SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
สงครามโลกครั้งที่ 1
World war I
จัดทาโดย
1.นางสาวนงนภัส ไกลถิ่น เลขที่ 17
2.นางสาวธัญญลักษณ์ นาวา เลขที่ 26
3.นางสาวปรารถนา พงศ์ปิยสกุล เลขที่ 28
4.นางสาวณิชารีย์ ไชยมงคล เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.12
เสนอ
คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล รหัสวิชา ส32102
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
สงครามโลกครั้งที่1 (ค.ศ.1914-1918)
เป็นความสั่นสะเทือนครั้งแรกของโลกในคริสต์วรรษที่ 20
มูลเหตุของสงคราม
คือ ความขัดแย้งกันระหว่างมหาอานาจของยุโรป 2 ค่าย คือ Triple Alliance ซึ่งประกอบด้วย
เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี กับฝ่าย Triple Entente ซึ่งประกอบด้วย บริเตนใหญ่ ฝรั่งเศส และ
รัสเซีย อันที่จริงระบบพันธมิตรหรือการแสวงหาพันธมิตรเพื่อสร้างความมั่นคงปลอดภัยให้กับตน เริ่มมา
ตั้งแต่สมัยบิสมาร์คเป็นผู้นาในการสร้างจักรวรรดินิยมเยอรมัน กล่าวคือเมื่อบิสมาร์ครบชนะฝรั่งเศส และ
ประกาศจักรวรรดิเยอรมันแล้วจึงดาเนินการตั้ง The Three Emperor’s League ซึ่งแสดงความเป็น
พันธมิตรระหว่างเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซียขึ้น ด้วยเจตนาสาคัญ ประการแรกคือป้องกันการแก้
แค้นของฝรั่งเศส ครั้นประจักษ์ในภายหลังว่าผลประโยชน์ของออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซียขัดกันจนทั้งสอง
ฝ่ายมิอาจดารงความเป็นพันธมิตรต่อกันได้ บิสมาร์คจึงชักชวนอิตาลีเข้ามาแทนรัสเซีย จึงเกิดเป็น Triple
Alliance ขึ้น อย่างไรก็ตามบิสมาร์คยังคงรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างเยอรมนีกับรุสเซียตลอดจน
มิตรภาพระหว่างเยอรมนีกับอังกฤษไว้ด้วยเพื่อฝรั่งเศสจะได้ถูกทิ้งอย่างโดดเดี่ยว
บิสมาร์คแผนที่แสดงกลุ่มมหาอานาจ
ครั้นบิสมาร์คหมดอานาจแล้ว จักรพรรดิเยอรมัน (Kaiser Wilhelm II) ทรงเลิกนโยบายเป็น
พันธมิตรกับรัสเซีย และสร้างความไม่พอใจให้กับอังกฤษด้วยการเริ่มโครงการขยายกองทัพเรือและขยาย
อิทธิพลเหนือดินแดนตะวันออก ฝรั่งเศสจึงได้โอกาสเสริมสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียและความเข้าใจอันดี
กับอังกฤษ และในที่สุดเมื่อทั้งสามมหาอานาจตกลงในความขัดแย้งเรื่องอาณานิคมที่เคยมีต่อกันได้แล้ว
จึงจัดตั้ง Triple Entente ขึ้นในค.ศ.1907 ความไม่ไว้วางใจ ความเกลียด ความกลัว ระหว่างพันธมิตรทั้ง
สองค่ายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสมาชิกของพันธมิตรทั้งสองค่ายขยายไปทั่วโลก และ
เพิ่มความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณแหลมบอลข่าน (Balkan) ดินแดนซึ่งมหาอานาจต่าง
ปรารถนาจะแสวงหาอานาจและขยายอานาจ
ภาพแผนที่แสงถึงการเปลี่ยนแปลงก่อนและ หลัง สงครามบอลข่านKaiser Wilhelm II
ชนวนของสงคราม
ในที่สุดสงครามที่ไม่มีใครปรารถนาก็อุบัติขึ้นในค.ศ.1914 จุดระเบิดของสงครามคือ การ
ฆาตกรรมมงกุฎราชกุมารออสเตรีย Archduke Francis Ferdinand เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1914
ฆาตกรรมครั้งนี้เป็นการวางแผนมีนายทหารชาวเซอร์บร่วมอยู่ด้วย และฆาตกรก็เป็นชาวเซอร์บ รัฐบาลอส
เตรียจึงตัดสินใจทาลายล้างเซอร์เบียให้ราบคาบและเมื่อได้แรงสนับสนุนจากเยอรมนีจึงยื่นข้อเรียกร้อง
(Ultimatum) ที่เซอร์เบียไม่อาจยอมรับได้ ออสเตรีย-ฮังการี จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบียและเริ่มบุก
รัสเซียมิอาจยอมให้เซอร์เบียถูกทาลาย จึงระดมพลเตรียมต่อสู้ เยอรมนีเรียกร้องมีให้รัสเซียและฝรั่งเศส
เกี่ยวข้อง ครั้นทั้งสองมหาอานาจไม่ปฏิบัติตาม เยอรมันนีจึงประกาศสงครามกับประเทศรัสเซีย( 1
สิงหาคม 1914) และฝรั่งเศส (3 สิงหาคม 1914) ตามลาดับแล้วจึงเคลื่อนกาลังเข้าละเมิดความเป็นกลาง
ของประเทศเบลเยี่ยมเพื่อขอเป็นทางผ่านในการบุกฝรั่งเศส
อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมัน( 4 สิงหาคม 1914) มหาอานาจในยุโรปจึงเข้าสู่สงคราม
ยกเว้นอิตาลีซึ่งเข้าร่วมเป็นฝ่ายพันธมิตรในปีรุ่งขึ้นค.ศ.1915
ฝ่ายเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ได้ตุรกีและบัลกาเลียเป็นพันธมิตรซึ่งรวมเรียกว่าฝ่าย
มหาอานาจกลาง (Central Power) ส่วนอังกฤษฝรั่งเศสและรัสเซีย ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันในนามว่าฝ่าย
พันธมิตร(TheAllies) ได้ประเทศต่างๆอีกหลายประเทศเข้าร่วมเป็นพันธมิตร รวมประเทศในทวีปเอเชีย
เช่น ญี่ปุ่น ไทย จีน และอื่นๆ ด้วย
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมในสงครามทางฝ่ายพันธมิตรเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ.1917 หลังจากที่
เยอรมนีประกาศใช้เรือดาน้าทาลายเรือข้าศึกและเรือชาติอื่นๆโดยไม่มีขอบเขตและเริ่มส่งอาวุธยุทโธปกรณ์
เสบียงอาหารและกาลังเข้าร่วมรบในยุโรป
สงครามสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลางซึ่งขอสงบศึกในวันที่ 11 พฤศจิกายน
1918
สงครามนาความเสียหายมากมายมาสู่มนุษย์และโลก เป็นความเสียหายชนิดที่ไม่เคยปรากฏใน
สงครามครั้งใดมาก่อน มหาอานาจในยุโรปต่างได้รับความหายนะอย่างที่ไม่ได้คาดไว้
การเจรจาเพื่อสันติภาพ
ประเทศไทยชนะทั้งหมด 32 ประเทศได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมสันติภาพ ณ กรุงปารีส ซึ่งเริ่ม
ขึ้นในเดือนมกราคม ค.ศ. 1919 แต่ผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการเจรจา รถตัดสินใจคือผู้นาของมหาอานาจทั้ง
3 (Big Three) อันได้แก่ ฝรั่งเศส อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ประชุมสันติภาพได้ตระหนักถึงความโหดร้าย
และหายนะของสงคราม จึงปรารถนาสันติภาพของโลก และในขณะเดียวกันก็ต้องการลงโทษผู้ผิดซึ่ง
หมายถึงฝ่ายมหาอานาจกลาง โดยเฉพาะ เยอรมนีในฐานะผู้ก่อสงคราม ในการเจรจาตกลงเพื่อสันติภาพที่
ประชุมยอมรับหลัก 14 ข้อ (TheFourteenpoints)ของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน(Woodrow Wilson)
แห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีสาระสาคัญพอสรุปได้คือ ให้สถาปนาระบบประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ ให้
ปรับปรุงเขตแดนของประเทศในยุโรปเสียใหม่ โดยยึดเอาเชื้อชาติของคนเป็นการกาหนด และอาการสาคัญ
ที่สุดคือให้จัดตั้งสันนิบาตชาติ (The League of Nation) เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศหลัก 14 ข้อ
ของประธานาธิบดีวิลสันเป็นความปรารถนาที่จะขจัดปัญหาต่างๆในยุโรปและในดินแดนต่างๆเพื่อธารง
รักษาไว้ซึ่งสันติภาพของโลก
Woodrow Wilson
The Fourteen points
ที่ประชุมได้ตกลงร่างสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซาย (TheTreaty of Versailles) สาหรับ
เยอรมนี และสนธิสัญญาสันติภาพอีก 4 ฉบับสาหรับพันธมิตรของเยอรมันนีประเทศเยอรมนีและพันธมิตร
ทั้ง 4 ต้องยอมรับผิดในฐานะเป็นผู้ก่อให้เกิดสงครามต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมากต้องเสีย
ดินแดนทั้งในยุโรปและในอาณานิคม ต้องลดกาลังทหารและอาวุธต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครองดินแดน
จนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อยด้วยเหตุที่ประเทศฝ่ายแพ้เหล่านี้ไม่ได้เข้าร่วมประชุม
แต่ถูกบังคับให้ลงนามยอมรับข้อตกลงของสนธิสัญญาซึ่งสารชนะเป็นผู้เสนอจึงเกิดความเครียดแค้นและ
ถือว่าถูกบีบบังคับให้รับคาบงการของมหาอานาจพันธมิตร
The Treaty of Versailles
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย
สันนิบาตชาติ ( The League ofNation)
ประธานาธิบดีวิลสันตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องมีความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะ
รักษาความมั่นคง ปลอดภัย และสันติภาพในโลก จึงได้เสนอให้สันนิบาตชาติเป็นข้อหนึ่งของสนธิสัญญา
แวร์ซายส์ สันนิบาตชาติจึงถือกาเนิดขึ้น บรรดาประเทศสมาชิกมีผู้แทนอยู่ใน สมัชชาใหญ่ (General
Assembly) มีสิทธิลงคะแนนเสียงประเทศละ 1 เสียง การบริหารงานของสันนิบาตชาติขึ้นอยู่กับ คณะ
มนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกประจา 5 ประเทศ และสมาชิกชั่วคราว 6 ประเทศ เลือกตั้งทุกๆ 3
ปีโดยสมัชชา นอกจากนั้นก็มี สานักงานเลขาธิการ (Secretariat) ทาหน้าที่ทางธุรการ สันนิบาตชาติยังมี
องค์การชานัญพิเศษ และศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (Permanent Court of International Justice)
หรือที่รู้จักกันในนามว่าศาลโลก ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ทาหน้าที่ตัดสินกรณีพิพาทระหว่างประเทศ
แผนที่ประเทศสมาชิกสันนิบาต
เครื่องหมายของ The League of Nation
Permanent Court of International Justice
สันนิบาตชาติไม่มีกองทหารใต้บังคับบัญชา เครื่องมืออย่างเดียวที่สันนิบาตชาติใช้ในการ
ป้องกันการรุกรานคือข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะรับประกันอธิปไตยของประเทศสมาชิก และที่จะร่วมมือ
กันลงโทษทางเศรษฐกิจแก่ประเทศที่รุกรานประเทศสมาชิก
ในที่สุดสันนิบาตชาติก็ประสบความล้มเหลวในการรักษาสันติภาพของโลก ดังที่ได้ประจักษ์แล้ว
ว่าสันนิบาตชาติไม่สามารถระงับกรณีพิพาทระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเมื่อมหาอานาจรุกรานประเทศเล็ก
เช่น กรณีอิตาลีรุกรานอบิสซีเนีย เป็นต้น ทั้งนี้นอกจากจะเป็นเพราะสันนิบาตชาติไม่มีกองทหารแล้ว ยังมี
สาเหตุที่สาคัญกว่านั้นคือ สันนิบาตชาติไม่ได้รับความร่วมมือจากมหาอานาจอย่างเต็มที่ เช่นสหรัฐอเมริกา
ปฏิเสธการเป็นสมาชิกสันนิบาตชาติ อย่างไรก็ตามในช่วงระยะเวลา 12 ปี สันนิบาตชาติก็ประสบผลสาเร็จ
ในด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมเช่นให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ลี้ภัยจานวนมาก ช่วยเหลือด้านการเงิน
แก่ประเทศที่ประสบภัยพิบัติ สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ เป็นต้น และที่สาคัญที่สุดก็คือ
สันนิบาต-ชาติเป็นก้าวสาคัญก้าวแรกของมนุษยชาติที่จะนาไปสู่ความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะ
รักษาความมั่นคง ปลอดภัย และสันติภาพในโลกและเป็นแบบอย่างของการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ
ในกาลต่อมา
คนที่ฉับพลันและสาคัญยิ่งประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ ชัยชนะของลัทธิ
คอมมิวนิสต์ในรัสเซีย ในช่วงระยะหลังสงครามโลก ขณะที่ผู้นาของชาติประชาธิปไตยตะวันตกพยายามที่
จะบูรณะฟื้นฟูประเทศต่างๆ ให้รอดพ้นจากภาวะวิกฤตอันเนื่องมาจากภัยพิบัติของสงครามอยู่นั้นผู้นา
คอมมิวนิสต์รัสเซียได้ดาเนินการทาลายล้างอารยธรรมตะวันตกอันมีรากฐานอยู่บนคริสต์ศาสนา
(Christianity) เสรีนิยม (Liberalism) และทุนนิยม (Capitalism) เพื่อสร้างโลกใหม่ตามแนวคิดของ
มาร์กซ์ (Marx) และเลนิน (Lenin) ผู้นาคอมมิวนิสต์รัสเซียเหล่านี้ประสบความสาเร็จในประเทศของ
ตนเองดังที่เราได้ทราบกันอยู่แล้ว แต่ความพยายามและแผนการสาหรับการปฏิวัติทั่วโลกเพื่อลบล้างระบบ
เดิมและสร้างระบบใหม่นั้นยังไม่ประสบผล อย่างไรก็ตาม ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์ในรัสเซียเป็นเรื่อง
สาคัญและมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อโรคโดยทั่วไป จึงสมควรจะได้นามาศึกษากัน
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
มาร์กซ์ (Marx) เลนิน (Lenin)
เมื่อ ค.ศ. 1917 ได้เกิดการปฏิวัติในรัสเซีย การปฏิวัติครั้งนี้เป็นผลมาจากความไม่พอใจระบอบ
การปกครองและสภาพสังคมที่สั่งสมกันมานานในหมู่ชาวรัสเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มปัญญาชน
(Intelligentsia) ผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการปฏิวัติและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์คือ
บอลเชวิค (Bolsheviks) ภายใต้การนาของเลนินผู้นาที่ฉลาดและสามารถ โอกาสที่พวกบอลเชวิครอคอย
เพื่อทาการปฏิวัติมาถึงใน ค.ศ. 1917 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ดาเนินไปได้ราว 3 ปี ขณะนั้นรัสเซียกาลัง
ได้รับความเสียหายในการรบ เพราะมิอาจต่อสู้กองทัพเยอรมันที่เหนือกว่าได้ ภายในประเทศประชาชน
ได้รับความเดือดร้อนอันเกิดจากสภาวะสงคราม การฉ้อราษฎร์บังหลวงและระบบการปกครองในขณะนั้น
ความเดือดร้อนและความไม่พอใจของประชาชนนาไปสู่การปฏิวัติ ณ เมืองเปโตรกราด (Petrogard) ใน
เดือนมีนาคม 1917 การปฏิวัติครั้งนี้ประสบผลในการล้มรัฐบาลของพระเจ้า ซาร์นิโคลัสที่ 2 และมีรัฐบาล
ใหม่ภายใต้การนาของเคเรนสกี้(Kerensky) ซึ่งเป็นรัฐบาลเสรีแบบกระฎุมพี (Bourgeios) และมีนโยบาย
ดาเนินสงครามกับเยอรมนีต่อไป
บอลเชวิค (Bolsheviks) เคเรนสกี้ (Kerensky)
แต่รัฐบาลใหม่ซึ่งขาดประสบการณ์ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหาต่างๆได้ ในแนวรบทหารหมด
กาลังใจ อาวุธยุทโธปกรณ์ขาดแคลน ส่วนภายในประเทศก็ยังมีความปั่นป่วนวุ่นวายอยู่ตลอดเวลา
เยอรมนีปรารถนาจะให้รัสเซียถอนตัวออกจากสงคราม จึงหาทางนาเลนินผู้กาลังถูกเนรเทศอยู่ที่
สวิตเซอร์แลนด์กับเข้าสู่ประเทศรัสเซีย เลนินจึงได้โอกาสต่อต้านรัฐบาลของเคเรนสกี้ที่อย่างเต็มที่ คาขวัญ
ของเลนินที่ว่าจะให้ "สันติภาพแก่กองทัพ ที่ดินแก่ชาวนา และโรงงานแก่กรรมกร" สามารถสร้างความนิยม
ในหมู่ทหาร ชาวนา และกรรมกรที่เรียกร้องสันติภาพและส่วนแบ่งในทรัพย์สินต่างๆ ในที่สุดเลยมินก็นา
พวกบอลเชวิคส์ล้มรัฐบาลและจัดตั้งรัฐบาลเผด็จการคอมมิวนิสต์ขึ้นแทน เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1917
นั้นเอง
รัฐบาลคอมมิวนิสต์ภายใต้การนาของเลนินขอเจรจาสงบศึกกับเยอรมันเป็นการด่วน แม้ว่า
รัสเซียจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบอย่างมาก รัสเซียก็ต้องยอมลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเเบรสต์-ลิตอฟสก์
(BrestLitovsk) กับเยอรมนี เพราะมิอาจต้านทานกาลังของเยอรมันได้
รัฐบาลบอลเชวิคส์ภายใต้การนาของเลนินต้องเผชิญความยากลาบากหลายประการ เช่น การ
เจรจายุติสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามกลางเมือง การแทรกแซงจากต่างชาติ ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหา
อื่นๆ แต่รัฐบาลก็นารัสเซียรอดพ้นมาได้ เพราะความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ไว้ ด้วยการใช้
มาตรการที่จาเป็นทุกวิถีทาง เช่น การใช้กาลังทหาร "แดง" ภายใต้การนาของทรอตสกี้(Trotsky) และการ
นาระบบเผด็จการมาใช้
ทรอตสกี้ (Trotsky)
สนธิสัญญาสันติภาพเเบรสต์-ลิตอฟสก์ (BrestLitovsk)
เมื่อยึดอานาจได้แล้ว และพรรคพวกของบอลเชวิคส์ของเขาได้เริ่มสร้างรัสเซียให้เป็นรัฐตาม
แบบของมาร์กซ์ (Marxist state) อานาจในการปกครองบ้านเมืองอยู่ในมือของกลุ่มบุคคลเพียงหยิบมือ
เดียวคือสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ ระบบทุนนิยมถูกทาลาย อุตสาหกรรมและการค้าถูกรวมให้อยู่ภายใต้
การบริหารของคณะกรรมการของพวกกรรมกรซึ่งขึ้นอยู่กับพรรคคอมมิวนิสต์ ที่ดินทั้งหมดถูกนามาเป็นของ
ชาติ แล้วมอบให้คณะกรรมการของบรรดาชาวนาตามท้องถิ่น ซึ่งจัดแบ่งให้ชาวนาแต่ละรายเข้าทากินอีกที
หนึ่ง พืชที่เหลือกินต้องเป็นของรัฐ ในด้านการสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ รัฐบาลคอมมิวนิสต์อาศัย
รัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ได้จัดตั้ง สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
(Russian Soviet Federal Socialist Republic) ประกอบด้วยแคว้นต่างๆ ในรัสเซีย ต่อมาเมื่อยึดได้แค้วน
ต่างๆมากขึ้น จึงจัดตั้ง สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics-USSR) ขึ้นเมื่อ ค.ศ.
1922 สหภาพโซเวียตได้ผนวกแคว้นต่างๆ จนในปัจจุบันนี้สหภาพโซเวียตด้วย 15 สาธารณรัฐด้วยกัน
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ธงชาติสหภาพโซเวียต
นโยบายต่างประเทศของสหภาพโซเวียตดูจะเป็นเรื่องที่โลกสนใจและกังวลใจที่สุด ทั้งนี้เพราะ
ไม่แน่ใจว่าโซเวียตจะดาเนินนโยบายอย่างไร สาหรับสหภาพโซเวียตเองนั้นเมื่อพวกบอลเชวิคส์ได้อานาจใน
รัสเซีย พวกเขาต่างมีความหวังว่าจะเกิดปฏิวัติทานองเดียวกับการปฏิวัติบอลเชวิคส์ในบรรดาประเทศยุโรป
เพื่อล้มรัฐบาลนายทุน ผู้นาบอลเชวิคส์เริ่มดาเนินการโฆษณาชวนเชื่อยุยงให้เกิดการปฏิวัติในต่างประเทศ
โดยเฉพาะในเยอรมนีซึ่งมีผลทาให้เกิดการปฏิวัติและจัดตั้งสาธารณรัฐเยอรมันขึ้น อนึ่งเพื่อเป็นผู้นา และให้
ความช่วยเหลือแก่ขบวนการสังคมนิยม และขบวนการคอมมิวนิสต์ในประเทศต่างๆ ตลอดจนเพื่อการ
ติดต่อประสานงานกับขบวนการดังกล่าวเพื่อให้ถึงเป้าหมายคือการปฏิวัติทั่วโลก พวกบอลเชวิคส์ได้จัดตั้ง
โคมินเทิร์น (Comintern) หรือองค์การคอมมิวนิสต์สากลขึ้นมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงมอสโก
ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐ-
สังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต ตราของโคมินเทิร์น
สหภาพโซเวียตและมหาอานาจตะวันตกมีความขัดแย้งกันในอุดมการ จึงมิได้มีความสัมพันธ์
เกี่ยวข้องกัน จนกระทั่งเมื่อฮิตเลอร์ได้อานาจในเยอรมนี และสหภาพโซเวียตเริ่มตระหนักถึงอันตรายจาก
การคุกคามของรัฐบาลนาซี สหภาพโซเวียตจึงเปลี่ยนท่าทีหันเข้าร่วมมือกับมหาอานาจประชาธิปไตย
ตะวันตก เริ่มด้วยการเข้าเป็นภาคีสมาชิกสันนิบาตชาติ (ค.ศ. 1934) ซึ่งนับเป็นการปูพื้นฐานสาหรับการ
เสริมสร้างความสัมพันธ์กับมหาอานาจตะวันตก ต่อมาก็ได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาช่วยเหลือกันและกัน
กับฝรั่งเศส (ค.ศ. 1935) นอกจากนั้นสหภาพโซเวียตยังได้เปลี่ยนแนวนโยบายของโคมินเทอร์นด้วย คือ
ประกาศนโยบายแนวร่วม (United Front) ให้พรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศต่างๆ เอาใจพวกสังคมนิยมและ
พวกเสรีประชาธิปไตย เพื่อก่อตั้งแนวร่วมต่อต้านฟาสซิสต์ขึ้น อย่างไรก็ตามความร่วมมือระหว่างสหภาพโซ
เวียต และประเทศเสรีประชาธิปไตยตะวันตกปรากฏอยู่ในช่วงระยะระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เท่านั้น
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่ดูจะน่ากลัวและเป็นพิษร้ายกว่าลัทธิคอมมิวนิสต์ก็คือ ลัทธิ
ฟาสซิสต์ (Fascism) ทั้งนี้เพราะลัทธิฟาสซิสต์เป็นพลังคุกคามเสรีประชาธิปไตยที่รุนแรงและฉลับพันกว่า
ทั้งยังเป็นขบวนการที่ทาลายข้อตกลงสันติภาพระหว่างประเทศ และก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มุสโส-
ลินี (Mussolini) เป็นผู้ก่อตั้งเผด็จการฟาสซิสต์ขึ้นในอิตาลีก่อน แต่ทว่าเผด็จการฟาสซิสต์ในเยอรมันและ
ในญี่ปุ่นกับกลายเป็นภาวะคุกคามที่น่าเกรงกลัวสาหรับโลกเสรี ดังที่เราได้ทราบกันมาแล้ว ในที่สุดประเทศ
มหาอานาจเผด็จการฟาสซิสต์ทั้ง 3 ก็ได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรต่อกันเรียกว่ามหาอานาจอักษะ (Berlin-
Rome-Tokyo-Axis) เพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์และเพื่อต่อต้านโลกเสรี
ผลร้ายอีกประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ ความอ่อนแอของบรรดาประเทศ
ประชาธิปไตยตะวันตก ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจที่เสื่อมโทรม สภาพการเมืองและสังคมที่วุ่นวาย
ทาให้ประเทศประชาธิปไตยตะวันตกอ่อนแอจนมิสามารถต่อต้าน เมื่ออารยธรรมตะวันตกอันมีรากฐานอยู่
บนคริสต์ศาสนา และเสรีนิยม ถูกลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิฟาสซิสต์ท้าทายและความสามารถที่จะ
อะลุ้มอล่วยและดารงไว้ซึ่งนโยบายรักษาสันติ (Appeasement policy) ของมหาอานาจตะวันตกนี้เอง ที่
เป็นส่วนนาโลกเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัย 4-5 (พิมพ์
ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยใหม่-ปัจจุบัน
(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2535
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นBeau Pitchaya
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-Kasidet Srifah
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2May Sirinan
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 Suchawalee Buain
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 

World War I

  • 1. สงครามโลกครั้งที่ 1 World war I จัดทาโดย 1.นางสาวนงนภัส ไกลถิ่น เลขที่ 17 2.นางสาวธัญญลักษณ์ นาวา เลขที่ 26 3.นางสาวปรารถนา พงศ์ปิยสกุล เลขที่ 28 4.นางสาวณิชารีย์ ไชยมงคล เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.12 เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์ รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล รหัสวิชา ส32102 โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
  • 3. มูลเหตุของสงคราม คือ ความขัดแย้งกันระหว่างมหาอานาจของยุโรป 2 ค่าย คือ Triple Alliance ซึ่งประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี กับฝ่าย Triple Entente ซึ่งประกอบด้วย บริเตนใหญ่ ฝรั่งเศส และ รัสเซีย อันที่จริงระบบพันธมิตรหรือการแสวงหาพันธมิตรเพื่อสร้างความมั่นคงปลอดภัยให้กับตน เริ่มมา ตั้งแต่สมัยบิสมาร์คเป็นผู้นาในการสร้างจักรวรรดินิยมเยอรมัน กล่าวคือเมื่อบิสมาร์ครบชนะฝรั่งเศส และ ประกาศจักรวรรดิเยอรมันแล้วจึงดาเนินการตั้ง The Three Emperor’s League ซึ่งแสดงความเป็น พันธมิตรระหว่างเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซียขึ้น ด้วยเจตนาสาคัญ ประการแรกคือป้องกันการแก้ แค้นของฝรั่งเศส ครั้นประจักษ์ในภายหลังว่าผลประโยชน์ของออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซียขัดกันจนทั้งสอง ฝ่ายมิอาจดารงความเป็นพันธมิตรต่อกันได้ บิสมาร์คจึงชักชวนอิตาลีเข้ามาแทนรัสเซีย จึงเกิดเป็น Triple Alliance ขึ้น อย่างไรก็ตามบิสมาร์คยังคงรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างเยอรมนีกับรุสเซียตลอดจน มิตรภาพระหว่างเยอรมนีกับอังกฤษไว้ด้วยเพื่อฝรั่งเศสจะได้ถูกทิ้งอย่างโดดเดี่ยว บิสมาร์คแผนที่แสดงกลุ่มมหาอานาจ
  • 4. ครั้นบิสมาร์คหมดอานาจแล้ว จักรพรรดิเยอรมัน (Kaiser Wilhelm II) ทรงเลิกนโยบายเป็น พันธมิตรกับรัสเซีย และสร้างความไม่พอใจให้กับอังกฤษด้วยการเริ่มโครงการขยายกองทัพเรือและขยาย อิทธิพลเหนือดินแดนตะวันออก ฝรั่งเศสจึงได้โอกาสเสริมสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียและความเข้าใจอันดี กับอังกฤษ และในที่สุดเมื่อทั้งสามมหาอานาจตกลงในความขัดแย้งเรื่องอาณานิคมที่เคยมีต่อกันได้แล้ว จึงจัดตั้ง Triple Entente ขึ้นในค.ศ.1907 ความไม่ไว้วางใจ ความเกลียด ความกลัว ระหว่างพันธมิตรทั้ง สองค่ายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสมาชิกของพันธมิตรทั้งสองค่ายขยายไปทั่วโลก และ เพิ่มความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณแหลมบอลข่าน (Balkan) ดินแดนซึ่งมหาอานาจต่าง ปรารถนาจะแสวงหาอานาจและขยายอานาจ ภาพแผนที่แสงถึงการเปลี่ยนแปลงก่อนและ หลัง สงครามบอลข่านKaiser Wilhelm II
  • 5. ชนวนของสงคราม ในที่สุดสงครามที่ไม่มีใครปรารถนาก็อุบัติขึ้นในค.ศ.1914 จุดระเบิดของสงครามคือ การ ฆาตกรรมมงกุฎราชกุมารออสเตรีย Archduke Francis Ferdinand เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1914 ฆาตกรรมครั้งนี้เป็นการวางแผนมีนายทหารชาวเซอร์บร่วมอยู่ด้วย และฆาตกรก็เป็นชาวเซอร์บ รัฐบาลอส เตรียจึงตัดสินใจทาลายล้างเซอร์เบียให้ราบคาบและเมื่อได้แรงสนับสนุนจากเยอรมนีจึงยื่นข้อเรียกร้อง (Ultimatum) ที่เซอร์เบียไม่อาจยอมรับได้ ออสเตรีย-ฮังการี จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบียและเริ่มบุก รัสเซียมิอาจยอมให้เซอร์เบียถูกทาลาย จึงระดมพลเตรียมต่อสู้ เยอรมนีเรียกร้องมีให้รัสเซียและฝรั่งเศส เกี่ยวข้อง ครั้นทั้งสองมหาอานาจไม่ปฏิบัติตาม เยอรมันนีจึงประกาศสงครามกับประเทศรัสเซีย( 1 สิงหาคม 1914) และฝรั่งเศส (3 สิงหาคม 1914) ตามลาดับแล้วจึงเคลื่อนกาลังเข้าละเมิดความเป็นกลาง ของประเทศเบลเยี่ยมเพื่อขอเป็นทางผ่านในการบุกฝรั่งเศส
  • 6. อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมัน( 4 สิงหาคม 1914) มหาอานาจในยุโรปจึงเข้าสู่สงคราม ยกเว้นอิตาลีซึ่งเข้าร่วมเป็นฝ่ายพันธมิตรในปีรุ่งขึ้นค.ศ.1915 ฝ่ายเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ได้ตุรกีและบัลกาเลียเป็นพันธมิตรซึ่งรวมเรียกว่าฝ่าย มหาอานาจกลาง (Central Power) ส่วนอังกฤษฝรั่งเศสและรัสเซีย ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันในนามว่าฝ่าย พันธมิตร(TheAllies) ได้ประเทศต่างๆอีกหลายประเทศเข้าร่วมเป็นพันธมิตร รวมประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น ไทย จีน และอื่นๆ ด้วย สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมในสงครามทางฝ่ายพันธมิตรเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ.1917 หลังจากที่ เยอรมนีประกาศใช้เรือดาน้าทาลายเรือข้าศึกและเรือชาติอื่นๆโดยไม่มีขอบเขตและเริ่มส่งอาวุธยุทโธปกรณ์ เสบียงอาหารและกาลังเข้าร่วมรบในยุโรป สงครามสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลางซึ่งขอสงบศึกในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918 สงครามนาความเสียหายมากมายมาสู่มนุษย์และโลก เป็นความเสียหายชนิดที่ไม่เคยปรากฏใน สงครามครั้งใดมาก่อน มหาอานาจในยุโรปต่างได้รับความหายนะอย่างที่ไม่ได้คาดไว้
  • 7. การเจรจาเพื่อสันติภาพ ประเทศไทยชนะทั้งหมด 32 ประเทศได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมสันติภาพ ณ กรุงปารีส ซึ่งเริ่ม ขึ้นในเดือนมกราคม ค.ศ. 1919 แต่ผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการเจรจา รถตัดสินใจคือผู้นาของมหาอานาจทั้ง 3 (Big Three) อันได้แก่ ฝรั่งเศส อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ประชุมสันติภาพได้ตระหนักถึงความโหดร้าย และหายนะของสงคราม จึงปรารถนาสันติภาพของโลก และในขณะเดียวกันก็ต้องการลงโทษผู้ผิดซึ่ง หมายถึงฝ่ายมหาอานาจกลาง โดยเฉพาะ เยอรมนีในฐานะผู้ก่อสงคราม ในการเจรจาตกลงเพื่อสันติภาพที่ ประชุมยอมรับหลัก 14 ข้อ (TheFourteenpoints)ของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน(Woodrow Wilson) แห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีสาระสาคัญพอสรุปได้คือ ให้สถาปนาระบบประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ ให้ ปรับปรุงเขตแดนของประเทศในยุโรปเสียใหม่ โดยยึดเอาเชื้อชาติของคนเป็นการกาหนด และอาการสาคัญ ที่สุดคือให้จัดตั้งสันนิบาตชาติ (The League of Nation) เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศหลัก 14 ข้อ ของประธานาธิบดีวิลสันเป็นความปรารถนาที่จะขจัดปัญหาต่างๆในยุโรปและในดินแดนต่างๆเพื่อธารง รักษาไว้ซึ่งสันติภาพของโลก Woodrow Wilson The Fourteen points
  • 8. ที่ประชุมได้ตกลงร่างสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซาย (TheTreaty of Versailles) สาหรับ เยอรมนี และสนธิสัญญาสันติภาพอีก 4 ฉบับสาหรับพันธมิตรของเยอรมันนีประเทศเยอรมนีและพันธมิตร ทั้ง 4 ต้องยอมรับผิดในฐานะเป็นผู้ก่อให้เกิดสงครามต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมากต้องเสีย ดินแดนทั้งในยุโรปและในอาณานิคม ต้องลดกาลังทหารและอาวุธต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครองดินแดน จนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อยด้วยเหตุที่ประเทศฝ่ายแพ้เหล่านี้ไม่ได้เข้าร่วมประชุม แต่ถูกบังคับให้ลงนามยอมรับข้อตกลงของสนธิสัญญาซึ่งสารชนะเป็นผู้เสนอจึงเกิดความเครียดแค้นและ ถือว่าถูกบีบบังคับให้รับคาบงการของมหาอานาจพันธมิตร The Treaty of Versailles การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย
  • 9. สันนิบาตชาติ ( The League ofNation) ประธานาธิบดีวิลสันตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องมีความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะ รักษาความมั่นคง ปลอดภัย และสันติภาพในโลก จึงได้เสนอให้สันนิบาตชาติเป็นข้อหนึ่งของสนธิสัญญา แวร์ซายส์ สันนิบาตชาติจึงถือกาเนิดขึ้น บรรดาประเทศสมาชิกมีผู้แทนอยู่ใน สมัชชาใหญ่ (General Assembly) มีสิทธิลงคะแนนเสียงประเทศละ 1 เสียง การบริหารงานของสันนิบาตชาติขึ้นอยู่กับ คณะ มนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกประจา 5 ประเทศ และสมาชิกชั่วคราว 6 ประเทศ เลือกตั้งทุกๆ 3 ปีโดยสมัชชา นอกจากนั้นก็มี สานักงานเลขาธิการ (Secretariat) ทาหน้าที่ทางธุรการ สันนิบาตชาติยังมี องค์การชานัญพิเศษ และศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (Permanent Court of International Justice) หรือที่รู้จักกันในนามว่าศาลโลก ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ทาหน้าที่ตัดสินกรณีพิพาทระหว่างประเทศ แผนที่ประเทศสมาชิกสันนิบาต เครื่องหมายของ The League of Nation Permanent Court of International Justice
  • 10. สันนิบาตชาติไม่มีกองทหารใต้บังคับบัญชา เครื่องมืออย่างเดียวที่สันนิบาตชาติใช้ในการ ป้องกันการรุกรานคือข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะรับประกันอธิปไตยของประเทศสมาชิก และที่จะร่วมมือ กันลงโทษทางเศรษฐกิจแก่ประเทศที่รุกรานประเทศสมาชิก ในที่สุดสันนิบาตชาติก็ประสบความล้มเหลวในการรักษาสันติภาพของโลก ดังที่ได้ประจักษ์แล้ว ว่าสันนิบาตชาติไม่สามารถระงับกรณีพิพาทระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเมื่อมหาอานาจรุกรานประเทศเล็ก เช่น กรณีอิตาลีรุกรานอบิสซีเนีย เป็นต้น ทั้งนี้นอกจากจะเป็นเพราะสันนิบาตชาติไม่มีกองทหารแล้ว ยังมี สาเหตุที่สาคัญกว่านั้นคือ สันนิบาตชาติไม่ได้รับความร่วมมือจากมหาอานาจอย่างเต็มที่ เช่นสหรัฐอเมริกา ปฏิเสธการเป็นสมาชิกสันนิบาตชาติ อย่างไรก็ตามในช่วงระยะเวลา 12 ปี สันนิบาตชาติก็ประสบผลสาเร็จ ในด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมเช่นให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ลี้ภัยจานวนมาก ช่วยเหลือด้านการเงิน แก่ประเทศที่ประสบภัยพิบัติ สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ เป็นต้น และที่สาคัญที่สุดก็คือ สันนิบาต-ชาติเป็นก้าวสาคัญก้าวแรกของมนุษยชาติที่จะนาไปสู่ความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะ รักษาความมั่นคง ปลอดภัย และสันติภาพในโลกและเป็นแบบอย่างของการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ ในกาลต่อมา
  • 11. คนที่ฉับพลันและสาคัญยิ่งประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ ชัยชนะของลัทธิ คอมมิวนิสต์ในรัสเซีย ในช่วงระยะหลังสงครามโลก ขณะที่ผู้นาของชาติประชาธิปไตยตะวันตกพยายามที่ จะบูรณะฟื้นฟูประเทศต่างๆ ให้รอดพ้นจากภาวะวิกฤตอันเนื่องมาจากภัยพิบัติของสงครามอยู่นั้นผู้นา คอมมิวนิสต์รัสเซียได้ดาเนินการทาลายล้างอารยธรรมตะวันตกอันมีรากฐานอยู่บนคริสต์ศาสนา (Christianity) เสรีนิยม (Liberalism) และทุนนิยม (Capitalism) เพื่อสร้างโลกใหม่ตามแนวคิดของ มาร์กซ์ (Marx) และเลนิน (Lenin) ผู้นาคอมมิวนิสต์รัสเซียเหล่านี้ประสบความสาเร็จในประเทศของ ตนเองดังที่เราได้ทราบกันอยู่แล้ว แต่ความพยายามและแผนการสาหรับการปฏิวัติทั่วโลกเพื่อลบล้างระบบ เดิมและสร้างระบบใหม่นั้นยังไม่ประสบผล อย่างไรก็ตาม ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์ในรัสเซียเป็นเรื่อง สาคัญและมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อโรคโดยทั่วไป จึงสมควรจะได้นามาศึกษากัน ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 มาร์กซ์ (Marx) เลนิน (Lenin)
  • 12. เมื่อ ค.ศ. 1917 ได้เกิดการปฏิวัติในรัสเซีย การปฏิวัติครั้งนี้เป็นผลมาจากความไม่พอใจระบอบ การปกครองและสภาพสังคมที่สั่งสมกันมานานในหมู่ชาวรัสเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มปัญญาชน (Intelligentsia) ผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการปฏิวัติและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์คือ บอลเชวิค (Bolsheviks) ภายใต้การนาของเลนินผู้นาที่ฉลาดและสามารถ โอกาสที่พวกบอลเชวิครอคอย เพื่อทาการปฏิวัติมาถึงใน ค.ศ. 1917 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ดาเนินไปได้ราว 3 ปี ขณะนั้นรัสเซียกาลัง ได้รับความเสียหายในการรบ เพราะมิอาจต่อสู้กองทัพเยอรมันที่เหนือกว่าได้ ภายในประเทศประชาชน ได้รับความเดือดร้อนอันเกิดจากสภาวะสงคราม การฉ้อราษฎร์บังหลวงและระบบการปกครองในขณะนั้น ความเดือดร้อนและความไม่พอใจของประชาชนนาไปสู่การปฏิวัติ ณ เมืองเปโตรกราด (Petrogard) ใน เดือนมีนาคม 1917 การปฏิวัติครั้งนี้ประสบผลในการล้มรัฐบาลของพระเจ้า ซาร์นิโคลัสที่ 2 และมีรัฐบาล ใหม่ภายใต้การนาของเคเรนสกี้(Kerensky) ซึ่งเป็นรัฐบาลเสรีแบบกระฎุมพี (Bourgeios) และมีนโยบาย ดาเนินสงครามกับเยอรมนีต่อไป บอลเชวิค (Bolsheviks) เคเรนสกี้ (Kerensky)
  • 13. แต่รัฐบาลใหม่ซึ่งขาดประสบการณ์ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหาต่างๆได้ ในแนวรบทหารหมด กาลังใจ อาวุธยุทโธปกรณ์ขาดแคลน ส่วนภายในประเทศก็ยังมีความปั่นป่วนวุ่นวายอยู่ตลอดเวลา เยอรมนีปรารถนาจะให้รัสเซียถอนตัวออกจากสงคราม จึงหาทางนาเลนินผู้กาลังถูกเนรเทศอยู่ที่ สวิตเซอร์แลนด์กับเข้าสู่ประเทศรัสเซีย เลนินจึงได้โอกาสต่อต้านรัฐบาลของเคเรนสกี้ที่อย่างเต็มที่ คาขวัญ ของเลนินที่ว่าจะให้ "สันติภาพแก่กองทัพ ที่ดินแก่ชาวนา และโรงงานแก่กรรมกร" สามารถสร้างความนิยม ในหมู่ทหาร ชาวนา และกรรมกรที่เรียกร้องสันติภาพและส่วนแบ่งในทรัพย์สินต่างๆ ในที่สุดเลยมินก็นา พวกบอลเชวิคส์ล้มรัฐบาลและจัดตั้งรัฐบาลเผด็จการคอมมิวนิสต์ขึ้นแทน เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1917 นั้นเอง
  • 14. รัฐบาลคอมมิวนิสต์ภายใต้การนาของเลนินขอเจรจาสงบศึกกับเยอรมันเป็นการด่วน แม้ว่า รัสเซียจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบอย่างมาก รัสเซียก็ต้องยอมลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเเบรสต์-ลิตอฟสก์ (BrestLitovsk) กับเยอรมนี เพราะมิอาจต้านทานกาลังของเยอรมันได้ รัฐบาลบอลเชวิคส์ภายใต้การนาของเลนินต้องเผชิญความยากลาบากหลายประการ เช่น การ เจรจายุติสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามกลางเมือง การแทรกแซงจากต่างชาติ ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหา อื่นๆ แต่รัฐบาลก็นารัสเซียรอดพ้นมาได้ เพราะความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ไว้ ด้วยการใช้ มาตรการที่จาเป็นทุกวิถีทาง เช่น การใช้กาลังทหาร "แดง" ภายใต้การนาของทรอตสกี้(Trotsky) และการ นาระบบเผด็จการมาใช้ ทรอตสกี้ (Trotsky) สนธิสัญญาสันติภาพเเบรสต์-ลิตอฟสก์ (BrestLitovsk)
  • 15. เมื่อยึดอานาจได้แล้ว และพรรคพวกของบอลเชวิคส์ของเขาได้เริ่มสร้างรัสเซียให้เป็นรัฐตาม แบบของมาร์กซ์ (Marxist state) อานาจในการปกครองบ้านเมืองอยู่ในมือของกลุ่มบุคคลเพียงหยิบมือ เดียวคือสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ ระบบทุนนิยมถูกทาลาย อุตสาหกรรมและการค้าถูกรวมให้อยู่ภายใต้ การบริหารของคณะกรรมการของพวกกรรมกรซึ่งขึ้นอยู่กับพรรคคอมมิวนิสต์ ที่ดินทั้งหมดถูกนามาเป็นของ ชาติ แล้วมอบให้คณะกรรมการของบรรดาชาวนาตามท้องถิ่น ซึ่งจัดแบ่งให้ชาวนาแต่ละรายเข้าทากินอีกที หนึ่ง พืชที่เหลือกินต้องเป็นของรัฐ ในด้านการสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ รัฐบาลคอมมิวนิสต์อาศัย รัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ได้จัดตั้ง สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (Russian Soviet Federal Socialist Republic) ประกอบด้วยแคว้นต่างๆ ในรัสเซีย ต่อมาเมื่อยึดได้แค้วน ต่างๆมากขึ้น จึงจัดตั้ง สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics-USSR) ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1922 สหภาพโซเวียตได้ผนวกแคว้นต่างๆ จนในปัจจุบันนี้สหภาพโซเวียตด้วย 15 สาธารณรัฐด้วยกัน ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ธงชาติสหภาพโซเวียต
  • 16. นโยบายต่างประเทศของสหภาพโซเวียตดูจะเป็นเรื่องที่โลกสนใจและกังวลใจที่สุด ทั้งนี้เพราะ ไม่แน่ใจว่าโซเวียตจะดาเนินนโยบายอย่างไร สาหรับสหภาพโซเวียตเองนั้นเมื่อพวกบอลเชวิคส์ได้อานาจใน รัสเซีย พวกเขาต่างมีความหวังว่าจะเกิดปฏิวัติทานองเดียวกับการปฏิวัติบอลเชวิคส์ในบรรดาประเทศยุโรป เพื่อล้มรัฐบาลนายทุน ผู้นาบอลเชวิคส์เริ่มดาเนินการโฆษณาชวนเชื่อยุยงให้เกิดการปฏิวัติในต่างประเทศ โดยเฉพาะในเยอรมนีซึ่งมีผลทาให้เกิดการปฏิวัติและจัดตั้งสาธารณรัฐเยอรมันขึ้น อนึ่งเพื่อเป็นผู้นา และให้ ความช่วยเหลือแก่ขบวนการสังคมนิยม และขบวนการคอมมิวนิสต์ในประเทศต่างๆ ตลอดจนเพื่อการ ติดต่อประสานงานกับขบวนการดังกล่าวเพื่อให้ถึงเป้าหมายคือการปฏิวัติทั่วโลก พวกบอลเชวิคส์ได้จัดตั้ง โคมินเทิร์น (Comintern) หรือองค์การคอมมิวนิสต์สากลขึ้นมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงมอสโก ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐ- สังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต ตราของโคมินเทิร์น
  • 17. สหภาพโซเวียตและมหาอานาจตะวันตกมีความขัดแย้งกันในอุดมการ จึงมิได้มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องกัน จนกระทั่งเมื่อฮิตเลอร์ได้อานาจในเยอรมนี และสหภาพโซเวียตเริ่มตระหนักถึงอันตรายจาก การคุกคามของรัฐบาลนาซี สหภาพโซเวียตจึงเปลี่ยนท่าทีหันเข้าร่วมมือกับมหาอานาจประชาธิปไตย ตะวันตก เริ่มด้วยการเข้าเป็นภาคีสมาชิกสันนิบาตชาติ (ค.ศ. 1934) ซึ่งนับเป็นการปูพื้นฐานสาหรับการ เสริมสร้างความสัมพันธ์กับมหาอานาจตะวันตก ต่อมาก็ได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาช่วยเหลือกันและกัน กับฝรั่งเศส (ค.ศ. 1935) นอกจากนั้นสหภาพโซเวียตยังได้เปลี่ยนแนวนโยบายของโคมินเทอร์นด้วย คือ ประกาศนโยบายแนวร่วม (United Front) ให้พรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศต่างๆ เอาใจพวกสังคมนิยมและ พวกเสรีประชาธิปไตย เพื่อก่อตั้งแนวร่วมต่อต้านฟาสซิสต์ขึ้น อย่างไรก็ตามความร่วมมือระหว่างสหภาพโซ เวียต และประเทศเสรีประชาธิปไตยตะวันตกปรากฏอยู่ในช่วงระยะระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เท่านั้น
  • 18. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่ดูจะน่ากลัวและเป็นพิษร้ายกว่าลัทธิคอมมิวนิสต์ก็คือ ลัทธิ ฟาสซิสต์ (Fascism) ทั้งนี้เพราะลัทธิฟาสซิสต์เป็นพลังคุกคามเสรีประชาธิปไตยที่รุนแรงและฉลับพันกว่า ทั้งยังเป็นขบวนการที่ทาลายข้อตกลงสันติภาพระหว่างประเทศ และก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มุสโส- ลินี (Mussolini) เป็นผู้ก่อตั้งเผด็จการฟาสซิสต์ขึ้นในอิตาลีก่อน แต่ทว่าเผด็จการฟาสซิสต์ในเยอรมันและ ในญี่ปุ่นกับกลายเป็นภาวะคุกคามที่น่าเกรงกลัวสาหรับโลกเสรี ดังที่เราได้ทราบกันมาแล้ว ในที่สุดประเทศ มหาอานาจเผด็จการฟาสซิสต์ทั้ง 3 ก็ได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรต่อกันเรียกว่ามหาอานาจอักษะ (Berlin- Rome-Tokyo-Axis) เพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์และเพื่อต่อต้านโลกเสรี
  • 19. ผลร้ายอีกประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ ความอ่อนแอของบรรดาประเทศ ประชาธิปไตยตะวันตก ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจที่เสื่อมโทรม สภาพการเมืองและสังคมที่วุ่นวาย ทาให้ประเทศประชาธิปไตยตะวันตกอ่อนแอจนมิสามารถต่อต้าน เมื่ออารยธรรมตะวันตกอันมีรากฐานอยู่ บนคริสต์ศาสนา และเสรีนิยม ถูกลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิฟาสซิสต์ท้าทายและความสามารถที่จะ อะลุ้มอล่วยและดารงไว้ซึ่งนโยบายรักษาสันติ (Appeasement policy) ของมหาอานาจตะวันตกนี้เอง ที่ เป็นส่วนนาโลกเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 20. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัย 4-5 (พิมพ์ ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยใหม่-ปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 บรรณานุกรม