SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
เรื่อง สงครามโลก
ครั้งที่ 1
จัดทำาโดย
ครู มนัญชยา อัมรินทร์
สงครามโลกครั้ง
ที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้ง
ที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หรือที่มัก
เรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหา
สงคราม ก่อน ค.ศ. 1939 เป็นสงคราม
ใหญ่ที่มีศูนย์กลางในยุโรประหว่าง
วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึง 11
พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ทุกประเทศ
มหาอำานาจของโลกเกี่ยวพันใน
สงครามออกเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร
และฝ่ายมหาอำานาจกลางพันธมิตร
ทั้งสองมีการจัดระเบียบใหม่ และ
ขยายตัวเมื่อมีชาติเข้าสู่สงครามมาก
ขึ้น ท้ายสุด มีทหารกว่า 70 ล้านนาย
สาเหตุระยะยาวของสงคราม
รวมถึงนโยบายต่างประเทศแบบ
จักรวรรดินิยมของมหาอำานาจ
ยุโรปทั้งหลาย อย่างจักรวรรดิ
เยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-
ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน
จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิอังกฤษ
ฝรั่งเศสและอิตาลี ส่วนการลอบ
ปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรานซ์
เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย
รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-
ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.
1914 โดย กัฟรีโล ปรินซีป นัก
ชาตินิยมยูโกสลาฟ เป็นชนวนเหตุ
ใกล้ชิดของสงคราม ออสเตรีย-
เส้นทางของสงคราม
การปะทะกันครั้งแรก ๆ ของ
สงครามเกิดขึ้นในกองทัพ
อาณานิคมอังกฤษ ฝรั่งเศสและ
เยอรมนีในแอฟริกา วันที่ 7
สิงหาคม กองทัพฝรั่งเศสและ
อังกฤษรุกรานโตโกแลนด์ อัน
เป็นดินแดนในอารักขาของ
เยอรมนี วันที่ 10 สิงหาคม
กองทัพเยอรมันในแอฟริกา
ตะวันตกเฉียงใต้โจมตี
แอฟริกาใต้การต่อสู้ประปราย
และป่าเถื่อนดำาเนินต่อไปกระทั่ง
กองทัพเซอร์เบียสู้รบในยุทธการเซอร์
กับออสเตรีย-ฮังการีฝ่ายรุกราน เริ่มตั้งแต่
วันที่ 12 สิงหาคม โดยยึดตำาแหน่งป้องกัน
ตามด้านใต้ของแม่นำ้าดรินาและซาวาอีก
สองสัปดาห์ถัดมา การโจมตีของออสเตรีย
ถูกตีโต้ตอบกลับไปโดยประสบความสูญเสีย
อย่างหนัก นับเป็นชัยชนะสำาคัญครั้งแรก
ของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามและทำาลาย
สงครามขั้นต้น
ยุทธวิธีทางทหารที่ใช้กันช่วงก่อน
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งล้าหลังกว่าความ
ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอยู่มากนัก ความ
ก้าวหน้าเหล่านี้ทำาให้สามารถพัฒนาระบบ
ป้องกันอันน่าทึ่ง ซึ่งยุทธวิธีทางทหารอันล้า
สมัยไม่สามารถเจาะทะลวงได้ตลอดช่วงเวลา
ส่วนใหญ่ของสงคราม ลวดหนาม เป็นเครื่อง
กีดขวางสำาคัญในการยับยั้งคลื่นมนุษย์ทหาร
ราบ ปืนใหญ่ ซึ่งมีประสิทธิภาพร้ายแรงถึงตาย
กว่าในคริสต์ทศวรรษ 1870 เมื่อใช้ร่วมกับปืน
กลแล้ว ทำาให้การเคลื่อนทัพผ่านพื้นที่เปิดนั้น
เป็นไปได้ยากยิ่ง
ฝ่ายเยอรมนีเริ่มใช้แก๊สพิษซึ่งต่อมาทั้ง
สองฝ่ายได้นำามาใช้อย่างรวดเร็ว แม้ว่าแก๊ส
พิษจะไม่เคยถูกพิสูจน์ว่าเป็นปัจจัยเด็ดขาดใน
การเอาชนะศึก แต่ผลกระทบของแก๊สพิษนั้น
โหดร้าย ทำาให้ผู้ได้รับแก๊สเสียชีวิตอย่างช้า ๆ
และทรมาน และแก๊สพิษได้กลายมาเป็นความ
น่าสะพรึงกลัวที่เป็นที่หวาดกลัวกันและเป็นที่
จดจำาดีที่สุดของสงคราม ผู้บัญชาการทั้งสอง
สงครามทางทะเล
เมื่อสงครามเริ่มต้น
จักรวรรดิเยอรมันมีเรือลาด
ตระเวนกระจัดกระจายอยู่ทั่ว
โลก ซึ่งเรือบางลำาในจำานวนนี้
ได้ถูกใช้โจมตีการเดินเรือ
พาณิชย์ฝ่ายสัมพันธมิตรต่อมา
ฝ่ายราชนาวีอังกฤษได้
พยายามตามล่าเรือรบเหล่านี้
อย่างเป็นระบบ แต่ก็ยังอับอาย
จากความไร้ความสามารถใน
การคุ้มครองการเดินเรือฝ่าย
สัมพันธมิตร ตัวอย่างเช่น เรือ
ลาดตระเวนเบาเยอรมนี เอส
อย่างไรก็ตาม กอง
เรือเอเชียตะวันออกของ
เยอรมนีส่วนใหญ่ ซึ่ง
ประกอบด้วยเรือลาด
ตระเวนหุ้มเกราะสองลำา
เรือลาดตระเวนเบาสองลำา
และเรือขนส่งสองลำา ไม่ได้
รับคำาสั่งให้โจมตีการเดิน
เรือแต่อย่างใด และกำาลัง
อยู่ระหว่างแล่นกลับ
เยอรมนีเมื่อกองเรือเผชิญ
กับเรือรบฝรั่งเศส กองเรือ
เยอรมัน พร้อมด้วยเรือเด
รสเดน จมเรือลาดตระเวน
เขตสงครามใต้
เมื่อต้องเผชิญหน้ากับรัสเซีย ออสเตรีย-ฮังการี
จึงสามารถแบ่งกองทัพโจมตีเซอร์เบียได้เพียง
หนึ่งในสาม หลังประสบความสูญเสียอย่างหนัก
ออสเตรียก็สามารถยึดครองเมืองหลวงเบลเกรด
ของเซอร์เบียได้ช่วงหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การ
ตีโต้ตอบของเซอร์เบียในยุทธการคอลูบารา ได้
ขับออสเตรียออกจากประเทศเมื่อถึงปลาย ค.ศ.
1914 ในช่วงสิบเดือนแรกของ ค.ศ. 1915
ออสเตรีย-ฮังการีใช้ทหารกองหนุนส่วนใหญ่สู้
รบกับอิตาลี แต่ทูตเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี
สามารถชักชวนให้บัลแกเรียเข้าร่วมโจมตีเซ
อร์เบีย จังหวัดสโลวีเนีย โครเอเชียและบอสเนีย
เซอร์เบียถูกยึดครองนานกว่าหนึ่งเดือนเล็ก
น้อย เมื่อฝ่ายมหาอำานาจกลางเริ่มโจมตีทางเหนือ
ตั้งแต่เดือนตุลาคม อีกสี่วันถัดมา บัลแกเรียร่วม
โจมตีจากทางตะวันออก กองทัพเซอร์เบีย ซึ่งสู้รบ
บนสองแนวรบและแน่นอนว่าต้องเผชิญหน้ากับ
ความพ่ายแพ้ ได้ถอยทัพไปยังอัลเบเนีย และหยุด
ยั้งเพียงครั้งเดียวเพื่อป้องกันการโจมตีของ
บัลแกเรีย ชาวเซิร์บประสบความพ่ายแพ้ใน
ยุทธการโคโซโว มอนเตเนโกรช่วยคุ้มกันการล่า
การเข้าร่วม
ของอิตาลี
อิตาลีเป็นพันธมิตรกับ
เยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี
ตั้งแต่ ค.ศ. 1882 โดยเป็นภาคี
ของไตรพันธมิตร อย่างไร
ก็ตาม อิตาลีนั้นมีเจตนาของ
ตนบนพื้นที่ของออสเตรียใน
เตรนตีโน อิสเตรียและดัลมา
เทีย อิตาลีได้แอบทำาสนธิ
สัญญาอย่างลับ ๆ กับฝรั่งเศส
ใน ค.ศ. 1902 ซึ่งเป็นการ
ลบล้างพันธมิตรเก่าอย่างสิ้น
เชิง ในตอนต้นของสงคราม
รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการี
เริ่มเจรจาเพื่อพยายามจะให้
อิตาลีวางตัวเป็นกลางใน
สงคราม โดยเสนอ
อาณานิคมตูนิเซียของ
ฝรั่งเศสให้เป็นการตอบแทน
ซึ่งทางฝ่ายสัมพันธมิตรก็ยื่น
ข้อเสนอซ้อนโดยสัญญาว่า
จะอิตาลีจะได้ไทรอลใต้ จู
เลียนมาร์ช และดินแดนบน
ชายฝั่งดัลมาเทียหลัง
ออสเตรีย-ฮังการีพ่ายแพ้ ข้อ
เสนอดังกล่าวทำาให้เป็น
ทางการในสนธิสัญญา
การเข้าร่วมของโรมาเนีย
โรมาเนียได้เป็นพันธมิตรกับ
ฝ่ายมหาอำานาจกลางตั้งแต่ ค.ศ.
1882 อย่างไรก็ตาม เมื่อสงคราม
เริ่มต้น โรมาเนียได้ประกาศตน
เป็นกลาง โดยให้เหตุผลว่า
ออสเตรีย-ฮังการีเองที่เป็นฝ่าย
ประกาศสงครามต่อเซอร์เบีย และ
โรมาเนียไม่มีข้อผูกมัดที่จะต้อง
เข้าสู่สงคราม เมื่อฝ่ายไตรภาคีให้
สัญญาว่าจะยกดินแดนขนาดใหญ่
ทางตะวันออกของฮังการี (ทราน
ซิลเวเนียและบานัท) ซึ่งมี
ประชากรโรมาเนียขนาดใหญ่
การรุกของโรมาเนีย
ประสบความสำาเร็จในช่วง
ต้น โดยสามารถผลักดัน
ทหารออสเตรีย-ฮังการีใน
ทรานซิลเวเนียออกไปได้
แต่การตีโต้ตอบของฝ่าย
มหาอำานาจกลางขับ
กองทัพรัสเซีย-โรมาเนีย
และเสียกรุงบูคาเรสต์เมื่อ
วันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1916
การสู้รบในมอลโดวา
ดำาเนินต่อไปใน ค.ศ. 1917
ซึ่งจบลงด้วยการคุมเชิงกัน
บทบาทของอินเดีย
สงครามเริ่มต้นโดยสห
ราชอาณาจักรได้รับความ
จงรักภักดีและความปรารถนา
ดีอย่างที่ไม่เคยปรากฏมา
ก่อนจากภายในเหล่าผู้นำา
ทางการเมืองกระแสหลัก ตรง
ข้ามกับอังกฤษซึ่งหวาดกลัว
การปฏิวัติของชาวอินเดีย อัน
ที่จริงแล้วกองทัพอินเดียมี
กำาลังพลเหนือกว่ากองทัพ
อังกฤษเมื่อสงครามเริ่มต้น
ใหม่ ๆ อินเดียภายใต้การ
ปกครองของอังกฤษสนับสนุน
สหราชอาณาจักร
ทำาให้ชาวอินเดียผิด
หวังโดยไม่ให้การ
ปกครองตนเอง นำาไปสู่
ยุคคานธีใน
ประวัติศาสตร์อินเดีย
ทหารและแรงงาน
อินเดียกว่า 1.3 ล้านคน
ถูกส่งไปปฏิบัติในยุโรป
แอฟริกาและ
ตะวันออกกลาง ขณะที่
ทั้งรัฐบาลอินเดียและ
เจ้าชายส่งเสบียง
อาหาร เงินและเครื่อง
แนวรบด้านตะวันออก
ขณะที่สถานการณ์ในแนวรบด้าน
ตะวันตกยังคุมเชิงกันอยู่ สงครามยัง
ดำาเนินต่อไปในแนวรบด้านตะวันออก
แผนเดิมของรัสเซียกำาหนดให้รุกราน
กาลิเซียของออสเตรียและปรัสเซีย
ตะวันออกของเยอรมนีพร้อมกัน แม้ว่า
การรุกขั้นต้นเข้าไปในกาลิเซียของ
รัสเซียจะประสบความสำาเร็จใหญ่หลวง
แต่กองทัพที่ส่งไปโจมตีปรัสเซียตะวัน
ออกถูกขับกลับมาโดยฮินเดนบูร์กและลู
เดนดอร์ฟที่ทันเนนแบร์กและทะเลสาบ
มาซูเรียนในเดือนสิงหาคมและ
กันยายน ค.ศ. 1914ฐานอุตสาหกรรมที่
การปฏิวัติรัสเซีย
แม้ความสำาเร็จในกาลิเซียตะวัน
ออกระหว่างการรุกบรูซิลอฟเมื่อเดือน
มิถุนายน ค.ศ. 1916 แต่ความไม่พอใจ
กับการชี้นำาสู่สงครามของรัฐบาล
รัสเซียเพิ่มมากขึ้น ความสำาเร็จถูกบ่น
ทอนโดยความไม่เต็มใจของนายพลคน
อื่นที่ส่งกำาลังของตนเข้าไปสนับสนุน
ให้ได้รับชัยชนะ กองทัพสัมพันธมิตร
และรัสเซียฟื้นฟูชั่วคราวเฉพาะเมื่อ
โรมาเนียเข้าสู่สงครามเมื่อวันที่ 27
สิงหาคม กองทัพเยอรมันเข้าช่วย
เหลือกองทัพออสเตรีย-ฮังการีพร้อมรบ
ในทรานซิลเวเนียและบูคาเรสต์เสียให้
สหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงคราม
สหรัฐอเมริกาเดิมดำาเนินนโยบายไม่แทรกแซง
เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความขัดแย้งระหว่าง
ประเทศและเป็นนายหน้าสันติภาพ เมื่อเรืออูเยอรมัน
จมเรือโดยสารลูซิทาเนียของอังกฤษ ใน ค.ศ. 1915 ที่
มีชาวอเมริกันอยู่บนเรือ 128 คน ประธานาธิบดีวิลสัน
ได้สาบานว่า "อเมริกามีทิฐิมากเกินกว่าจะสู้" และ
เรียกร้องให้ยกเลิกการโจมตีเรือพลเรือน ซึ่งเยอรมนี
ก็ยอมตาม วิลสันพยายามเป็นผู้ไกล่เกลี่ยระงับข้อ
พิพาทแต่ล้มเหลว เขาเตือนยำ้าว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่
ทนต่อสงครามเรือดำานำ้าไม่จำากัดขอบเขต
วิลสันได้รับแรงกดดันธี
โอดอร์ รูสเวลต์ ผู้ประณาม
พฤติการณ์ของเยอรมนีว่า
เป็น "การกระทำาอันเป็น
โจรสลัด" ความปรารถนา
ของวิลสันที่จะได้เข้าร่วม
ในการเจรจาสันติภาพเมื่อ
สงครามยุติเพื่อพัฒนา
แนวคิดสันนิบาตชาติเองก็
เป็นส่วนสำาคัญ รัฐมนตรี
ต่างประเทศของวิลสัน วิล
เลียม เจนนิงส์ ไบรอัน ซึ่ง
ความคิดเห็นของเขาได้ถูก
เพิกเฉย ได้ลาออกเพราะ
การรุกฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1918
พลเอกเยอรมัน อิริช ลู
เดนดอร์ฟ ได้ร่างแผนซึ่งใช้
ชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการมิคา
เอล ขึ้นสำาหรับการรุกบน
แนวรบด้านตะวันตกใน ค.ศ.
1918 การรุกฤดูใบไม้ผลิมีจุด
ประสงค์เพื่อแยกกองทัพ
อังกฤษและฝรั่งเศสออกจาก
กันด้วยการหลอกหลวงและ
การรุกหลายครั้ง ผู้นำา
เยอรมนีหวังว่าการโจมตี
อย่างเด็ดขาดก่อนที่กอง
ตลอดสงครามส่วนแนว
สนามเพราะของอังกฤษและ
ฝรั่งเศสถูกเจาะผ่านด้วยยุทธวิธี
แทรกซึมที่เป็นของใหม่ ซึ่งถูก
ตั้งชื่อว่า ยุทธวิธีฮูเทียร์ (Hutier
tactics) ตามชื่อพลเอกชาว
เยอรมันคนหนึ่ง ก่อนหน้านั้น
การโจมตีเป็นรูปแบบการระดม
ยิงปืนใหญ่อย่างยาวนานและ
การบุกโจมตีโดยใช้กำาลัพลมหา
ศาล อย่างไรก็ตาม ในการรุกฤดู
ใบไม้ผลิ ค.ศ. 1918 ลูเดนดอร์ฟ
ได้ใช้ปืนใหญ่เฉพาะเป็นเวลา
สั้น ๆ และแทรกซึมกลุ่มทหาร
ราบขนาดเล็กไปยังจุดที่อ่อนแอ
การสงบศึกและการยอมจำานน
วันที่ 24 กันยายน อิตาลีเริ่มการ
ผลักดันซึ่งทำาให้ได้รับดินแดนที่สูญเสีย
ไปคืนหลังยุทธการคาปอเร็ตโต จน
ลงเอยในยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต อัน
เป็นจุดจบที่กองทัพออสเตรีย-ฮังการีไม่
อาจเป็นกำาลังรบที่มีประสิทธิภาพได้อีก
ต่อไป การรุกนี้ยังกระตุ้นการสลายตัว
ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ระหว่าง
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนตุลาคม มีการ
ประกาศเอกราชขึ้นในกรุงบูดาเปสต์,
ปราก และซาเกร็บ วันที่ 29 ตุลาคม
ทางการออสเตรีย-ฮังการีขอสงบศึกกับ
อิตาลี แต่อิตาลีรุกคืบต่อไป โดยไปถึง
หลังการปะทุของการปฏิวัติเยอรมัน มีการ
สถาปนาสาธารณรัฐขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน
องค์ไกเซอร์ได้ทรงหลบหนีไปยังเนเธอร์แลนด์
วันที่ 11 พฤศจิกายน มีการลงนามการสงบศึกกับ
เยอรมนีขึ้นในตู้โดยสารรถไฟในคองเปียญ เมื่อ
เวลา 11 นาฬิกา ของวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.
1918 หรือ "ชั่วโมงที่สิบเอ็ด ของวันที่สิบเอ็ด ของ
เดือนที่สิบเอ็ด" การหยุดยิงมีผลบังคับ กองทัพซึ่ง
และสิ้นชีวิตเมื่อ
เวลา 10.58 น.เฮนรี กึน
เธอร์ชาวอเมริกันถูก
สังหาร 60 วินาทีก่อน
การสงบศึกมีผลบังคับ
ขณะเข้าตีกำาลังพล
เยอรมันที่รู้สึก
ประหลาดใจ เพราะ
ทราบข่าวว่า กำาลังจะมี
การสงบศึกขึ้นทหาร
อังกฤษคนสุดท้ายที่
เสียชีวิต คือ พลทหาร
จอร์จ เอ็ดวิน เอลลิสัน
ผู้เสียชีวิตคนสุดท้าย
สถานะสงครามอย่างเป็น
ทางการระหว่างทั้งสองฝ่ายดำารง
อยู่เป็นเวลาอีกจนเดือน กระทั่ง
การลงนามสนธิสัญญาแวร์ซายกับ
เยอรมนีเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.
1919 สนธิสัญญากับออสเตรีย
ฮังการี บัลแกเรียและจักรวรรดิ
ออตโตมันมีการลงนามภายหลัง
อย่างไรก็ดี การเจรจากับ
จักรวรรดิออตโตมันนั้นตามมา
ด้วยการขัดแย้งกัน และสนธิ
สัญญาสันติภาพสุดท้ายระหว่าง
ฝ่ายสัมพันธมิตรกับประเทศซึ่งอีก
ต่อมาไม่นานจะได้ชื่อว่า
สาธารณรัฐตุรกี มีการลงนามเมื่อ

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-Kasidet Srifah
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นBeau Pitchaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2May Sirinan
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Napis Inkham
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 

Viewers also liked

สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2namfon17
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมPloynaput Kritsornluk
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1Peeranat Lar
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 

Viewers also liked (8)

สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 1

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งtanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdfสงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdfKunnai- เบ้
 
World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]boss2221
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 1 (15)

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdfสงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 1-pdf
 
World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]World war-ii-[TH]
World war-ii-[TH]
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
เมียนมาร์
เมียนมาร์เมียนมาร์
เมียนมาร์
 

สงครามโลกครั้งที่ 1