SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
สงครามโลกครั้งที่ ๑ (๑๙๑๔ – ๑๙๑๘)
(World War I หรือ First World War)
สงครามโลกครั้งที่ 1
• เรียกได้ว่าเป็นครั้งแรกของความขัดแย้งระดับโลก
• สงครามโลกครั้งที่ 1 เริ่มใน ค.ศ. 1914 สิ้นสุดในค.ศ. 1918 เป็นความ
ขัดแย้งระหว่างมหาอานาจ 2 ค่าย คือ ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี
และอิตาลี (ผู้นาสาคัญ คือบิสมาร์ค แห่งเยอรมนี) กับฝ่าย ประกอบด้วย Triple
Entente ได้แก่ บริเตนใหญ่ ( อังกฤษ ) ฝรั่งเศส และรัสเซีย
• การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบสังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และ
สิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance
• มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและพันธมิตรเสียค่า
ปฏิกรรมสงครามชดใช้จานวนมหาศาลและเสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย
Triple Entente
กฎการทาสงครามแบบดั้งเดิมของประเทศในยุโรป
1. แต่ละประเทศต้องประกาศสงครามก่อนที่จะโจมตีประเทศอื่น
2. แต่ละด้านจะต้องสวมเครื่องแบบหรือพิสูจน์ตัวเองกับแต่ละอื่น ๆ
ก่อนที่จะโจมตี ทหารสวมเครื่องแบบศัตรูจะถูกยิงในฐานะที่เป็น
สายลับ
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ ๑
๑. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) เป็นความรู้สึกรักและภูมิใจในชาติของตน
อย่างรุ่นแรง
๒. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) ชาติมหาอานาจในยุโรปได้ขยายอานาจ
และอิทธิพลออกไปสู่ดินแดนนอกทวีป
๓. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) ในปี ค.ศ. 1914
เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่ง
ออกเป็น 2 ฝ่าย
๔. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธ ทั้งบางบกและทางทะเล
(Militarism) การเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมและลัทธิจักรวรรดินิยม
นาไปสู่การใช้กองกาลังทหารและสะสมอาวุธทางทหารที่เพิ่มขึ้น
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1
1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism)
การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิดระบบรวม
รัฐชาติ สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่าง
แสวงหาความเป็นมหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ รัฐชาติหมายถึง รัฐ
หรือประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี ภาคภูมิใจใน
ความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรักชาติที่รุนแรงจนเป็น
ลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตนเหนือกว่าชาติอื่น ผลักดันชาติของตน
ได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขัน
อานาจกัน จนกลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี
จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism)
• ลัทธิจักรวรรดินิยม หมายถึงประเทศที่พัฒนา แล้วประสบความสาเร็จ
ด้านเศรษฐกิจ การทหาร และวิทยาศาสตร์ เข้าครอบครอง ที่ด้อยพัฒนากว่า
ซึ่งเป็นผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม
• ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทาให้ต้องการวัตถุดิบและตลาดสาหรับระบายสินค้าที่ผลิต
• มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย (เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์
ต่างแข่งขันกันขยายอานาจ เพื่อสร้างอาณาจักร
โดยการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชียอเมริกากลาง
และอัฟริกา ครอบงาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เพื่อเป็น
แหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่ได้เปรียบในการ
แข็งขันมากขึ้น
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System)
• ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่ง
ออกเป็น 2 ฝ่าย
• ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรี
ไตรภาคี (Triple Alliance) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา กลุ่มนี้จึง
ประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี
• อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้
เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente)
• มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆ เข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรของตน
ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง จึงหา
ทางออกด้วยการทาสงคราม
กลุ่มพันธมิตร
จักรวรรดิอังกฤษ
ฝรั่งเศส
รัสเซีย
เยอรมัน
อิตาลี
ออสเตรีย-ฮังการี
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล
(Militarism)
• โดยต่างประเทศต้องการพยายามสร้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู อันมา
เนื่องจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและกัน เช่น เยอรมนีแข่งขัดกัน
ด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับฝรั่งเศส
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ ๑
• การลอบปลงพระชนม์เจ้าชายฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ องค์รัชทายาทของจักรวรรดิ
ออสเตรีย- ฮังการี โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย-ฮังการี
ขณะเสด็จประพาสนครหลวงแคว้นบอสเนีย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 จึง
ประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศ
สงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย
อาวุธใหม่ๆ ที่ถูกนามาใช้ในการทาสงครามโลกครั้งที่ ๑
• ปืนกล
• ปืนใหญ่
• ทุ่นระเบิด
• ก๊าซพิษ
• เรือดาน้า
• เครื่องบินรบ
• รถถัง
ทั้งมนุษย์และสัตว์มีความไวต่อผลกระทบของก๊าซพิษ สุนัขได้ถูกนามาใช้ในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อเป็นเวรยาม สุนัขลากเลื่อน และผู้ส่งสาร
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายเยอรมนีพ่ายแพ้
ยอมยุติสงครามเพื่อขอเจรจาทาสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายพันธมิตร
ผลของสงครามได้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่ 2 ฝ่าย คือ
1. ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้มีผู้เสียชีวิตหลายล้านคน ผู้บาดเจ็บ
และทุพพลภาพจานวนมาก หลายคนเป็นโรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัย
สงคราม อีกทั้งเกิดปัญหาชนพลัดถิ่น
ประเทศที่เกี่ยวข้องในสงครามได้รับผลกระทบที่น่าตกใจ
จากการสูญเสียชีวิตของประชาชนหลายล้านคน
ผลของการทาสงครามที่คนของฝรั่งเศสและเบลเยียมได้รับผลกระทบ
Photos of the Great War - www.gwpda.org/photos
ชีวิตของผู้หญิงที่อยู่ในประเทศเหล่านั้นได้เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออยู่ในภาวะสงคราม
ภาพของสตรีในโรงงานอาวุธยุทโธปกรณ์
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
วิถีชีวิตของผู้ที่กลับมาจากสงครามได้เปลี่ยนแปลงไป
จากการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยที่ได้รับ
ลองคิดดูว่าทหารคนที่มีแขนขาด้วนหรือผู้ที่ได้รับความทุกข์ทรมานแค่ไหนจากโรคที่
เกิดจากความตกใจที่ได้รับในสนามรบ ?
Photos of The Great War -
www.gwpda.org/photos/greatwar.htm
ทหารอังกฤษที่ตาบอดจากการถูกแก๊สน้าตาจะใช้ชีวิตต่อไปอย่างไร ?
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจเดิม ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และตุรกี
เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้องทาสนธิสัญญาสันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึ้น 5 ฉบับ คือ
1) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี
2) สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย
3) สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย
4) สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี และ
5) สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกี (ต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญา
ใหม่เรียกว่า “สนธิสัญญาโลซานน์”) และยุโรปโดยรวมอ่อนแอลง
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครั้งนี้มีค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มี
อานาจทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดาน้า แก๊สพิษ
ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสิ้นสุดฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรม
สงคราม ส่วนฝ่ายชนะรับผิดชอบเลี้ยงดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศจนทาให้
เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน
ผลกระทบของสงคราม
1. มีการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อแก้ปัญหา
ระหว่างประเทศด้วยสันติวิธี และเพื่อป้องกันการเกิดสงครามใน
อนาคต
2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์
ลัทเวีย ลิทัวเนีย เอสโทเนีย
3. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย
4. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่
ระบบสาธารณรัฐ
ผลกระทบของสงคราม
5. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้
สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็นฝ่ายผู้ก่อสงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้
ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ
ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมา
เป็นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน
ค.ศ.1939-1945
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles)
• เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย
ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน
ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1
• ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย
สนธิสัญญาฉบับอื่น
• ผลจากสนธิสัญญาฯ ได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงคราม
แต่เพียงผู้เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 (ในภายหลังรู้จักกันว่า "อนุประโยค
ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา
เขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน
มหาศาล (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์)
กราฟนี้แสดงการเปรียบเทียบจานวนทหารที่เสียชีวิตจากสงครามหลักๆ บางส่วนใน 238 ปีที่ผ่านมา
โดยแสดงให้เห็นการเสียชีวิตของทหารโดยรวมของแต่ละสงคราม ซึ่งสังเกตเห็นว่า 5 สงครามล่าสุด
ยกเว้นสงครามอ่าวที่ได้ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจานวนมากกว่าสงครามก่อนหน้านี้
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles)
• สนธิสัญญาดังกล่าวได้ถูกบ่อนทาลายด้วยเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นภายหลังปี
ค.ศ. 1932 จนกระทั่งร้ายแรงขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1930 การแก่งแย่งและเป้าหมาย
ที่ขัดแย้งกันเองของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามทา ให้ไม่มีฝ่ายใดพอใจผลการ
ประนีประนอมที่ได้มาเลย การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่รื้อฟื้นความสัมพันธ์หรือทาให้
เยอรมนีอ่อนแออย่าง ถาวร ทาให้สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปัจจัยหลักซึ่งนาไปสู่
ความขัดแย้งในภายหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สงครามโลกครั้งที่ 2
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การจากัดทางกฎหมาย
• ข้อ 227 แจ้งข้อหาแก่จักรพรรดิแห่งเยอรมนี จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในฐานะ
ก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ นอกจากนี้ยังถูกพิจารณาว่ามีความผิดฐาน
อาชญากรรมสงคราม
• ข้อ 228-230 ระบุถึงอาชญากรสงครามชาวเยอรมันที่เกี่ยวข้อง
• ข้อ 231 ("อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") ได้ถือว่าเยอรมนีเป็น
ฝ่ายเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายที่ส่งผล
ประทบต่อพลเรือนของกลุ่มประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดกาลังทหาร
ตามที่ได้ระบุไว้ในส่วนที่ 5 ของสนธิสัญญาแวร์ซายว่า "ในความพยายาม ที่จะเริ่มต้นการจากัด
อาวุธของนานาประเทศนั้น เยอรมนีจาเป็นต้องยอมรับและปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปริมาณของ
กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศจะต้องเป็นไปตามที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้“
• แคว้นไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองร่วมกันระหว่าง
สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส
• กองทัพเยอรมันถูกจากัดทหารเหลือเพียง 100,000 นาย การประกาศระดมพลถูกล้มเลิก
• ตาแหน่งทหารชั้นประทวนจะได้ต้องยกเลิกไปเป็นเวลา 12 ปี และตาแหน่งนายทหาร
ชั้นสัญญาบัตรจะต้องได้รับการยกเลิกไปเป็นเวลา 25 ปี
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดกาลังทหาร
• ห้ามทาการผลิตอาวุธในเยอรมนี และห้ามทาการครอบครองรถถัง ยานยนต์หุ้มเกราะ
เครื่องบินรบและปืนใหญ่ทั้งสิ้น
• ห้ามเยอรมนีนาเข้าและส่งออกอาวุธ รวมไปถึงการผลิตและการครอบครองแก๊สพิษ
• กาลังพลกองทัพเรือถูกจากัดลงเหลือ 15,000 นาย เรือรบ 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 10,000
เมตริกตัน) เรือลาดตระเวน 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 6,000 เมตริกตัน) เรือพิฆาตตอร์ปิโด
12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 800 เมตริกตัน) และเรือยิงตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 200
เมตริกตัน) เยอรมนีห้ามมีเรือดาน้าในครอบรอง
• การปิดล้อมทางทะเลต่อเรือถูกสั่งห้าม
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดพรมแดน
• จากสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้กาหนดให้เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมทั้งหมด รวมไปถึงดินแดน
บางส่วนของแผ่นดินแม่ โดยดินแดนที่สาคัญ ได้แก่ ดินแดนปรัสเซียตะวันตก ซึ่งต่อมาได้
กลายเป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง และยังต้องสูญเสียฉนวนโปแลนด์และทางออกสู่ทะเลบอล
ติก นับตั้งแต่ผลของการแบ่งโปแลนด์ และทาให้แคว้นปรัสเซียตะวันออกถูกกีดกันออกไปจาก
แผ่นดินเยอรมนีเป็นดินแดนแทรก
• ยกดินแดนฮุลทชิน ของอัปเปอร์ซิลีเซีย ให้แก่เชโกสโลวาเกีย (คิดเป็นดินแดน 333 ตาราง
กิโลเมตร ประชากรประมาณ 49,000 คน) โดยปราศจากการลงประชามติ
• ยกทางตะวันออกของแคว้นอัปเปอร์ซิลีเซียให้แก่โปแลนด์ (คิดเป็นดินแดน 3,214 ตาราง
กิโลเมตร ประชากรประมาณ 965,000 คน) โดย 2 ใน 3 รวมเข้ากับเยอรมนี และอีก 1 ใน 3
รวมเข้ากับโปแลนด์ตามผลของการลงประชามติ
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 2
(World War II หรือ Second World War)
สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945)
• เป็นความขัดแย้งทางทหารระดับโลกซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลา
ยาวนานถึง 6 ปี จึงยุติ
• เป็นสงครามครั้งรุนแรงและยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยอุบัติขึ้น ใช้เงินทุนมากที่สุด และทาให้เกิด
ความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์โลก
• ความตึงเครียดระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงพิสูจน์ให้เห็นว่า
“สงครามไม่สามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้งได้” การเจรจาหลังสงครามยุติ ก็ยิ่งก่อความไม่พอใจกับ
ประเทศที่เกี่ยวข้อง เงื่อนหลายข้อที่เกิดจากสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ ยังก่อปัญหาเพิ่มขึ้น
จนทาให้สงครามโลกครั้งที่ 2 ( World War II ) เกิดขึ้น
• ประเทศผู้ร่วมสงครามรวมตัวกันเป็นพันธมิตรทางทหารสองฝ่ายคู่สงครามคือ ฝ่ายสัมพันธมิตร
และฝ่ายอักษะ
สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) (ต่อ)
• ลักษณะของสงครามเป็น “สงครามแบบเบ็ดเสร็จ”
• สงครามในครั้งนี้ได้ขยายสมรภูมิรบออกไปทั่วโลก
ในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยครอบคลุมอาณาบริเวณ
ทั้งในยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก และ
มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นความขัดแย้งในวงกว้าง
ครอบคลุมทุกทวีปและประเทศส่วนใหญ่ในโลก
• สงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรปมีคนตาย ราว ๆ 70 ล้าน
คน เป็นฝ่ายพันธมิตร ประมาณ 54 ล้านคน ทหารที่
เสียชีวิตมากที่สุดคือ โซเวียต คือ 10 ล้านคน พลเรือน
ตายมากที่สุด คือเยอรมัน ที่ถูกฆ่าโดยนาซี (ในค่าย
กักกัน) 12 ล้านคน และชาวจีน 7 ล้าน 5 แสนคน
Bar Chart
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญา
2. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
3. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง
4. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ
6. ลัทธินิยมทางทหาร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญา ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 1 มีสาเหตุมาจากประเทศชนะสงคราม และประเทศที่
แพ้สงครามต่างก็ไม่พอใจในข้อตกลง เพราะ
สูญเสียผลประโยชน์ ไม่พอใจในผลประโยชน์
ที่ได้รับ โดยเฉพาะสนธิสัญญาแวร์ซายส์
ที่เยอรมันไม่พอใจในสภาพที่ตนต้องถูกผูกมัด
ด้วยสัญญา และต้องการได้ดินแดน ผลประโยชน์
และเกียรติภูมิที่สูญเสียไปกลับคืนมา
หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซาย
ฉบับภาษาอังกฤษ
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ)
2. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เนื่องจากความไม่ยุติธรรมของ
สนธิสัญญาแวร์ซายส์ เกิดความรู้สึกอัปยศเสียศักดิ์ศรีของชาติ นาไปสู่การเกิดความรู้สึก
ชาตินิยมรุนแรงให้แก่ชนชาติเยอรมัน ทาให้ผู้นาเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซีเพื่อสร้าง
ประเทศให้ยิ่งใหญ่ เช่นเดียวกับ เบนิโต มุโสลินี ผู้นาอิตาลีหันไปใช้ลันทธิฟาสซิสต์ ซึ่ง
เน้นความคิดชาตินิยมและขยายดินแดน รวมทั้งการนาสงครามเข้าไปในยุโรปต่างๆ ทาให้
เกิดกรณีพิพาทระหว่างประเทศและนาไปสู่สงคราม
มุโสลินี, ฮิตเลอร์ ผู้นาสูงสุดของเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ)
3. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบ
เผด็จการ ปัญหาทางการเมือง และเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลาย
ประเทศหันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลี นาไปสู่
การแบ่งกลุ่มประเทศ เพราะประเทศที่มีระบอบการปกครองเหมือนกันจะรวมกลุ่มกัน
4. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกลไกอานาจหรือกองทัพของ
องค์การที่จะบังคับให้ประเทศใดปฏิบัติตามได้ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการและ
ขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากประเทศมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียด
ไม่ได้ร่วมเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง จึงทาให้องค์การสันนิบาต เป็นเครื่องมือของ
ประเทศที่ชนะใช้ลงโทษประเทศที่แพ้สงคราม
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ)
5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งเป็นมหาอานาจเดิม
ในทวีปยุโรปและเป็นประเทศที่ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอ่อนแอ
ลงหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจากประสบกับความเสียหายในช่วงสงครามมาก
ดังนั้นเมื่อมีประเทศที่เข้มแข็งทางทหารเกิดขึ้นและรุกรานประเทศหรือดินแดนที่อ่อนแอกว่า
อังกฤษกับฝรั่งเศสจึงไม่พร้อมที่จะทาตนเป็นผู้ปกป้องได้ ดังนั้นจึงใช้นโยบายรอมชอม ผลก็
คือประเทศที่มีกาลังทหารที่เข้มแข็งและมีนโยบายรุกรานจะทาอะไรได้ตามความพอใจของ
ตนเอง
6. ลัทธินิยมทางทหาร การแข่งขันในการสะสมอาวุธเพื่อสร้างแสนยานุภาพ
ทาให้ประเทศมหาอานาจไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน
วิกฤตการณ์สาคัญก่อนสงคราม
1. เยอรมนียกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ค.ศ. 1936
2. สงครามอิตาลีรุกรานเอธิโอเปีย ค.ศ. 1936
3. สงครามกลางเมืองสเปน ค.ศ. 1936 – 1939
4. เยอรมนีรวมออสเตรีย ค.ศ. 1938
5. เยอรมนีรวมเชคโกสโลวาเกีย ค.ศ. 1938
6. อิตาลียึดครองแอลเบเนีย ค.ศ. 1939
7. ปัญหาฉนวนโปแลนด์ ค.ศ. 1939
8. การขยายอานาจของญี่ปุ่นในเอเชีย ค.ศ. 1931 – 1939
ชนวนระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 2
• กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์เมื่อ 1 กันยายน 1939 เนื่องจากโปแลนด์
ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่าดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษ
และฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ ได้ยื่นคาขาด
ให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ
การแบ่งกลุ่มของประเทศคู่สงคราม
1. ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ออสเตรีย – ฮังการี บัลแกเรีย และตุรกี
2. ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เซอร์เบีย
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
• ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ มีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้
ทาให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก
ครั้งที่ 1
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ด้านสังคม
สงครามโลกครั้งที่ 2 ทาให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 40 ล้าน คน นอกจากนี้ยังมี
ผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงครามอื่น ๆ อีกเป็นจานวนมาก เช่น บาดเจ็บ
ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาดอาหาร หายสาบสูญ เป็นต้น
2. ด้านการเมือง
ประเทศผู้แพ้สงครามต้องเสียเกียรติภูมิ ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามต้องเสีย
ดินแดน เสียอาณานิคม และต้องยังยินยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาต่างๆ ที่ฝ่ายชนะ
สงครามวางเงื่อนไขให้ปฏิบัติตาม ดังนี้
ผลกระทบของสงคราม
1. มีการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN :United Nations) เพื่อดาเนินงานแทน
องค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพของโลกและให้กลุ่ม
สมาชิกร่วมมือช่วย เหลือกัน และสนับสนุนสันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนา
ประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความเข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริกาเข้าร่วม
เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและมีกองทหารของสหประชาชาติ
2. การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ ประเทศที่เคยตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก
ต่างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชีย และ แอฟริกา และ
บางประเทศถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน เช่น เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม
3. สภาพเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
ผลกระทบของสงคราม (ต่อ)
4. ความสูญเสียทางด้านสังคมและทางจิตวิทยา
5. เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต
6. เกิดสงครามเย็น (Cold War) และการแบ่งกลุ่มประเทศระหว่างโลกเสรี
ประชาธิปไตยกับโลกคอมมิวนิสต์
7. ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ มีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ทาให้เกิด
ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
เหตุผลที่ไทยต้องเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2
• ไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ญี่ปุ่นนาเรือรบบุกขึ้น
ชายทะเลภาคใต้ของไทยโดยไม่ทันรู้ตัว รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน ทาพิธีเคารพ
เอกราชกันและกัน
• ผลของการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2ของประเทศไทย
 ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญี่ปุ่นรบ
 เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง
 ไทยได้ดินแดนเชียงตุง และสี่จังหวัดภาคใต้ที่ต้องเสียแก่อังกฤษกลับมา
แต่ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง
 ไทยได้รับเกียรติเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
อดอฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นาสูงสุดของเยอรมัน เขาได้ประกาศเสริมสร้างกองทัพ
เยอรมันขึ้นใหม่ ซึ่งเท่ากับเป็นการฉีกสนธิสัญญาแวร์
การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ
• เป็นการโจมตีจักรวรรดิญี่ปุ่นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของ
สหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง
• เป็นระเบิดนิวเคลียร์เพียง 2 ลูกเท่านั้นที่นามาใช้
ในประวัติศาสตร์การทาสงคราม
• การระเบิดทาให้มีผู้เสียชีวิตที่เป็นพลเรือนของ
ฮิโระชิมะ 140,000 คนและที่นะงะซะกิ 80,000 คน
• โดยนับถึงปลายปี พ.ศ. 2488 จานวนคนที่เสียชีวิตทันทีในวันที่ระเบิดลง
มีจานวนประมาณครึ่งหนึ่งของจานวนที่กล่าวนี้ และในระยะต่อมาก็ยังมี
ผู้เสียชีวิตด้วยการบาดเจ็บหรือจากการรับกัมมันตรังสีที่ถูกปลดปล่อยออกมา
จากการระเบิดอีกนับหมื่นคน
ผู้เสียชีวิตจากสารกัมมันตรังสี
การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ (ต่อ)
• หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นประกาศตกลงยอมแพ้
สงครามต่อฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 และลงนามในตรา
สารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกที่นับเป็นการยุติสงครามโลก
ครั้งที่ 2 อย่างเป็นทางการในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488
• ส่วนนาซีเยอรมนีลงนามตราสารประกาศยอมแพ้และยุติสงครามโลกครั้งที่ 2
ในทวีปยุโรปอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2488
• การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่นต้องยอมรับ
หลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์
การทิ้งระเบิดปรมาณู ของสหรัฐ ที่ฮิโรซิมา ประเทศญี่ปุ่น
เป็นการยุติสงครามโลกครั้งที่ 2
องค์การสหประชาชาติ
สงครามเย็น (Cold War)
ค.ศ. 1945 - 1991
ความหมายของสงครามเย็น
• สงครามเย็น หมายถึง ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่าง
สองอภิมหาอานาจ คือ อุดมการณ์ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของ
สหรัฐอเมริกากับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ของสหภาพ
โซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
• สงครามเย็นเป็นการช่วงชิงกันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการ
โฆษณาชวนเชื่อ โดยไม่ได้ใช้กาลังทหารและอาวุธมาประหัตประหาร
กัน
สาเหตุของสงครามเย็น
1. การเปลี่ยนแปลงดุลทางอานาจของโลก
สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ทาลายสถานะทางอานาจของมหาอานาจเดิมคือ เยอรมนี
และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้แพ้สงคราม ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสเป็นชาติพันธมิตรที่ชนะสงคราม
แต่อังกฤษก็ได้รับความบอบช้าทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจตกต่า ส่วนฝรั่งเศสถูก
เยอรมนียึดครองประเทศเป็นเวลานาน 4 ปี
ช่วงหลังสงครามสหรัฐอเมริกาจึงกลายเป็นชาติมหาอานาจที่มั่งคั่งที่สุดในโลก
ส่วนสหภาพโซเวียตถึงแม้จะได้รับความบอบช้าแต่ก็ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว สหภาพ
โซเวียตจึงก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอานาจคู่กับสหรัฐอเมริกาแทนชาติยุโรปตะวันตกและ
ญี่ปุ่น
สาเหตุของสงครามเย็น
• ศัตรูของเราจะไม่ใช่ภาพที่คมชัดเหมือนแต่ก่อนอีกแล้ว
• เขาจะไม่มีอยู่ในแผนที่
• ไม่ได้แยกออกเป็นประเทศ
• จะแยกกันออกเป็นหน่วยอิสระ
• จะไม่เห็นเครื่องแบบ
• จะไม่เห็นโครงสร้างองค์กร
• จะไม่ได้โปร่งใสอีกต่อไป
• ดูยากเพราะอยู่ในเงามืด
• ไม่มีเริ่มต้นและสิ้นสุด
• ไม่มีการประกาศสภาวะสงคราม
• ไม่มีเขตหน้าไม่มีเขตภายใน
• ไม่มีการประกาศว่าใครร่วมรบกับใคร
• กองกาลังมีอยู่ทั่วไปทั้งประเทศที่เป็นมิตรปละประเทศที่เป้นศัตรู
Hard Power/Soft Power
Leader Dictator
Global Research
Professor Tim Anderson
• ซาอุดิอราเบีย
• กาตาร์
• ตุรกี
• อิสราเอล
• อังกฤษ
• ฝรั่งเศส
• สหรัฐอเมริกา
กาลังอานาจด้านการทหาร
• โครงสร้างของหน่วยบัญชาการ
และการปกครองบังคับบัญชา
• กาลังและการประกอบกาลัง
• ที่ตั้งและการวางกาลัง
• การระดมสรรพกาลัง
• การส่งกาลังบารุง
• พันธมิตรและมิตรประเทศ
• ปริมาณและคุณภาพของกาลัง
พล
• ปริมาณและคุณภาพ
ยุทโธปกรณ์
• หลักนิยมทางทหาร
ค่าใช้จ่ายและงบประมาณทาง
ทหาร
ระดับการศึกษา ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีในหมู่ประชากรที่มี
ผลต่อกาลังพลในกองทัพ
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ระหว่างทหารกับประชาชน
การฝึก
เครื่องมือทางการทหาร
• การใช้อิทธิพลต่อท่าที พฤติกรรม และการ
ปฏิบัติของประเทศอื่น
• การใช้วิธีการทางทหาร สิ้นเปลืองและมี
อันตรายมากกว่าวิธีอื่น ๆ
• เป็นวิธีการสุดท้ายที่นาออกใช้
• วิวัฒนาการการผลิตอาวุธปัจจุบันทาให้การใช้
กาลังทหารมีผลดีและผลเสียมากขึ้น
การป้องปราม
ป้องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามทาอะไรที่
คุกคาม
การป้องกันกับการป้องปราม
เหมือนกันตรงที่มุ่งจะป้องกันประเทศ
จากการถูกโจมตีด้วยกาลัง
การป้องกันเป็นการยับยั้งโดยการใช้
กาลังทหารฝ่ายตรงข้าม
การป้องปราม เป็นการยับยั้งที่จะ
ทาลายล้างตอบโต้
ผลของการป้องปรามจะขึ้นอยู่กับ
ความสามารถที่จะทาให้ฝ่ายตรงข้าม
เชื่อว่า ประเทศตนมีทั้งกาลัง และ
ความตั้งใจที่จะลงโทษอย่างรุนแรง
การใช้เครื่องมือทางทหารจะเป็นไปใน
ลักษณะของการบังคับข่มขู่หรือการ
ลงโทษ
การป้องกัน
การใช้กาลังทหารทาการโจมตี หรือลด
ความเสียหายของตนเมื่อถูกโจมตีในการ
ป้องกัน
ใช้กาลังผลักดันการถูกโจมตีเมื่อเกิดขึ้น หรือ
ใช้โจมตีก่อนเมื่อเชื่อว่าตนจวนจะถูกโจมตีอยู่
แล้วหรือไม่มีทางหลีกเลี่ยงต่อการถูกโจมตี
วิกฤติทางทหาร
ทหารขาดระเบียบวินัย
ไม่มีการฝึกซ้อม
ขาดอาวุธยุทโธปกรณ์
ขาดขวัญและกาลังใจ
ผู้นาไม่มีความสามารถ
ขาดความยุติธรรมในระบบ
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture
Media Power
Facebook, Twitter, VDOlink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
GLOBAL CONFLICT
• Globalisation & Localisation
• Hard Power & Soft Power
• Americanization & Islamization
• Capitalism & Socialism
• High Technology & Low Technology
• Tangible & Intangible
• Physical & Mental or Spiritual
• National Resource
แนวคิดแบบ Hard Power
• ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
• ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
• การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft
Power ได้
• ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
• กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก
• การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
• จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
• ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
• มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทาง
ศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง
• เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
• ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
สถานการณ์ด้านความมั่นคง
• แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบ
ด้วยอาวุธ
• ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความ
แตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมี
มาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
• มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งใน
ระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจ
ขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพ
และความมั่นคงของประเทศต่างๆ
สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศเปลี่ยนไป
• การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง
รัฐและพรมแดนลดความสาคัญ
• เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน
• โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
• ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ
• การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้น
ระหว่าง
อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
ทิศทางของสถานการณ์โลกในอนาคต
• สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง
• ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุก
ภูมิภาค
• ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่
รวดเร็ว
• การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ
• ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง
• ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่
หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in
2003
Muslim
Population in
2003
Muslim
Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The
Muslim population in 2003 was 1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองใน
ลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน
และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์
ตูนิเซีย เลบานอน)
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการ
หรือกึ่งเผด็จการ)
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันใน
ภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และ
อิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศใน
บริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุส
เบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสหรัฐอเมริกา
และกลุ่มประเทศตะวันตก
• อิยิปต์
• โมร็อกโก
• จอร์แดน
• ซาอุดิอาระเบีย
• ตูนิเซีย
• ปากีสถาน
• รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
• ประเทศมุสลิมในเอเซียคืออินโดนีเซีย และบูรไน
ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก
• มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
• ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” (Hamas) และ “ฮิซ
โบเลาะห์ (Hezbollah)
• มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและ
กลุ่มประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ
• ผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น
“เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของ
สหรัฐอเมริกา
• อารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” เป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง”
กับ “มุสลิม” (ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations” )
• ผู้นามีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอา
มาร์ กัดดาฟี
• กฎระเบียบที่มีลักษณะเป็น “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศ
หลายองค์การเช่น สหประชาชาติ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ธนาคารโลก องค์การการค้าระหว่างประเทศองค์การกาหนดมาตรฐาน
สหรัฐอเมริกาและกลุ่มตะวันตกกับ “ชนมุสลิม”
• มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ“ฮิซโบเลาะห์ รวมทั้ง
มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่ม
ประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ
• ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎ
หลักของศาสนามาใช้เป็นกฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด
• วิถีชีวิตแบบตะวันตกโดยเฉพาะแบบอเมริกัน จะเต็มไปด้วยความเลวทราม
อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว จะพยายามทาลายขจัดกีดกัน โค่น
ล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
• สังคมมุสลิมผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น
เครื่องมือทางการเมือง เพื่อต่อต้านสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิว
ขาวชาวคริสเตียน” ในลักษณะเช่นนี้ความเป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง”
กับ “มุสลิม” จะปรากาออกมาในแนวทางที่ แซมวล ฮันติงตันเรียกว่า “The
Clash of Civilizations”
Muslim
• ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7
• กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่
ยุโรป
• หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และ
เอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference
Organization(ICO)
• ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบาย
ต่างประเทศที่แตกต่างกัน
• มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไป
ตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้ง
ประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
• มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก
กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม
294 ล้านคน
กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม
326.9 ล้านคน
กลุ่มตะวันออกกลาง
ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน
กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม
192.5 ล้านคน
กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม
72.7 ล้านคน
ไทย
DOMINO EFFECTKyrgyzstan
Tunisia
Yemen
Egypt
Syria
Algeria
Jordan
Bahrain
Libya
Morocco
Bangladesh
Italy
Indonesia
Ukrain
กบฏฮูตี ในเยเมน
• คาเรียกร้องการช่วยเหลือของ
ผู้นาเยเมน ต่อซาอุฯ ทาให้ถูกดึง
เข้าไปสู่สถานการณ์เยเมนอย่าง
เต็มตัว จนเป็น “สงครามตัวแทน”
• อิหร่านซึ่งหนุนหลังผู้นากบฏฮูตีที่
นับถือนิกายชีอะห์ ในขณะที่ซาอุ
ฯ สนับสนุนนิกายสุหนี่
• ซาอุฯ โจมตีทางอากาศถล่ม
“กบฏฮูตี” ในเยเมน
A Publication by www.elifesara.com 86
A Publication by www.elifesara.com 87
เหตุการณ์ในบัลติมอร์ รัฐแมรี่แลนด์ สหรัฐอเมริกา
• เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีใน
เมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บานปลายเป็นปัญหาระดับชาติ
• ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้าย
ประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถามเจ้าหน้าที่ถึงระบบประชาธิปไตยของ
ประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน เกาะ
แมนฮัตตัน
• นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูก
เจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้าสื่อมวลชน
• การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุ
ของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่ เมืองเฟอร์กูสัน รัฐมิสซูรี ที่สถานการณ์
บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ.
A Publication by www.elifesara.com 88

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 

Viewers also liked

รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (20)

รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
Okinawa
OkinawaOkinawa
Okinawa
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 

Similar to สงครามโลก Ohm

7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งtanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-Kasidet Srifah
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะfsarawanee
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 Suchawalee Buain
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 

Similar to สงครามโลก Ohm (20)

7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562 Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (18)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

สงครามโลก Ohm

  • 1. สงครามโลกครั้งที่ ๑ (๑๙๑๔ – ๑๙๑๘) (World War I หรือ First World War)
  • 2. สงครามโลกครั้งที่ 1 • เรียกได้ว่าเป็นครั้งแรกของความขัดแย้งระดับโลก • สงครามโลกครั้งที่ 1 เริ่มใน ค.ศ. 1914 สิ้นสุดในค.ศ. 1918 เป็นความ ขัดแย้งระหว่างมหาอานาจ 2 ค่าย คือ ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และอิตาลี (ผู้นาสาคัญ คือบิสมาร์ค แห่งเยอรมนี) กับฝ่าย ประกอบด้วย Triple Entente ได้แก่ บริเตนใหญ่ ( อังกฤษ ) ฝรั่งเศส และรัสเซีย • การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบสังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และ สิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance • มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและพันธมิตรเสียค่า ปฏิกรรมสงครามชดใช้จานวนมหาศาลและเสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente
  • 4. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ ๑ ๑. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) เป็นความรู้สึกรักและภูมิใจในชาติของตน อย่างรุ่นแรง ๒. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) ชาติมหาอานาจในยุโรปได้ขยายอานาจ และอิทธิพลออกไปสู่ดินแดนนอกทวีป ๓. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่ง ออกเป็น 2 ฝ่าย ๔. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธ ทั้งบางบกและทางทะเล (Militarism) การเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมและลัทธิจักรวรรดินิยม นาไปสู่การใช้กองกาลังทหารและสะสมอาวุธทางทหารที่เพิ่มขึ้น
  • 5. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิดระบบรวม รัฐชาติ สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่าง แสวงหาความเป็นมหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ รัฐชาติหมายถึง รัฐ หรือประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี ภาคภูมิใจใน ความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรักชาติที่รุนแรงจนเป็น ลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตนเหนือกว่าชาติอื่น ผลักดันชาติของตน ได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขัน อานาจกัน จนกลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
  • 6. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) • ลัทธิจักรวรรดินิยม หมายถึงประเทศที่พัฒนา แล้วประสบความสาเร็จ ด้านเศรษฐกิจ การทหาร และวิทยาศาสตร์ เข้าครอบครอง ที่ด้อยพัฒนากว่า ซึ่งเป็นผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม • ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้ต้องการวัตถุดิบและตลาดสาหรับระบายสินค้าที่ผลิต • มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย (เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกันขยายอานาจ เพื่อสร้างอาณาจักร โดยการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชียอเมริกากลาง และอัฟริกา ครอบงาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เพื่อเป็น แหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่ได้เปรียบในการ แข็งขันมากขึ้น
  • 7. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) • ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่ง ออกเป็น 2 ฝ่าย • ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรี ไตรภาคี (Triple Alliance) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา กลุ่มนี้จึง ประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี • อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) • มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆ เข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง จึงหา ทางออกด้วยการทาสงคราม
  • 9.
  • 10. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล (Militarism) • โดยต่างประเทศต้องการพยายามสร้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู อันมา เนื่องจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและกัน เช่น เยอรมนีแข่งขัดกัน ด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับฝรั่งเศส
  • 11.
  • 12. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ ๑ • การลอบปลงพระชนม์เจ้าชายฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ องค์รัชทายาทของจักรวรรดิ ออสเตรีย- ฮังการี โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย-ฮังการี ขณะเสด็จประพาสนครหลวงแคว้นบอสเนีย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 จึง ประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศ สงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย
  • 13. อาวุธใหม่ๆ ที่ถูกนามาใช้ในการทาสงครามโลกครั้งที่ ๑ • ปืนกล • ปืนใหญ่ • ทุ่นระเบิด • ก๊าซพิษ • เรือดาน้า • เครื่องบินรบ • รถถัง
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 18. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายเยอรมนีพ่ายแพ้ ยอมยุติสงครามเพื่อขอเจรจาทาสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายพันธมิตร ผลของสงครามได้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่ 2 ฝ่าย คือ 1. ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้มีผู้เสียชีวิตหลายล้านคน ผู้บาดเจ็บ และทุพพลภาพจานวนมาก หลายคนเป็นโรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัย สงคราม อีกทั้งเกิดปัญหาชนพลัดถิ่น
  • 24. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจเดิม ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และตุรกี เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้องทาสนธิสัญญาสันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึ้น 5 ฉบับ คือ 1) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี 2) สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย 3) สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย 4) สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี และ 5) สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกี (ต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญา ใหม่เรียกว่า “สนธิสัญญาโลซานน์”) และยุโรปโดยรวมอ่อนแอลง
  • 25. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครั้งนี้มีค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มี อานาจทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดาน้า แก๊สพิษ ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสิ้นสุดฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรม สงคราม ส่วนฝ่ายชนะรับผิดชอบเลี้ยงดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศจนทาให้ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน
  • 26. ผลกระทบของสงคราม 1. มีการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อแก้ปัญหา ระหว่างประเทศด้วยสันติวิธี และเพื่อป้องกันการเกิดสงครามใน อนาคต 2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ ลัทเวีย ลิทัวเนีย เอสโทเนีย 3. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย 4. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ ระบบสาธารณรัฐ
  • 27. ผลกระทบของสงคราม 5. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้ สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็นฝ่ายผู้ก่อสงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้ ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมา เป็นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ.1939-1945
  • 28. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) • เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 • ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย สนธิสัญญาฉบับอื่น • ผลจากสนธิสัญญาฯ ได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงคราม แต่เพียงผู้เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 (ในภายหลังรู้จักกันว่า "อนุประโยค ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา เขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน มหาศาล (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์)
  • 29. กราฟนี้แสดงการเปรียบเทียบจานวนทหารที่เสียชีวิตจากสงครามหลักๆ บางส่วนใน 238 ปีที่ผ่านมา โดยแสดงให้เห็นการเสียชีวิตของทหารโดยรวมของแต่ละสงคราม ซึ่งสังเกตเห็นว่า 5 สงครามล่าสุด ยกเว้นสงครามอ่าวที่ได้ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจานวนมากกว่าสงครามก่อนหน้านี้
  • 30. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) • สนธิสัญญาดังกล่าวได้ถูกบ่อนทาลายด้วยเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นภายหลังปี ค.ศ. 1932 จนกระทั่งร้ายแรงขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1930 การแก่งแย่งและเป้าหมาย ที่ขัดแย้งกันเองของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามทา ให้ไม่มีฝ่ายใดพอใจผลการ ประนีประนอมที่ได้มาเลย การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่รื้อฟื้นความสัมพันธ์หรือทาให้ เยอรมนีอ่อนแออย่าง ถาวร ทาให้สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปัจจัยหลักซึ่งนาไปสู่ ความขัดแย้งในภายหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 31. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การจากัดทางกฎหมาย • ข้อ 227 แจ้งข้อหาแก่จักรพรรดิแห่งเยอรมนี จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในฐานะ ก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ นอกจากนี้ยังถูกพิจารณาว่ามีความผิดฐาน อาชญากรรมสงคราม • ข้อ 228-230 ระบุถึงอาชญากรสงครามชาวเยอรมันที่เกี่ยวข้อง • ข้อ 231 ("อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") ได้ถือว่าเยอรมนีเป็น ฝ่ายเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายที่ส่งผล ประทบต่อพลเรือนของกลุ่มประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
  • 32. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดกาลังทหาร ตามที่ได้ระบุไว้ในส่วนที่ 5 ของสนธิสัญญาแวร์ซายว่า "ในความพยายาม ที่จะเริ่มต้นการจากัด อาวุธของนานาประเทศนั้น เยอรมนีจาเป็นต้องยอมรับและปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปริมาณของ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศจะต้องเป็นไปตามที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้“ • แคว้นไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองร่วมกันระหว่าง สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส • กองทัพเยอรมันถูกจากัดทหารเหลือเพียง 100,000 นาย การประกาศระดมพลถูกล้มเลิก • ตาแหน่งทหารชั้นประทวนจะได้ต้องยกเลิกไปเป็นเวลา 12 ปี และตาแหน่งนายทหาร ชั้นสัญญาบัตรจะต้องได้รับการยกเลิกไปเป็นเวลา 25 ปี
  • 33. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดกาลังทหาร • ห้ามทาการผลิตอาวุธในเยอรมนี และห้ามทาการครอบครองรถถัง ยานยนต์หุ้มเกราะ เครื่องบินรบและปืนใหญ่ทั้งสิ้น • ห้ามเยอรมนีนาเข้าและส่งออกอาวุธ รวมไปถึงการผลิตและการครอบครองแก๊สพิษ • กาลังพลกองทัพเรือถูกจากัดลงเหลือ 15,000 นาย เรือรบ 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 10,000 เมตริกตัน) เรือลาดตระเวน 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 6,000 เมตริกตัน) เรือพิฆาตตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 800 เมตริกตัน) และเรือยิงตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 200 เมตริกตัน) เยอรมนีห้ามมีเรือดาน้าในครอบรอง • การปิดล้อมทางทะเลต่อเรือถูกสั่งห้าม
  • 34. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดพรมแดน • จากสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้กาหนดให้เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมทั้งหมด รวมไปถึงดินแดน บางส่วนของแผ่นดินแม่ โดยดินแดนที่สาคัญ ได้แก่ ดินแดนปรัสเซียตะวันตก ซึ่งต่อมาได้ กลายเป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง และยังต้องสูญเสียฉนวนโปแลนด์และทางออกสู่ทะเลบอล ติก นับตั้งแต่ผลของการแบ่งโปแลนด์ และทาให้แคว้นปรัสเซียตะวันออกถูกกีดกันออกไปจาก แผ่นดินเยอรมนีเป็นดินแดนแทรก • ยกดินแดนฮุลทชิน ของอัปเปอร์ซิลีเซีย ให้แก่เชโกสโลวาเกีย (คิดเป็นดินแดน 333 ตาราง กิโลเมตร ประชากรประมาณ 49,000 คน) โดยปราศจากการลงประชามติ • ยกทางตะวันออกของแคว้นอัปเปอร์ซิลีเซียให้แก่โปแลนด์ (คิดเป็นดินแดน 3,214 ตาราง กิโลเมตร ประชากรประมาณ 965,000 คน) โดย 2 ใน 3 รวมเข้ากับเยอรมนี และอีก 1 ใน 3 รวมเข้ากับโปแลนด์ตามผลของการลงประชามติ
  • 37. สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) • เป็นความขัดแย้งทางทหารระดับโลกซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลา ยาวนานถึง 6 ปี จึงยุติ • เป็นสงครามครั้งรุนแรงและยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยอุบัติขึ้น ใช้เงินทุนมากที่สุด และทาให้เกิด ความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์โลก • ความตึงเครียดระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงพิสูจน์ให้เห็นว่า “สงครามไม่สามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้งได้” การเจรจาหลังสงครามยุติ ก็ยิ่งก่อความไม่พอใจกับ ประเทศที่เกี่ยวข้อง เงื่อนหลายข้อที่เกิดจากสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ ยังก่อปัญหาเพิ่มขึ้น จนทาให้สงครามโลกครั้งที่ 2 ( World War II ) เกิดขึ้น • ประเทศผู้ร่วมสงครามรวมตัวกันเป็นพันธมิตรทางทหารสองฝ่ายคู่สงครามคือ ฝ่ายสัมพันธมิตร และฝ่ายอักษะ
  • 38. สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) (ต่อ) • ลักษณะของสงครามเป็น “สงครามแบบเบ็ดเสร็จ” • สงครามในครั้งนี้ได้ขยายสมรภูมิรบออกไปทั่วโลก ในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยครอบคลุมอาณาบริเวณ ทั้งในยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก และ มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีปและประเทศส่วนใหญ่ในโลก • สงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรปมีคนตาย ราว ๆ 70 ล้าน คน เป็นฝ่ายพันธมิตร ประมาณ 54 ล้านคน ทหารที่ เสียชีวิตมากที่สุดคือ โซเวียต คือ 10 ล้านคน พลเรือน ตายมากที่สุด คือเยอรมัน ที่ถูกฆ่าโดยนาซี (ในค่าย กักกัน) 12 ล้านคน และชาวจีน 7 ล้าน 5 แสนคน
  • 40. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 1. ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญา 2. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 3. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง 4. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ 5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ 6. ลัทธินิยมทางทหาร
  • 41. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 1. ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญา ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 มีสาเหตุมาจากประเทศชนะสงคราม และประเทศที่ แพ้สงครามต่างก็ไม่พอใจในข้อตกลง เพราะ สูญเสียผลประโยชน์ ไม่พอใจในผลประโยชน์ ที่ได้รับ โดยเฉพาะสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ที่เยอรมันไม่พอใจในสภาพที่ตนต้องถูกผูกมัด ด้วยสัญญา และต้องการได้ดินแดน ผลประโยชน์ และเกียรติภูมิที่สูญเสียไปกลับคืนมา หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซาย ฉบับภาษาอังกฤษ
  • 42. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ) 2. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เนื่องจากความไม่ยุติธรรมของ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ เกิดความรู้สึกอัปยศเสียศักดิ์ศรีของชาติ นาไปสู่การเกิดความรู้สึก ชาตินิยมรุนแรงให้แก่ชนชาติเยอรมัน ทาให้ผู้นาเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซีเพื่อสร้าง ประเทศให้ยิ่งใหญ่ เช่นเดียวกับ เบนิโต มุโสลินี ผู้นาอิตาลีหันไปใช้ลันทธิฟาสซิสต์ ซึ่ง เน้นความคิดชาตินิยมและขยายดินแดน รวมทั้งการนาสงครามเข้าไปในยุโรปต่างๆ ทาให้ เกิดกรณีพิพาทระหว่างประเทศและนาไปสู่สงคราม มุโสลินี, ฮิตเลอร์ ผู้นาสูงสุดของเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
  • 43. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ) 3. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบ เผด็จการ ปัญหาทางการเมือง และเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลาย ประเทศหันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลี นาไปสู่ การแบ่งกลุ่มประเทศ เพราะประเทศที่มีระบอบการปกครองเหมือนกันจะรวมกลุ่มกัน 4. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกลไกอานาจหรือกองทัพของ องค์การที่จะบังคับให้ประเทศใดปฏิบัติตามได้ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการและ ขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากประเทศมหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียด ไม่ได้ร่วมเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง จึงทาให้องค์การสันนิบาต เป็นเครื่องมือของ ประเทศที่ชนะใช้ลงโทษประเทศที่แพ้สงคราม
  • 44. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ) 5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งเป็นมหาอานาจเดิม ในทวีปยุโรปและเป็นประเทศที่ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอ่อนแอ ลงหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจากประสบกับความเสียหายในช่วงสงครามมาก ดังนั้นเมื่อมีประเทศที่เข้มแข็งทางทหารเกิดขึ้นและรุกรานประเทศหรือดินแดนที่อ่อนแอกว่า อังกฤษกับฝรั่งเศสจึงไม่พร้อมที่จะทาตนเป็นผู้ปกป้องได้ ดังนั้นจึงใช้นโยบายรอมชอม ผลก็ คือประเทศที่มีกาลังทหารที่เข้มแข็งและมีนโยบายรุกรานจะทาอะไรได้ตามความพอใจของ ตนเอง 6. ลัทธินิยมทางทหาร การแข่งขันในการสะสมอาวุธเพื่อสร้างแสนยานุภาพ ทาให้ประเทศมหาอานาจไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน
  • 45. วิกฤตการณ์สาคัญก่อนสงคราม 1. เยอรมนียกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ค.ศ. 1936 2. สงครามอิตาลีรุกรานเอธิโอเปีย ค.ศ. 1936 3. สงครามกลางเมืองสเปน ค.ศ. 1936 – 1939 4. เยอรมนีรวมออสเตรีย ค.ศ. 1938 5. เยอรมนีรวมเชคโกสโลวาเกีย ค.ศ. 1938 6. อิตาลียึดครองแอลเบเนีย ค.ศ. 1939 7. ปัญหาฉนวนโปแลนด์ ค.ศ. 1939 8. การขยายอานาจของญี่ปุ่นในเอเชีย ค.ศ. 1931 – 1939
  • 46. ชนวนระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 • กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์เมื่อ 1 กันยายน 1939 เนื่องจากโปแลนด์ ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่าดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ ได้ยื่นคาขาด ให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ
  • 47. การแบ่งกลุ่มของประเทศคู่สงคราม 1. ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ออสเตรีย – ฮังการี บัลแกเรีย และตุรกี 2. ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เซอร์เบีย
  • 48. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 • ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ มีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ ทาให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก ครั้งที่ 1
  • 49. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 1. ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 2 ทาให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 40 ล้าน คน นอกจากนี้ยังมี ผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงครามอื่น ๆ อีกเป็นจานวนมาก เช่น บาดเจ็บ ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาดอาหาร หายสาบสูญ เป็นต้น 2. ด้านการเมือง ประเทศผู้แพ้สงครามต้องเสียเกียรติภูมิ ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามต้องเสีย ดินแดน เสียอาณานิคม และต้องยังยินยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาต่างๆ ที่ฝ่ายชนะ สงครามวางเงื่อนไขให้ปฏิบัติตาม ดังนี้
  • 50. ผลกระทบของสงคราม 1. มีการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN :United Nations) เพื่อดาเนินงานแทน องค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพของโลกและให้กลุ่ม สมาชิกร่วมมือช่วย เหลือกัน และสนับสนุนสันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนา ประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความเข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริกาเข้าร่วม เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและมีกองทหารของสหประชาชาติ 2. การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ ประเทศที่เคยตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก ต่างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชีย และ แอฟริกา และ บางประเทศถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน เช่น เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม 3. สภาพเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
  • 51. ผลกระทบของสงคราม (ต่อ) 4. ความสูญเสียทางด้านสังคมและทางจิตวิทยา 5. เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต 6. เกิดสงครามเย็น (Cold War) และการแบ่งกลุ่มประเทศระหว่างโลกเสรี ประชาธิปไตยกับโลกคอมมิวนิสต์ 7. ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ มีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ทาให้เกิด ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 52. เหตุผลที่ไทยต้องเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 • ไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ญี่ปุ่นนาเรือรบบุกขึ้น ชายทะเลภาคใต้ของไทยโดยไม่ทันรู้ตัว รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน ทาพิธีเคารพ เอกราชกันและกัน • ผลของการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2ของประเทศไทย  ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญี่ปุ่นรบ  เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง  ไทยได้ดินแดนเชียงตุง และสี่จังหวัดภาคใต้ที่ต้องเสียแก่อังกฤษกลับมา แต่ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง  ไทยได้รับเกียรติเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
  • 53. อดอฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นาสูงสุดของเยอรมัน เขาได้ประกาศเสริมสร้างกองทัพ เยอรมันขึ้นใหม่ ซึ่งเท่ากับเป็นการฉีกสนธิสัญญาแวร์
  • 54. การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ • เป็นการโจมตีจักรวรรดิญี่ปุ่นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของ สหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง • เป็นระเบิดนิวเคลียร์เพียง 2 ลูกเท่านั้นที่นามาใช้ ในประวัติศาสตร์การทาสงคราม • การระเบิดทาให้มีผู้เสียชีวิตที่เป็นพลเรือนของ ฮิโระชิมะ 140,000 คนและที่นะงะซะกิ 80,000 คน • โดยนับถึงปลายปี พ.ศ. 2488 จานวนคนที่เสียชีวิตทันทีในวันที่ระเบิดลง มีจานวนประมาณครึ่งหนึ่งของจานวนที่กล่าวนี้ และในระยะต่อมาก็ยังมี ผู้เสียชีวิตด้วยการบาดเจ็บหรือจากการรับกัมมันตรังสีที่ถูกปลดปล่อยออกมา จากการระเบิดอีกนับหมื่นคน ผู้เสียชีวิตจากสารกัมมันตรังสี
  • 55. การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ (ต่อ) • หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นประกาศตกลงยอมแพ้ สงครามต่อฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 และลงนามในตรา สารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกที่นับเป็นการยุติสงครามโลก ครั้งที่ 2 อย่างเป็นทางการในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 • ส่วนนาซีเยอรมนีลงนามตราสารประกาศยอมแพ้และยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 ในทวีปยุโรปอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 • การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่นต้องยอมรับ หลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์
  • 56. การทิ้งระเบิดปรมาณู ของสหรัฐ ที่ฮิโรซิมา ประเทศญี่ปุ่น เป็นการยุติสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 59. ความหมายของสงครามเย็น • สงครามเย็น หมายถึง ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่าง สองอภิมหาอานาจ คือ อุดมการณ์ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของ สหรัฐอเมริกากับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ของสหภาพ โซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 • สงครามเย็นเป็นการช่วงชิงกันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการ โฆษณาชวนเชื่อ โดยไม่ได้ใช้กาลังทหารและอาวุธมาประหัตประหาร กัน
  • 60. สาเหตุของสงครามเย็น 1. การเปลี่ยนแปลงดุลทางอานาจของโลก สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ทาลายสถานะทางอานาจของมหาอานาจเดิมคือ เยอรมนี และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้แพ้สงคราม ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสเป็นชาติพันธมิตรที่ชนะสงคราม แต่อังกฤษก็ได้รับความบอบช้าทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจตกต่า ส่วนฝรั่งเศสถูก เยอรมนียึดครองประเทศเป็นเวลานาน 4 ปี ช่วงหลังสงครามสหรัฐอเมริกาจึงกลายเป็นชาติมหาอานาจที่มั่งคั่งที่สุดในโลก ส่วนสหภาพโซเวียตถึงแม้จะได้รับความบอบช้าแต่ก็ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว สหภาพ โซเวียตจึงก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอานาจคู่กับสหรัฐอเมริกาแทนชาติยุโรปตะวันตกและ ญี่ปุ่น
  • 62. • ศัตรูของเราจะไม่ใช่ภาพที่คมชัดเหมือนแต่ก่อนอีกแล้ว • เขาจะไม่มีอยู่ในแผนที่ • ไม่ได้แยกออกเป็นประเทศ • จะแยกกันออกเป็นหน่วยอิสระ • จะไม่เห็นเครื่องแบบ • จะไม่เห็นโครงสร้างองค์กร • จะไม่ได้โปร่งใสอีกต่อไป • ดูยากเพราะอยู่ในเงามืด
  • 63. • ไม่มีเริ่มต้นและสิ้นสุด • ไม่มีการประกาศสภาวะสงคราม • ไม่มีเขตหน้าไม่มีเขตภายใน • ไม่มีการประกาศว่าใครร่วมรบกับใคร • กองกาลังมีอยู่ทั่วไปทั้งประเทศที่เป็นมิตรปละประเทศที่เป้นศัตรู
  • 65. Global Research Professor Tim Anderson • ซาอุดิอราเบีย • กาตาร์ • ตุรกี • อิสราเอล • อังกฤษ • ฝรั่งเศส • สหรัฐอเมริกา
  • 66. กาลังอานาจด้านการทหาร • โครงสร้างของหน่วยบัญชาการ และการปกครองบังคับบัญชา • กาลังและการประกอบกาลัง • ที่ตั้งและการวางกาลัง • การระดมสรรพกาลัง • การส่งกาลังบารุง • พันธมิตรและมิตรประเทศ • ปริมาณและคุณภาพของกาลัง พล • ปริมาณและคุณภาพ ยุทโธปกรณ์ • หลักนิยมทางทหาร ค่าใช้จ่ายและงบประมาณทาง ทหาร ระดับการศึกษา ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีในหมู่ประชากรที่มี ผลต่อกาลังพลในกองทัพ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างทหารกับประชาชน การฝึก
  • 67. เครื่องมือทางการทหาร • การใช้อิทธิพลต่อท่าที พฤติกรรม และการ ปฏิบัติของประเทศอื่น • การใช้วิธีการทางทหาร สิ้นเปลืองและมี อันตรายมากกว่าวิธีอื่น ๆ • เป็นวิธีการสุดท้ายที่นาออกใช้ • วิวัฒนาการการผลิตอาวุธปัจจุบันทาให้การใช้ กาลังทหารมีผลดีและผลเสียมากขึ้น การป้องปราม ป้องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามทาอะไรที่ คุกคาม การป้องกันกับการป้องปราม เหมือนกันตรงที่มุ่งจะป้องกันประเทศ จากการถูกโจมตีด้วยกาลัง การป้องกันเป็นการยับยั้งโดยการใช้ กาลังทหารฝ่ายตรงข้าม การป้องปราม เป็นการยับยั้งที่จะ ทาลายล้างตอบโต้ ผลของการป้องปรามจะขึ้นอยู่กับ ความสามารถที่จะทาให้ฝ่ายตรงข้าม เชื่อว่า ประเทศตนมีทั้งกาลัง และ ความตั้งใจที่จะลงโทษอย่างรุนแรง การใช้เครื่องมือทางทหารจะเป็นไปใน ลักษณะของการบังคับข่มขู่หรือการ ลงโทษ การป้องกัน การใช้กาลังทหารทาการโจมตี หรือลด ความเสียหายของตนเมื่อถูกโจมตีในการ ป้องกัน ใช้กาลังผลักดันการถูกโจมตีเมื่อเกิดขึ้น หรือ ใช้โจมตีก่อนเมื่อเชื่อว่าตนจวนจะถูกโจมตีอยู่ แล้วหรือไม่มีทางหลีกเลี่ยงต่อการถูกโจมตี
  • 69. www.kpi.ac.th การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Religion,Culture Media Power Facebook, Twitter, VDOlink, Mobile Phone, TV, Radio National Power
  • 70. GLOBAL CONFLICT • Globalisation & Localisation • Hard Power & Soft Power • Americanization & Islamization • Capitalism & Socialism • High Technology & Low Technology • Tangible & Intangible • Physical & Mental or Spiritual • National Resource
  • 71. แนวคิดแบบ Hard Power • ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน • ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน • การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้ • ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
  • 72. แนวคิดแบบ Soft Power • กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก • การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก • จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก • ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก • มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทาง ศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง • เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ • ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
  • 73. สถานการณ์ด้านความมั่นคง • แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบ ด้วยอาวุธ • ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความ แตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมี มาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง • มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งใน ระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจ ขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพ และความมั่นคงของประเทศต่างๆ
  • 74. สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศเปลี่ยนไป • การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและพรมแดนลดความสาคัญ • เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน • โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น • ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ • การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้น ระหว่าง อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
  • 75. ทิศทางของสถานการณ์โลกในอนาคต • สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง • ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุก ภูมิภาค • ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่ รวดเร็ว • การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ • ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง • ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
  • 76. World Muslim Population General & Islamic Source Continent Population in 2003 Muslim Population in 2003 Muslim Percentage Africa 861.20 461.77 53.62 Asia 3830.10 1178.89 30.78 Europe 727.40 52.92 7.28 North America 323.10 6.78 2.10 South America 539.75 3.07 0.57 Oceania 32.23 0.60 1.86 Total 6313.78 1704.03 26.99 Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%** We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was 1704.03 million. **US Center For World Mission 1997 Report
  • 77. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองใน ลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่ • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
  • 78. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการ หรือกึ่งเผด็จการ) • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันใน ภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และ อิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐) • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศใน บริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุส เบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
  • 79. ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศตะวันตก • อิยิปต์ • โมร็อกโก • จอร์แดน • ซาอุดิอาระเบีย • ตูนิเซีย • ปากีสถาน • รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย • ประเทศมุสลิมในเอเซียคืออินโดนีเซีย และบูรไน
  • 80. ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก • มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน • ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” (Hamas) และ “ฮิซ โบเลาะห์ (Hezbollah) • มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและ กลุ่มประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ • ผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของ สหรัฐอเมริกา • อารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” เป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม” (ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations” ) • ผู้นามีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอา มาร์ กัดดาฟี • กฎระเบียบที่มีลักษณะเป็น “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศ หลายองค์การเช่น สหประชาชาติ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก องค์การการค้าระหว่างประเทศองค์การกาหนดมาตรฐาน
  • 81. สหรัฐอเมริกาและกลุ่มตะวันตกกับ “ชนมุสลิม” • มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ“ฮิซโบเลาะห์ รวมทั้ง มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่ม ประเทศตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ • ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎ หลักของศาสนามาใช้เป็นกฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด • วิถีชีวิตแบบตะวันตกโดยเฉพาะแบบอเมริกัน จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว จะพยายามทาลายขจัดกีดกัน โค่น ล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง • สังคมมุสลิมผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น เครื่องมือทางการเมือง เพื่อต่อต้านสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิว ขาวชาวคริสเตียน” ในลักษณะเช่นนี้ความเป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม” จะปรากาออกมาในแนวทางที่ แซมวล ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations”
  • 82. Muslim • ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 • กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ ยุโรป • หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และ เอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO) • ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบาย ต่างประเทศที่แตกต่างกัน • มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไป ตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้ง ประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) • มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก
  • 83. กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม 294 ล้านคน กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม 326.9 ล้านคน กลุ่มตะวันออกกลาง ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม 192.5 ล้านคน กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม 72.7 ล้านคน ไทย
  • 85.
  • 86. กบฏฮูตี ในเยเมน • คาเรียกร้องการช่วยเหลือของ ผู้นาเยเมน ต่อซาอุฯ ทาให้ถูกดึง เข้าไปสู่สถานการณ์เยเมนอย่าง เต็มตัว จนเป็น “สงครามตัวแทน” • อิหร่านซึ่งหนุนหลังผู้นากบฏฮูตีที่ นับถือนิกายชีอะห์ ในขณะที่ซาอุ ฯ สนับสนุนนิกายสุหนี่ • ซาอุฯ โจมตีทางอากาศถล่ม “กบฏฮูตี” ในเยเมน A Publication by www.elifesara.com 86
  • 87. A Publication by www.elifesara.com 87
  • 88. เหตุการณ์ในบัลติมอร์ รัฐแมรี่แลนด์ สหรัฐอเมริกา • เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีใน เมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บานปลายเป็นปัญหาระดับชาติ • ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้าย ประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถามเจ้าหน้าที่ถึงระบบประชาธิปไตยของ ประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน เกาะ แมนฮัตตัน • นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูก เจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้าสื่อมวลชน • การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุ ของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่ เมืองเฟอร์กูสัน รัฐมิสซูรี ที่สถานการณ์ บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ. A Publication by www.elifesara.com 88