds)
25% - 50%
เมฆหย่อมๆ
(Broken clouds)
50% - 90%
เมฆครึ้ม
(Overcast clouds)
มากกว่า 90%
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ลูกเห็บ (Hail)
ก้อนน้าแข็งขนาดใหญ่กว่า 5 cm
เกิดขึ้นจากกระแสในอากา แนวดิ่ง
ภายในเมฆ cumulonimbus พัด
ให้ผลึกน้าแข็งสะสมตัวจนมีขนาด
ใหญ่
ละอองหมอก (Mist)
หยดน้าขนาด 0.005 – 0.05 mm
เกิด stratus มักพบบนยอดเขาสูง
ฝนละออง (Drizzle)
หยดน้าขนาด <0.5 mm
เกิดจาก stratus พบเห็น
บ่อยบนยอดเขาสูง ตก
ต่อเนื่องนานหลายชั่วโมง
ฝน (Rain)
หยดน้ามีขนาดประมาณ 0.5 – 5 mm
ฝ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ต ก ล ง ม า จ า ก
nimbostratus และ cumulonimbus
หิมะ (Snow)
ผ ลึ ก น้ า แ ข็ ง ข น า ด
ประมาณ 1 – 20 mm
เกิดจากไอน้าจากน้าเย็น
ยิ่งยวด ระเหิดกลับเป็น
ผลึกน้าแข็ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ในก้อนเมฆทั่วไป หยดน้าเล็กๆ มีขนาดเท่ากันและตกลงมาอย่างช้าๆ ด้วยความเร็วเดียวกัน หยดน้าเหล่านั้นจึงไม่มีโอกาสที่จะชน
หรือรวมตัวกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้นได้เลย แต่ภายในเมฆก่อตัวในแนวตั้ง เช่น เมฆคิวมูโลนิมบัสจะมีหยดน้าหลายขนาด หยดน้าขนาด
ใหญ่จะตกลงมาด้วยความเร็วที่มากกว่าหยดน้าขนาดเล็ก จึงชนและรวมตัวกับหยดน้าขนาดเล็กที่อยู่เบื้องล่าง ทาให้เกิดการสะสมตัว
จนมีขนาดใหญ่ขึ้น เรียกกระบวนการนี้ว่า “กระบวนการชนและรวมตัวกัน” (Collision – coalescence process)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
“น้าเย็นยิ่งยวด” (Supercooled water) น้าเย็นยิ่งยวดจะเปลี่ยนสถานะ
เ ป็ น ข อ ง แ ข็ ง ไ ด้ ก็ ต่ อ เ มื่ อ ก ร ะ ท บ กั บ วั ต ถุ ข อ ง แ ข็ ง อ ย่ า ง
ทันทีทันใด ยกตัวอย่าง เมื่อเครื่องบินเข้าไปในเมฆชั้นสูง ก็จะเกิดน้าแข็งเกาะ
ที่ชายปีกด้านหน้า การระเหิดกลับเช่นนี้ (Deposition) จาเป็นจะต้องอาศัย
แกนซึ่งเรียกว่า “แกนน้าแข็ง” (Ice nuclei) เพื่อให้ไอน้าจับตัวเป็นผลึก
น้าแข็ง ในก้อนเมฆมีน้าครบทั้งสามสถานะ คือ น้าแข็ง หยดน้า และไอน้า
และมีแรงดันไอน้าที่แตกต่างกัน ไอน้าระเหยจากละอองน้าโดยรอบ แล้ว
ระเหิดกลับรวมตัวเข้ากับผลึกน้าแข็งอีกทีหนึ่ง ทาให้ผลึกน้าแข็งมีขนาดใหญ่
ขึ้น เราเรียกกระบวนการนี้ว่า “กระบวนการเบอร์เจอรอน” (Bergeron
process)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณน้้าฝน (rainfall amount)
เครื่องวัดฝน (rain gauge)
เครื่องวัดแบบอนาล็อก
(manual)
เครื่องมือวัดแบบไซฟ่อน
(siphon rain gauge)
เครื่องวัดแบบดิจิตอล
(Tipping rain gauge)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
PC vs Smartphone application
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณฝน ปริมาณฝนที่ตรวจวัดได
้
ฝนเล็กน
้อย (Light rain) 0.1 – 10.0 mm
ฝนปานกลาง (Moderate rain) 10.1 – 35.0 mm
ฝนหนัก (Heavy rain) 35.1 – 90.0 mm
ฝนหนักมาก (Very heavy rain) 90.1 mm ขึ้นไป
* > 100 mm --- เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มและน้าป่าไหลหลาก
* ละอองน้าในเมฆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 μm
* หยดน้าฝน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2,000 μm
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือนของประเทศไทยมีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดเท่าใด
และตรงกับเดือนอะไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ปริมาณฝนเฉลี่ยมากที่สุดและน้อยที่สุดในรอบปีเกิดในภาคใด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
พื้นที่ที่นักเรียนอาศัยอยู่มีปริมาณฝนมากที่สุด
ในช่วงเดือนใด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อปริมาณฝน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เหตุใดเมฆที่อยู่ระดับสูงจึงประกอบด้วยผลึกน้าแข็งทั้งหมด
ในวันที่ปริมาณไอน้าในอากาศสูง เมฆที่พบน่าจะมีลักษณะอย่างไร
ในวันที่มีลมแรง ปริมาณเมฆปกคลุมน่าจะเป็นอย่างไร
เหตุใดจึงบอกปริมาณน้าฝนโดยใช้หน่วยวัดความยาว เช่น มิลลิเมตรหรือนิ้ว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Global Precipitation Measurement (GPM) Mission
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การพยากรณ์อากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การพยากรณ์อากาศ (Weather forecast) คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาประยุกต์ใช้ ในการพยากรณ์ลักษณะของอากาศในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
สาหรับหน่วยงานที่มีความสาคัญในงานด้านการพยากรณ์อากาศของไทย คือ
กรมอุตุนิยมวิทยา สังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ส่วนหน่วยงานที่มี
ความสาคัญในงานด้านการพยากรณ์ อากาศของโลก คือ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World
Meteorological Organization; WMO)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การที่เราจะพยากรณ์อากาศได้จะต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 อย่าง
1) ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์และกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ
2) ทราบสภาวะอากาศในปัจจุบัน
3) สามารถนาองค์ประกอบทั้งสองอย่างมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อคาดหมายการเปลี่ยนแปลง ของ
บรรยากาศที่จะเกิดขึ้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
อุณหภูมิ
อากาศ
ความกด
อากาศ
ความชื้น
ลม
เมฆ
หยาด
น้าฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การตรวจอากาศ
สื่อสารและรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลและ
การสร้างคาพยากรณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
วิธีการพยากรณ์อากาศ
มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศในตอนนั้น แต่โดยทั่วไปนักพยากรณ์อากาศจะนาวิธีหลายวิธีมาใช้ร่วมกันตาม
ความเหมาะสม
1) การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีแนวโน้ม
การพยากรณ์แนวโน้มของอากาศว่าจะไปในทิศทางใดโดยอาศัยข้อมูลจากทิศทางและความเร็วของ
ระบบลมฟ้าอากาศ แล้วคาดหมายว่าต่อไประบบดังกล่าวจะเป็นอย่างไร วิธีการนี้เหมาะสมกับระบบลมฟ้า
อากาศที่มีความเร็ว ทิศทาง และความรุนแรงที่แน่นอน และนิยมใช้พยากรณ์ฝนล่วงหน้าในเวลาไม่เกิน 30 นาที
2) การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีภูมิอากาศ
การนาค่าเฉลี่ยสถิติของภูมิอากาศที่เคยเกิดขึ้นมาหาแนวโน้มว่าภูมิอากาศในอนาคตจะเป็นอย่างไร ใช้
พยากรณ์แนวโน้มของอากาศในช่วงเวลาเดียวกันของปีถัดๆ ไป โดยมีเงื่อนไขคือ สภาวะอากาศจะต้องใกล้เคียง
กับสภาวะปกติของช่วงฤดูกาลนั้น วิธีการนี้ใช้พยากรณ์อากาศในระยะยาว
3) การพยากรณ์อากาศด้วยคอมพิวเตอร์
การคานวณการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับลมฟ้าอากาศ โดยใช้แบบจาลองเชิงตัวเลข
(Numerical model) ซึ่งเป็นการจาลองพื้นผิวและบรรยากาศของโลก ข้อเสียของวิธีการนี้คือ แบบจาลองที่ได้ไม่มี
ความละเอียดเหมือนธรรมชาติจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การตรวจอากาศ
การตรวจอากาศ คือ การตรวจวัดอากาศเพื่อนา
ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการพยากรณ์อากาศ การตรวจ
อากาศจะตรวจกันทุกชั่วโมงหรือบ่อยกว่านั้น และทา
ติดต่อกันไปเรื่อยๆ เพื่ออัพเดตข้อมูลให้ทันต่อสภาพ
อากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลที่ได้
จากการตรวจอากาศจะนามาทาการวิเคราะห์ จัดทา
เป็นแผนที่อากาศ แล้วนามาใช้ในการพยากรณ์
อากาศต่อไป ข้อมูลที่ได้จากการตรวจอากาศ
เรียกว่า ข้อมูลตรวจอากาศ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2
อย่าง
ข้อมูลตรวจอากาศผิวพื้น
(Surface observation)
ข้อมูลการตรวจอากาศชั้นบน
(Upper-air observation)
เครื่องมือตรวจอากาศพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การตรวจอากาศผิวพื้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การตรวจอากาศชั้นบน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Theodolite Radiosonde
Pilot balloon
Rawinsonde
กล้องทีโอโดไลท์ (Theodolite) ใช้ติดตาม
การเคลื่อนที่ของบอลลูนที่ส่งขึ้นไป เพื่อนา
ค่าความเร็วการลอยของบอลลูนและค่ามุม
เงยมาคานวณหาทิศทางและความเร็วลม
ในระดับความสูงต่างๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
1) เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องส่งวิทยุที่ประกอบไปด้วยเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ความกด
อากาศ และความชื้นสัมพัทธ์ โดยจะถูกส่งขึ้นไปสู่ชั้นบรรยากาศพร้อมกับบอลลูน แล้วส่งข้อมูลที่ได้กลับมาทาง
สัญญาณวิทยุ
2) เครื่องเรวิน (Rawinsonde) เป็นเครื่องวิทยุหยั่งอากาศขนาดเล็กใช้ควบคู่กับกล้องทีโอโดไลท์ในการ
ตรวจวัดทิศทางและความเร็วลม ส่งสัญญาณในช่วงความถี่ 403 MHz
3) เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot balloon) เป็นการปล่อยบอลลูนสีต่างๆ ขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ ใช้ตรวจวัด
ทิศทางและความเร็วลมควบคู่กับกล้องทีโอโดไลท์ สีของบอลลูนที่ปล่อยขึ้นไปจะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ เช่น
บอลลูนสีขาว ใช้เวลาที่ท้องฟ้าโปร่ง อากาศแจ่มใส บอลลูนสีเหลือง ส้ม หรือแดง ใช้เวลาที่มีเมฆกระจายเต็ม
ท้องฟ้า เห็นท้องฟ้าเป็นสีขาวหรือเทา และบอลลูนสีน้าเงินหรือดา ใช้เวลาที่เมฆมาก โดยเฉพาะเมฆชั้นต่าหรือ
เมฆชั้นกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เครื่องมือตรวจอากาศพิเศษ
การตรวจอากาศด้วยดาวเทียม
ดาวเทียมที่ใช้ตรวจอากา เรียกว่า ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Weather satellite)
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาค้างฟ้า
(geostationary meteorological satellite)
เช่น MTSAT-1R ของประเทศญี่ปุ่น
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาที่โคจรผ่านขั้วโลก
(polar orbiting satellite)
เช่น NOAA-19 ของสหรัฐอเมริกา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
1) ให้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาได้เป็นบริเวณกว้าง
2) สามารถเข้าถึงในที่ที่ไม่มีสถานีตรวจอากาศ
3) ติดตามความเป็นไป และคานวณตาแหน่งล่วงหน้าของพายุหมุนเขตร้อนได้
4) ติดตามการเปลี่ยนแปลงของเมฆ
5) ใช้คานวณอุณหภูมิของอากาศและอุณหภูมิจุดน้าค้างที่ความสูงระดับต่างๆ
6) ใช้คานวณหาปริมาณน้าฝนโดยประมาณ
ประโยชน์ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
หลักการทางานของเรดาร์ (Radar) คือ การส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกไป เมื่อคลื่นไปกระทบกับวัตถุจะ
สะท้อนกลับมา จากนั้นนาสัญญาณที่ได้มาหาคุณสมบัติและตาแหน่งของวัตถุ
เครื่องมือตรวจอากาศพิเศษ
1) ตรวจหาตาแหน่ง วิเคราะห์การเคลื่อนที่ และจาแนกชนิดของหยาดน้าฟ้า 2) คานวณหาปริมาณน้าฝนและทัศนวิสัย
3) ช่วยในการวิเคราะห์แผนที่อากาศและลักษณะอากาศ 4) ช่วยในการออกคาเตือนเกี่ยวกับพายุ ทาให้มีประโยชน์ต่อการบิน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เรดาร์ที่ใช้ตรวจอากาศมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ปัจจุบันนิยมใช้เรดาร์ชนิด
Pulse-Doppler radar ซึ่งอาศัยหลักของ Doppler effect
เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงให้เสียงออกมา เสียงก็จะกระจายออกไปทุกทิศทางด้วยความยาวคลื่นที่เท่ากันถ้าแหล่งกาเนิดเสียงหยุดนิ่งเราจะพบว่าเสียงที่ผู้ฟังได้ยิน
จะมีความยาวคลื่นเดียวกับที่แหล่งกาเนิดเสียงให้ออกมา รูปแสดงความยาวคลื่นด้านหน้าและด้านหลังไม่เท่ากัน เมื่อแหล่งกาเนิดสียงเคลื่อนที่ แต่ถ้าผู้ฟังหรือ
แหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ ความยาวคลื่นที่ออกไปด้านหน้าของแหล่งกาเนิดเสียงจะสั้นลง ส่วนความยาวคลื่นด้านหลังของแหล่งกาเนิดเสียงซึ่งเคลื่อนที่ผ่านไป
จะมีความยาวคลื่นยาวมากขึ้น ปรากฏการณ์นี้ เราจะได้ยินเสียงความถี่ผิดไปจากที่แหล่งกาเนิดให้ออกมา (ทั้ง ๆ ที่แหล่งกาเนิดเสียงให้เสียงความถี่เท่าเดิม)
เรียกว่า ปรากฏการดอปเปลอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
พายุแซนดี้ พายุเกย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
มนุษย์
คือ ตัวการสาคัญ
ใ น ก าร ท าลา ย
บ้านของตัวเอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร
อ่านข้อความ “อากาศร้อน น้าระเหยกลายเป็นไอน้าได้มาก อากาศร้อนชื้นจะลอยตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนถึง
ระดับที่อุณหภูมิต่า ไอน้าจะเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้าปริมาณมหาศาล เกิดเป็นเมฆขนาดใหญ่ และฝนตก
หนัก” วิเคราะห์และวาดภาพการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจากข้อความดังกล่าว
สังเกตภาพพายุหมุนเขตร้อน วิเคราะห์และเขียน
อธิบายเกี่ยวกับพายุหมุนเขตร้อนในประเด็น เช่น
แหล่งที่เกิด อัตราเร็วลม ลักษณะ รูปร่าง
รวบรวมข้อมูลกระบวนการเกิดฝนฟ้าคะนองและพายุ
หมุนเขตร้อนจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนมีกระบวนการเกิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
สภาพอากาศที่เลวร้าย
(adverse weather condition)
พายุฝนฟ้าคะนอง
(Thunderstorm)
พายุหมุนเขตร้อน
(Tropical Cyclone)
พายุทอร์นาโด
(Tornado)
พายุหมุนนอกเขตร้อน
(Extratropical Cyclone)
พายุ
(storm)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
thunderstorm formation
* ฝนฟ้าคะนองในระยะใดส่งผลกระทบมากที่สุดเพราะเหตุใด
* เพราะเหตุใดอากาศที่มีความชื้นเมื่อลอยตัวสูงขึ้นสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่าจึงเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองในแต่ละครั้ง จะกินเวลานาน
ประมาณ 2 - 4 ชั่วโมง ลาดับเหตุการณ์ดังนี้
อากาศร้อนอบอ้าว
ท้องฟ้ามืดมัว มีลม
กระแสลมกรรโชกและมีกลิ่นดิน
ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง
ฝนตกหนัก บางครั้งมีลูกเห็บ
พายุสลาย อากาศเย็น
ท้องฟ้าแจ่มใส รุ้งกินน้า
อาจเกิดน้าป่าไหลหลาก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมื่อกลุ่มอากาศยกตัว ปริมาตรจะเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิลดต่าลง ถ้า
ต่ากว่าสภาวะแวดล้อมมันมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ
โดยรอบ เมื่อกลุ่มอากาศยกตัวสูงจนเหนือระดับควบแน่น จะเกิด
เมฆในแนวราบและไม่สามารถยกตัวต่อไปได้อีก เราเรียกสภาวะ
เช่นนี้ว่า “อากาศมีเสถียรภาพ” (Stable air) ซึ่งมักเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิต่า
วันที่มีอากาศร้อน กลุ่มอากาศจะยกตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้จะมีความ
สูงเหนือระดับควบแน่นขึ้นไปแล้วก็ตาม กลุ่มอากาศก็ยังมีอุณหภูมิสูง
กว่าอากาศโดยรอบ จึงลอยตัวสูงขึ้นไปอีก ทาให้เกิดเมฆก่อตัวใน
แนวตั้ง เช่น เมฆคิวมูลัสและเมฆคิวมูโลนิมบัส เราเรียกสภาวะเช่นนี้
ว่า “อากาศไม่มีเสถียรภาพ” (Unstable air) อากาศไม่มีเสถียรภาพมัก
เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิสูง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Thunderstorm Electrification
1
2
Lightning Thunderclap Thunder
3
1 2 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Thunderclap
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เกิดเมื่อมีหย่อมความกดอากาศต่าเกิดขึ้นบริเวณผิวน้าทะเลหรือมหาสมุทรที่มี
อุณหภูมิสูงกว่า 27 องศาเซลเซียส พายุในกลุ่มนี้จะก่อตัวเป็นพายุหมุนขนาดใหญ่
กินวงกว้าง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเกิน 100 กิโลเมตรขึ้นไป ลักษณะสาคัญอีก
อย่างหนึ่งคือ ทิศทางการหมุนวนของพายุ หากพายุเกิดเหนือเส้นศูนย์สูตร จะหมุน
วนทวนเข็มนาฬิกา แต่หากเกิดใต้เส้นศูนย์สูตรหรือซีกโลกใต้ จะหมุนวนตามเข็ม
นาฬิกา
ดีเปรสชั่น (Tropical Depression)
พายุโซนร้อน ( Tropical Storm)
ไต้ฝุ่น (Typhoon)
หรือเฮอริเคน
(Hurricane)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ดีเปรสชั่น (Tropical Depression)
เป็นพายุที่มีความเร็วลมต่าที่สุดในบรรดาพายุ
หมุนเขตร้อนด้วยกัน คือ มีความเร็วลมสุงสุด
ใกล้จุดศูนย์กลางไม่เกิน 63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
กลุ่มเมฆหมุนวนเป็นวงกลม แต่ไม่เป็นเกลียว
และไม่มีตาพายุชัดเจน ลมไม่แรงพอจะพัง
บ้านเรือน แต่ฝนอาจตกหนักติดต่อกันจนน้า
ท่วมได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
เมื่อพายุซึ่งเกิดขึ้นในทะเลเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง
และพบกับความกดอากาศที่แตกต่าง
กว่าเดิม จะทาให้ความเร็วลมเพิ่มขึ้น ลม
กรรโชกแรงพอที่จะพังบ้านเรือนที่มี
โครงสร้างไม่แข็งแรงได้ ทาให้มีฝนตกหนัก
มากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น พายุโซนร้อน ซึ่ง
จะมีความเร็วลมไม่เกิน 118 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง และเริ่มเห็นเกลียวแขนของพายุบ้าง
แล้ว
พายุโซนร้อน ( Tropical Storm)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ไต้ฝุ่น (Typhoon) หรือเฮอริเคน (Hurricane)
หากพายุโซนร้อนมีความเร็วลมเพิ่มขึ้นสูงกว่า 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป
มีตาพายุชัดเจน ซึ่งบริเวณศูนย์กลางตาพายุจะฟ้าโปร่ง อาจมีเพียงฝนปรอย
ลมสงบ ขัดต่อสภาพรอบนอกของตาพายุ ความรุนแรงก็เพิ่มระดับไปสู่ขั้นที่
ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง น้าท่วมฉับพลันทันที บ้านเรืองปลิวหรือ
พังถล่มเสียหาย รวมถึงก่อให้เกิดอันตรายต่อการเดินเรือได้ด้วย กลุ่มนี้จะ
ถูกเรียกว่า ไต้ฝุ่นหรือเฮอริเคน
Hurricane – ทิศตะวันตกมหาสมุทรแอตแลนติก
Typhoon – มหาสมุทรแปซิฟิก เช่น อ่าวไทย ทะเลจีนใต้ อ่าวตังเกี๋ย
Cyclone – มหาสมุทรอินเดีย เช่น อ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ
Baquio – หมู่เกาะฟิลิปปินส์
Tornado – เกิดบนพื้นดิน อเมริกา (เกิดในไทย - พายุงวงช้าง)
Willy-Willy – นิวซีแลนด์และออสเตรเลีย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Hail producing thunderstorm
ลูกเห็บเกิดจากกระแสลมแรงพัดพาเม็ดฝนขึ้นไปในกลุ่มเมฆที่ฟ้า
คะนอง ในที่สูงอากาศเย็นมากทาให้เม็ดฝนแข็งตัว ยิ่งขึ้นไปสูงยังมี
เกร็ดหิมะเข้ามาเกาะเม็ดน้าแข็ง ครั้นตกลงมาอีกส่วนล่างของกลุ่ม
เมฆซึ่งเย็นน้อยกว่าด้านบน ความชื้นเข้าไปห่อหุ้มเม็ดน้าแข็ง แล้ว
กระแสลมก็พัดเอาเม็ดน้าแข็งกลับขึ้นไปด้านบนของกลุ่มเมฆอีก ที่
อุณหภูมิความชื้นรอบ ๆ เม็ดน้าแข็งพอกเพิ่มเข้าไปอีกชั้นหนึ่ง เม็ด
น้าแข็งก็โตขึ้นอีกนิด เม็ด น้าแข็งลอยสูงแล้วตกลงมา วนซ้าไปมา
หลายครั้งในกลุ่มเมฆ ในขณะเดียวกันเม็ดน้าแข็ง สะสมความชื้นที่
ด้านล่าง ซึ่งต่อไปจะแข็งตัวในที่สูงเย็น ด้วยกระบวนการเช่นนี้ เม็ด
น้าแข็งก็ใหญ่ขึ้นทุกที เมื่อใดที่มันใหญ่กว่ากระแสลมพายุจะพยุงมันไว้
ได้ มันก็จะตกจากอากาศลงยังพื้นดิน เรียกว่า ลูกเห็บ ถ้าเราทุบก้อน
ลูกเห็บโต ๆ ที่เพิ่งตกถึงพื้นให้แตกครึ่ง เราจะเห็นภายในลักษณะเป็น
วงชั้นน้าแข็ง ซึ่งแสดงถึงการก่อเกิดลูกเห็บ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Hail producing thunderstorm
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Tornadic thunderstorm
พายุที่มีลักษณะเป็นทรงกรวยขนาดใหญ่ มองไกล ๆ จะดูคล้าย
งวงช้างที่สูงขึ้นไปในอากาศ มีความเร็วลมสูงสุดประมาณ 250 ไมล์หรือ
400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความเร็วลมที่ศูนย์กลางประมาณ 100-300
ไมล์ต่อชั่วโมง เป็นพายุฝนฟ้าคะนองที่ถือว่ามีความอันตรายและรุนแรง
มาก ส่วนใหญ่มักจะเกิดในสหรัฐอเมริกา โดยในสหรัฐอเมริกาจะเกิด
พายุทอร์นาโดนี้ทุก ๆ ปี
การที่กระแสลมที่มีระดับ ความเร็ว หรือทิศทางแตกต่างกันพัดมา
ปะทะกัน จะทาให้เกิดการหมุนวนของอากาศ จากนั้นจะม้วนรวมกัน
และเกิดการขยายขนาด กลายเป็นลมที่หมุนเป็นทรงกระบอกใน
แนวนอน และเมื่ออากาศผิวหน้าดินในบริเวณนั้นได้รับความร้อนจาก
ดวงอาทิตย์ ทาให้มันอุ่นขึ้นจนเกิดการขยายตัวและลอยตัวสูง ดันให้ลม
หมุนทรงกระบอกในแนวนอน เปลี่ยนเป็นการหมุนวนในแนวตั้ง เกิดเป็น
ทอร์นาโดซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้น ไปในทิศทางของพายุฝนฟ้า
คะนอง สาหรับประเทศไทยเรียกว่า พายุงวงช้าง โดยหากเกิดบนบก
เรียกว่า ลมบ้าหมู แต่หากเกิดบนผิวน้าเรียกว่า นาคเล่นน้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Thunderstorm microbursts
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Type of microbursts
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
Development stages of microbursts
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ

More Related Content

What's hot

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 

Similar to กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ

โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซนnative
 
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ดิศร ดาตาล
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนdnavaroj
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีninefiit
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลกAobinta In
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 

Similar to กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ (18)

โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซน
 
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
 
งานทดสอบ
งานทดสอบงานทดสอบ
งานทดสอบ
 
งานทดสอบ
งานทดสอบงานทดสอบ
งานทดสอบ
 
Weather Academy
Weather AcademyWeather Academy
Weather Academy
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
ภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจกภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจก
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
พายุสุริยะ1
พายุสุริยะ1พายุสุริยะ1
พายุสุริยะ1
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมี
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลก
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 

กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ