SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.)
วาระปฏิรูปพิเศษ 15 แนวทางการสร้างความปรองดอง
รายงานผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง สปช.
๑. นายดิเรก ถึงฝั่ง ที่ปรึกษาและกรรมการ
๒. พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ที่ปรึกษาและกรรมการ
๓. ศ.พิเศษเอนก เหล่าธรรมทัศน์ ประธานกรรมการ
๔. นายบุญเลิศ คชายุทธเดช รองประธานกรรมการ
๕. ศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ รองประธานกรรมการ
๖. นายไพบูลย์ นิติตะวัน กรรมการ
๗. นายบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ กรรมการ
๘. นายประสาร มฤคพิทักษ์ กรรมการ
๙. นางทิชา ณ นคร กรรมการ
๑๐. นายประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์ กรรมการ
๑๑. นางวลัยพร รัตนเศรษฐ กรรมการ
๑๒. นายธานี สุโชดายน กรรมการ
๑๓. นายอดุลย์ เขียวบริบูรณ์ กรรมการ
๑๔. นางนิชา หิรัญบูรณะ ธุวธรรม กรรมการ
๑๕. นางพะเยาว์ อัคฮาด กรรมการ
๑๖. นายภูมิ มูลศิลป์ กรรมการ
๑๗. นางสาวธัญญาภรณ์ จันทรเวช กรรมการ
๑๘. นายเมธัส อนุวัตรอุดม กรรมการ
๑๙. นางสาวธีรดา ศุภะพงษ์ กรรมการและเลขานุการ
๒๐. นายสุเทพ เอี่ยมคง กรรมการและผช.เลขานุการ
๑. พิจารณาศึกษาและแสวงหาแนวทางเพื่อลดและยุติความขัดแย้งทาง
การเมืองในทุกระดับ ให้ชนในชาติเกิดความรู้รักสามัคคี บนพื้นฐาน
ความคิดที่แตกต่าง เพื่อนาไปสู่การสร้างความปรองดองเกิดขึ้น
๒. จัดทาข้อเสนอแนวทางการเยียวยาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
เหตุการณ์การชุมนุมอันเกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ
๓. จัดทาแผนดาเนินงานในการสร้างความปรองดองให้ควบคู่ไปกับ
กระบวนการปฏิรูปประเทศ ที่มาจากข้อมูลและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น
จริงจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน
เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗
ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
๔. อานวยการให้มีการจัดทาและเผยแพร่ฐานข้อมูล
เกี่ยวกับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุม
อันเกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ต้องการ
การเยียวยาและฟื้นฟูวิถีชีวิตในด้านต่างๆ
๕. รายงานความคืบหน้าให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ทราบ
ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
๑. วางกรอบคิดและออกแบบกระบวนการปรองดองให้ควบคู่ไป
กับการปฏิรูปประเทศ โดยจัดลาดับความสาคัญของขั้นตอนและ
ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
๒. ร่วมทางานกับกลไกอื่นๆ ที่ดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อน
กระบวนการสร้างความปรองดอง
๓. แสวงหาจุดร่วมของคนในสังคมในการสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์และการป้องกันมิให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นซ้า
ผ่านการรับฟัง พูดคุย ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการถอดบทเรียน
จากประสบการณ์จริง
แนวทางดาเนินงาน
๔. จัดทาฐานข้อมูลรวมเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทาง
การเมือง เผยแพร่ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเคราะห์ออกมา
เป็นองค์ความรู้
๕. สร้างบรรยากาศที่เอื้อกับการอยู่ร่วมกันท่ามกลางความเห็นทาง
การเมืองที่แตกต่างกัน ฟื้นฟูความสัมพันธ์ ลดอคติและสร้างความ
ไว้เนื้อเชื่อใจของคนในสังคมที่มีความเห็นต่างทางการเมืองผ่าน
การทางานเชิงกระบวนการ
๖. ประสานงานและเสนอแนวทางต่อหน่วยงานของภาครัฐและ
ภาคเอกชน ในการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
เหตุการณ์การชุมนุมในด้านต่างๆ
แนวทางดาเนินงาน
ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
๑. พิจารณาศึกษาและแสวงหาแนวทางเพื่อ
ลดและยุติความขัดแย้งทางการเมืองในทุก
ระดับ ให้ชนในชาติเกิดความรู้รักสามัคคี
บนพื้นฐานความคิดที่แตกต่าง เพื่อนาไปสู่
การสร้างความปรองดองเกิดขึ้น
๒. จัดทาข้อเสนอแนวทางการเยียวยาแก่ผู้ที่
ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน
เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องดาเนินการ
บทที่ ๓ :
ข้อเสนอเชิงเนื้อหา
และกลไกที่ทาได้
ทั้งก่อนและหลัง
มีรัฐธรรมนูญ
ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
อานาจหน้าที่ เนื้อหาในรายงาน
๓. จัดทาแผนดาเนินงานในการสร้างความปรองดองให้
ควบคู่ไปกับกระบวนการปฏิรูปประเทศ ที่มาจากข้อมูล
และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงจากผู้ที่ได้รับผลกระทบ
จากเหตุการณ์การชุมนุมอัน เกี่ยวเนื่องมาจากความ
ขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗
๔. อานวยการให้มีการจัดทาและเผยแพร่ฐานข้อมูล
เกี่ยวกับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน
เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่
พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ต้องการ
การเยียวยาและฟื้นฟูวิถีชีวิตในด้านต่างๆ
๕. รายงานความคืบหน้าให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ทราบ
บทที่ ๔ :แผนการ
ดาเนินงานสร้างความ
ปรองดอง
ภาคผนวก : ฐานข้อมูล
- จานวนผู้ได้รับ
ผลกระทบและ
ผู้ได้รับการเยียวยา
กรณีบาดเจ็บ เสียชีวิต
และต้องคดี ระหว่าง
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๗
ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ (ต่อ)
อานาจหน้าที่ เนื้อหาในรายงาน
“การสร้างความปรองดอง” ในที่นี้ หมายถึง การคลี่คลายความขัดแย้ง
ที่มีการใช้ความรุนแรงเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยการถอดบทเรียน
สร้างความรับรู้และความเข้าใจถึงสาเหตุและผลกระทบ การสานึกรับ
ผิดและการฟื้นคืนความสัมพันธ์ การหาข้อตกลงใหม่ในกฎเกณฑ์ของ
การอยู่ร่วมกันในสังคมเดียวกันระหว่างบุคคล กลุ่มพลังทางการเมือง
และประชาชนในชาติที่มีความคิด ความเชื่อแตกต่างกันจนแบ่งกันเป็น
ฝักฝ่าย การหามาตรการป้องกันมิให้ความขัดแย้งขยายตัวและเกิด
ความรุนแรงขึ้นซ้าอีก รวมทั้งการปฏิรูปทั้งกระบวนทัศน์และกลไก
ของรัฐให้สามารถรองรับการขับเคลื่อนสังคมที่อยู่ในระยะของการ
แปรเปลี่ยนความขัดแย้งไปสู่การสร้างฉันทามติใหม่
นิยาม ความหมาย ขอบเขตของคาว่า “ปรองดอง”
วิธีการ : อาศัยการดาเนินงานแบบเป็นกระบวนการ บนฐาน
ความเข้าใจในบริบทของความขัดแย้ง โดยนาหลักการที่
เหมาะสมกับสภาพปัญหามาปรับใช้
ที่สาคัญ คือ ความไว้วางใจและการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่าย ในการหาข้อตกลงร่วมกันในการแสวงหาทางออกจาก
ความขัดแย้ง ให้เป็นไปตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย
และสันติวิธี ซึ่งต้องมีการติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการ
นั้นต่อเนื่องและสอดคล้องกับสภาพสังคม เพื่อให้สามารถอยู่
ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน
นิยาม ความหมาย ขอบเขตของคาว่า “ปรองดอง”
๓.๑ ข้อเสนอเชิงเนื้อหา
ภารกิจ ๖ ด้านที่ต้องทาควบคู่กันไปให้ครบ
อย่างเป็นองค์รวม
๓.๒ ข้อเสนอแนะเชิงกลไก
ก่อนและหลังการมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
บทที่ ๓ ข้อเสนอแนะเบื้องต้นในการสร้างควาปรองดอง
๓.๑ ข้อเสนอเชิงเนื้อหาในภารกิจ ๖ ด้าน
หลักความยุติธรมในระยะเปลี่ยนผ่านและความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
๑. การสร้างความ
เข้าใจร่วมของ
สังคมต่อเหตุแห่ง
ความขัดแย้ง
๒. การแสวงหาและ
เปิดเผยข้อเท็จจริง
ของเหตุการณ์
ความรุนแรง
๓. การอานวย
ความยุติธรรม
การสานึก
รับผิดชอบและ
การให้อภัย
๖. มาตรการป้องกัน
การใช้ความรุนแรง
ในการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๕. การสร้างสภาวะ
ที่เอื้อต่อ
การอยู่ร่วมกัน
๔. การเยียวยา ดูแล
และการฟื้นฟู
ผู้ได้รับผลกระทบ
การสร้างความเข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่งความขัดแย้งภารกิจที่ ๑
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๑ การสร้างความ
เข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่ง
ความขัดแย้ง
ทบทวนเอกสารและข้อเสนอแนะในการ
สร้างความปรองดองที่เคยมีมา
ผู้เกี่ยวข้องและคนในสังคมเข้าใจมุมมอง
ของกันและกัน เกี่ยวกับสาเหตุความ
ขัดแย้งที่จะนามาสู่การคลี่คลายและการ
ป้องกันความขัดแย้ง
-คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ(คอป.)
-สถาบันพระปกเกล้า(KPI)
-คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
-ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.)
-กรรมาธิการการเมืองของสภาปฏิรูปแห่งชาติและสภานิติบัญญัติ
-คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย(คปก.)
-คณะกรรมการปฏิรูป(คปร.)
-คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป(คสป.)
-คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.)
-ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุม กรณี เมษายน-พฤษภาคม 2553(ศปช.)
-คณะนักวิจัยของสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-องค์กรสิทธิมนุษยชน ฮิวแมนไรท์วอทซ์(HRW)
-จัดเวทีรับฟังจากกลุ่มต่างๆ(ศาล อัยการ DSI เรือนจา ผู้ถูกคุมขัง ผู้บาดเจ็บและญาติผู้สูญเสียฯลฯ)
การแสวงหาและเปิดเผยข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ความรุนแรงภารกิจที่ ๒
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๒ การแสวงหา
และเปิดเผยข้อเท็จจริง
ของเหตุการณ์ความ
รุนแรง
๑) รวบรวมและตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง หาสาเหตุ
แรงจูงใจเกี่ยวกับการละเมิด
กฎหมายและการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน
๒) เปิดเผยชื่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการละเมิดกฎหมายและ
สิทธิมนุษยชนในระยะเวลาที่
กฎหมายกาหนดและมีความ
เหมาะสมของสถานการณ์
• ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์
ความขัดแย้ง ผ่านการ
ตรวจสอบ สังเคราะห์ด้วยกลไก
และวิธีการที่มีความเป็น
วิชาการ
• ทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและคนใน
สังคมเข้าใจร่วมกันใน
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความ
ขัดแย้ง
• สังคมได้การสรุปบทเรียน
เกิดสานึกร่วมกันในการป้องกัน
มิให้ประเทศชาติต้องประสบ
กับวิกฤตการณ์เช่นนี้อีก
การอานวยความยุติธรรม สานึกรับผิดชอบ+ให้อภัยภารกิจที่ ๓
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๓ การอานวย
ความยุติธรรม การ
สานึกรับผิดและ
การให้อภัย
• นาทั้งกลไกตาม
กฎหมายที่มีอยู่ใน
ปัจจุบันและการตรา
กฎหมายพิเศษเพื่อนา
หลักการของความ
ยุติธรรมในระยะเปลี่ยน
ผ่านและกระบวน
ทรรศน์เรื่องความ
ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
มาใช้
• การรับรู้ข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับจานวนผู้ที่ต้องคดี
ประเภทคดีและสถานะทาง
คดี โดยจาแนกเป็น ๑)
ความผิดที่มีมูลเหตุจูงใจ
ทางการเมือง ๒) ความผิด
อาญาโดยแท้ ที่มีระดับความ
ร้ายแรง ขัดกับศีลธรรม หรือ
สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของ
บุคคล ๓) ความผิดทั้งแบบ
ที่ ๑) และ ๒)
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย
(ต่อ)
ภารกิจที่ ๓
การจาแนกมูลเหตุแห่งการกระทาผิด
โดยนาคดีที่เกิดขึ้นจากการชุมนุมทางการเมืองตลอดช่วงเวลาพิจารณามา
จาแนกถึงมูลเหตุแห่งการกระทาผิด ตามเกณฑ์ ดังนี้
(๑) ความผิดที่มีแรงจูงใจทางการเมือง หมายถึง ความผิดที่มีแรงจูงใจ
จากความเชื่อหรือมุมมองทางการเมืองของตนเองหรือกลุ่มของตนที่
อาจมีความแตกต่างกับรัฐบาล จึงได้เกิดแรงจูงใจที่จะกระทาความผิด
อาญาจากฐานความเชื่อหรือมุมมองทางการเมืองนั้น
(๒) ความผิดอาญาโดยแท้ หมายถึง ความผิดที่รัฐเป็นเป็นผู้เสียหาย
โดยตรงหรือความผิดต่อเอกชน อันเป็นความผิดที่มีระดับความร้ายแรง
ของการกระทาผิดที่มีผลกระทบต่อศีลธรรมของประชาชน
หรือสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคล
(๓) ความผิดที่มีแรงจูงใจทางการเมืองแต่มีฐานความผิดอื่นประกอบ
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๓ การอานวย
ความยุติธรรม การสานึก
รับผิดและการให้อภัย
ตั้งโจทย์โดยเริ่มจากการ
แยกแยะจัดกลุ่มประเภทคดี
และสถานะของคดีอาญาที่
เกี่ยวเนื่องจากการชุมนุมทาง
การเมือง ในช่วง ๒๕๔๘ –
๒๕๕๘ ที่ทั้งฝ่ายรัฐและ
ประชาชนเป็นผู้ถูกกล่าวหา
(ดูในแผนภาพข้อเสนอแนวทาง
ในการสร้างความปรองดองตาม
หลักความยุติธรรมในระยะ
เปลี่ยนผ่านและความยุติธรรม
เชิงสมานฉันท์)
• สร้างความเชื่อมั่นใน
กระบวนการยุติธรรมด้วย
หลักนิติธรรม โดยใช้วิธีการที่
เหมาะสมกับฐานความผิด
• ให้โอกาสผู้กระทาผิดที่ได้
เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
แล้ว ได้สานึกผิด กลับมาสู่
สังคม รวมทั้งฟื้นฟู
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้อง
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓
หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน
ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน ที่คานึงถึงสิทธิของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ
และการส่งเสริมกลไกที่จะนาพาสังคมไปสู่สันติภาพ
การปรองดอง และความเป็นประชาธิปไตย
เพื่อให้สังคมเดินหน้าต่อไปโดยที่เหตุการณ์ความ
รุนแรงไม่ย้อนกลับมาอีกครั้ง
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓
ในทางสากล หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน
ครอบคลุมถึงวิธีการ ดังต่อไปนี้
๑) การตรวจสอบและค้นหาข้อเท็จจริงเพื่อการรับรู้ถึง
สาเหตุและการคลี่คลายปมปัญหา
๒) การดาเนินคดีต่อผู้ที่ละเมิดกฎหมายด้วยหลักนิติธรรม
๓) การเยียวยาและชดเชยให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
ความรุนแรง
๔) การยอมรับในการกระทา ขออภัยและแสดงความ
รับผิดชอบต่อการกระทาผิด
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓
๕) การนิรโทษกรรมและการให้อภัยโดยมีข้อยกเว้นมิให้การ
นิรโทษกรรมกับผู้กระทาความผิดในของการกรณีละเมิดสิทธิ
มนุษยชนร้ายแรง
๖) การปฏิรูป หรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางการเมือง
เศรษฐกิจและสังคม ให้เอื้อกับการลดและป้องกันการก่อ
เกิดขึ้นซ้าของความขัดแย้ง อาทิ การแบ่งสรรอานาจทาง
การเมืองให้เกิดดุลยภาพ การลดความเหลื่อมล้าในการ
พัฒนาและเข้าถึงทรัพยากร การอานวยความยุติธรรมและ
ความรับผิดชอบเมื่อมีการการละเมิดสิทธิมนุษยชน การ
สนับสนุนบทบาทที่สร้างสรรของสื่อสารมวลชน ฯลฯ
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓
กระบวนทัศน์แบบ “ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์”
ให้ความสาคัญกับผู้เสียหายเป็นอันดับแรก เนื่องจาก
ผู้เสียหายนั้นมีอานาจในการกาหนดว่าความยุติธรรม
ที่ตนต้องการคืออะไร โดยมีผู้ไกล่เกลี่ยระหว่าง
ผู้เสียหายและผู้กระทา ซึ่งความยุติธรรมเกิดขึ้น
ต่อเมื่อความต้องการของผู้เสียหายได้รับ
การตอบสนอง
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย
คดีอาญาในชั้นสอบสวนของเจ้าหน้าที่ตารวจ/กรมสอบสวนคดีพิเศษ
สานักงานอัยการ
ความเห็นสั่งฟ้อง/ไม่ฟ้อง
คดีที่อยู่ในระหว่าง
การพิจารณาของศาล
การฟ้องคดีอาญาที่ไม่เป็น
ประโยชน์แก่สาธารณชนหรือจะมี
ผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือ
ความมั่นคงของชาติ หรือต่อ
ผลประโยชน์อันสาคัญของ
ประเทศ
(ตามพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงาน
อัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๒๑ และระเบียบ
สานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการสั่งคดีอาญาที่จะ
ไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน หรือจะมี
ผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือความมั่นคงของ
ชาติ หรือต่อผลประโยชน์อันสาคัญของประเทศ
พ.ศ. ๒๕๕๔เฉพาะในกรณีความผิดที่มีแรงจูงใจ
ทางการเมืองเท่านั้น)
การฟ้องคดีอาญาที่ไม่เป็น
ประโยชน์
แก่สาธารณชนหรือจะมีผลกระทบ
ต่อความปลอดภัยหรือความมั่นคง
ของชาติหรือต่อผลประโยชน์อัน
สาคัญของประเทศ
ความผิดอาญาโดยเนื้อแท้
เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมโดยปกติ
(ประกันตัว ปล่อย ปล่อยชั่วคราว)
รับโทษ/อภัยโทษ
สั่งไม่ฟ้อง
สั่งฟ้อง
พนักงานอัยการไม่ยื่นคาร้อง
ไม่อุทธรณ์ ไม่ฎีกา
ถอนฟ้อง ถอนคาร้อง
ถอนอุทธรณ์ และถอนฎีกา
(มีมติครม.หรือนโยบายของรัฐ)
ภารกิจที่ ๓
๑) การใช้กลไกตามกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน
๒) การตรากฎหมายพิเศษ
ภารกิจที่ ๓
หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน
(ความผิดที่รัฐกระทาต่อบุคคล)
๑. ฟ้องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด
๒. การค้นหาความจริง
๓. การให้ความช่วยเหลือ ชดเชย เยียวยา
๔. กระบวนการที่ทาให้สังคมรับรู้
๕. กระบวนการปฏิรูปสถาบันหรือ
หน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบ
๖. การให้สังคมข้ามผ่านปัญหาความขัดแย้ง
และก่อให้เกิดความปรองดองสมานฉันท์
หลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
และคุมประพฤติ
(ความผิดที่บุคคลกระทาละเมิดต่อบุคคล)
๑. คัดเลือกคนกลาง หรือ ตั้งคณะอนุญาโตตุลาการ
๒. เจรจา กาหนดเงื่อนไข
หาทางออกร่วมกัน
๓. การหาข้อยุติ
๔. ติดตามผลการปฏิบัติตามเงื่อนไข
กระบวนการสานึกรับผิดต่อสาธารณะ
นิรโทษกรรมแบบมีเงื่อนไข
การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย
จาแนกกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ทั้งจากผู้ชุมนุมและ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็น ๕ กลุ่ม ดังนี้
การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับ
ผลกระทบ
ภารกิจที่ ๔
(๑) กลุ่มผู้บาดเจ็บและพิการทางกาย
(๒) กลุ่มญาติผู้เสียชีวิต
(๓) กลุ่มผู้ที่ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย
(๔) กลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบทางคดีมีข้อหา หมายจับและถูก
ดาเนินคดี
(๕) กลุ่มที่เป็นชุมชนในละแวกใกล้เคียงกับการชุมนุม
การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบภารกิจที่ ๔
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๔ การ
เยียวยา ดูแลและ
การฟื้นฟูผู้ได้รับ
ผลกระทบ
๑) ตั้งศูนย์ประสานงานและ
รวบรวมข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบ
ทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุมทาง
การเมืองตั้งแต่ พ.ศ.2548 –
พ.ศ.2557
๒) ทาฐานข้อมูลผู้ได้รับ
ผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์
ชุมนุมทางการเมือง
๓) เยียวยา ดูแล และฟื้นฟูผู้ได้รับ
ผลกระทบทุกฝ่ายโดยมีมาตรการ
เยียวยาและฟื้นฟูทั้งในส่วนที่เป็น
ตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน
• ผู้ที่ได้รับผลกระทบทุก
กลุ่มทุกฝ่ายสามารถ
ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อย่างมีเกียรติและ
ศักดิ์ศรีอย่างเสมอภาค
เท่าเทียมกันอย่างเป็น
ระบบและต่อเนื่องทั้งใน
แบบที่เป็นตัวเงินและ
ไม่ใช่ตัวเงิน
การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบภารกิจที่ ๔
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๔ การ
เยียวยา ดูแลและ
การฟื้นฟูผู้ได้รับ
ผลกระทบ
๕) กาหนดหลักเกณฑ์ ฐานการ
คิดคานวณอัตราในการให้การ
ชดเชยความเสียหายและการ
เยียวยา โดยไม่ทาให้เกิดการ
เลือกปฏิบัติ ปัญหาและเงื่อนไข
ของความขัดแย้ง
๖) พัฒนา ปรับปรุง จัดทา
กฎหมาย กฎระเบียบที่จาเป็น
ในการรองรับการชดเชย
เยียวยา
• ผู้ที่ได้รับผลกระทบทุก
กลุ่มทุกฝ่ายสามารถ
ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อย่างมีเกียรติและ
ศักดิ์ศรีอย่างเสมอภาค
เท่าเทียมกันอย่างเป็น
ระบบและต่อเนื่อง
ทั้งในแบบที่เป็นตัวเงิน
และไม่ใช่ตัวเงิน
นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๕ การ
สร้างสภาวะที่เอื้อ
ต่อการอยู่ร่วมกัน
๑) พัฒนายุทธศาสตร์สันติวิธีเพื่อ
ความมั่นคงของชาติ จากกรอบ
นโยบายที่เคยมีมา ให้เป็นหลัก
ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
๒) สื่อสารกับสังคมเพื่อสร้างความ
เข้าใจของประชาชนให้ตระหนักถึง
ผลจากการใช้ความรุนแรงในการ
จัดการปัญหา ความเคารพและ
รับผิดชอบในการใช้สิทธิเสรีภาพ
ส่วนบุคคล และสิทธิเสรีภาพ
ในการชุมนุม
• สังคมพหุวัฒนธรรมที่
สันติและเป็นธรรม โดย
ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน
ท่ามกลางความคิดเห็นที่
แตกต่างและรู้จักการแก้ไข
ปัญหาด้วยสันติวิธี
• ลดและขจัดความเหลื่อม
ล้าที่เป็นรากฐาน สาเหตุ
บ่มเพาะความขัดแย้ง
นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๕ การ
สร้างสภาวะที่เอื้อ
ต่อการอยู่ร่วมกัน
๓) ฟื้นฟูความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
สังคม องค์กร และสถาบันที่มีความ
ขัดแย้งกัน
๔) เร่งรัด ผลักดันการปฏิรูป
โครงสร้างสถาบันทางการเมืองให้เอื้อ
ต่อการเกิดวัฒนธรรมทางการเมือง
ประชาธิปไตยแบบพหุนิยม
เปิดโอกาสให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายมีสัดส่วน
ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้
เพื่อให้วาระต่างๆ ที่เป็นประเด็น
สาธารณะ ได้ถูกขบคิด กลั่นกรอง
จากมุมมองที่หลากหลาย
• สังคมพหุวัฒนธรรมที่
สันติและเป็นธรรม โดย
ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน
ท่ามกลางความคิดเห็นที่
แตกต่างและรู้จักการ
แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี
• ลดและขจัดความ
เหลื่อมล้าที่เป็นรากฐาน
สาเหตุบ่มเพาะความ
ขัดแย้ง
นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๕ การ
สร้างสภาวะที่เอื้อ
ต่อการอยู่ร่วมกัน
๕) เร่งรัด ผลักดันการปฏิรูป
โครงสร้างและระบบเศรษฐกิจ
สังคมวัฒนธรรมเพื่อขจัด
ปัญหาความเหลื่อมล้าและ
สร้างความเป็นธรรมทางสังคม
• สังคมพหุวัฒนธรรมที่
สันติและเป็นธรรม โดย
ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน
ท่ามกลางความคิดเห็นที่
แตกต่างและรู้จักการ
แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี
• ลดและขจัดความ
เหลื่อมล้าที่เป็นรากฐาน
สาเหตุบ่มเพาะความ
ขัดแย้ง
มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๖
มาตรการ
ป้องกันการใช้
ความรุนแรงใน
การแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๑) เฝ้าระวังสถานการณ์ ระมัดระวัง และ
หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า หรือปะทะ
รุนแรงระหว่างฝ่ายประชาชนหรือฝ่าย
เจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง
๒) ปฏิรูปและกากับบทบาทของ
สื่อสารมวลชนให้เป็นไปตามจรรยาบรรณ
โดยนาเสนอเนื้อหาสาระที่สร้างสรรค์ ไม่
ยุยง บิดเบือนข้อเท็จจริง จนก่อให้เกิด
ความเกลียดชัง หรือการใช้ความรุนแรง
ในการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างคนใน
สังคม โดยยังให้หลักประกันสิทธิเสรีภาพ
ของสื่อมวลชน
• ลดความเสี่ยงและ
ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด
ความขัดแย้งรุนแรงซ้า
อีกในอนาคต
• สร้างหลักประกันให้กับ
สังคมในการใช้หลักนิติ
ธรรมและสันติวิธีของรัฐ
ในการคุ้มครองความ
ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ
และสวัสดิภาพของ
ประชาชน
มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๖
มาตรการป้องกัน
การใช้ความ
รุนแรงในการ
แก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๓) จัดให้มีกลไก กติกาและส่งเสริมให้มี
พื้นที่ในการใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุม
อย่างสันติวิธี ที่สอดคล้องกับหลัก
รัฐธรรมนูญที่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
บุคคล และกติการะหว่างประเทศว่าด้วย
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของ
ประชาชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี
๔) สร้างสานึกและความตระหนักถึงการ
ใช้เสรีภาพส่วนบุคคลให้มีความ
รับผิดชอบและเคารพในสิทธิของผู้อื่นใน
การใช้สื่อในรูปแบบต่างๆ
• ลดความเสี่ยงและ
ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด
ความขัดแย้งรุนแรงซ้า
อีกในอนาคต
• สร้างหลักประกันให้กับ
สังคมในการใช้หลักนิติ
ธรรมและสันติวิธีของรัฐ
ในการคุ้มครองความ
ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ
และสวัสดิภาพของ
ประชาชน
มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๖
มาตรการป้องกัน
การใช้ความรุนแรง
ในการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๕) ในการควบคุมฝูงชน ใช้
วิจารณญาณในการปฏิบัติต่อ
สถานการณ์อย่างรอบคอบ เน้นใช้
การเจรจา และปฏิบัติกฎการ
ปะทะตามหลักสากลอย่าง
เคร่งครัด
๖) ในเหตุการณ์ชุมนุม ควรให้
หน่วยบริการทางการแพทย์เข้าถึง
ผู้บาดเจ็บ-เสียชีวิตโดยเร็วและ
ปกป้องคุ้มครองผู้ให้บริการอย่าง
ปลอดภัยที่สุด
• ลดความเสี่ยงและ
ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด
ความขัดแย้งรุนแรงซ้า
อีกในอนาคต
• สร้างหลักประกันให้กับ
สังคมในการใช้หลักนิติ
ธรรมและสันติวิธีของรัฐ
ในการคุ้มครองความ
ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ
และสวัสดิภาพของ
ประชาชน
มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๖
มาตรการป้องกัน
การใช้ความรุนแรง
ในการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๗) ส่งเสริมให้หน่วยงานใน
กระบวนการยุติธรรม และหน่วยงาน
อื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง มีการปฏิบัติ
ตามหลักนิติธรรมอย่างเคร่งครัดโดย
จัดทาเกณฑ์มาตรฐานขึ้นไว้เพื่อ
ประเมินผลการดาเนินงานด้าน
ยุติธรรม
๘) ปรับเปลี่ยน ปฏิรูปและลด
บทบาทของหน่วยงาน หรือบุคคลที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง เพื่อ
สร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจ
กลับคืนมาของสังคม
• ลดความเสี่ยงและ
ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด
ความขัดแย้งรุนแรงซ้า
อีกในอนาคต
• สร้างหลักประกันให้กับ
สังคมในการใช้หลักนิติ
ธรรมและสันติวิธีของรัฐ
ในการคุ้มครองความ
ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ
และสวัสดิภาพของ
ประชาชน
มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖
ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ
ภารกิจที่ ๖
มาตรการป้องกัน
การใช้ความ
รุนแรงในการ
แก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง
๙) ควรมีมาตรการตรวจสอบ ลงโทษ
การแสดงความรับผิดชอบของ
เจ้าหน้าที่รัฐและแกนนาการชุมนุม
ที่ทาเกินกว่าเหตุ จนนาไปสู่การ
สูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน
๑๐) การสร้างเครื่องเตือนใจ/
สัญลักษณ์ความทรงจาให้สังคมได้
เรียนรู้ถึงเรื่องราวของความขัดแย้ง
ราลึกถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นและ
คุณค่าของการสร้างความปรองดอง
• ลดความเสี่ยงและ
ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด
ความขัดแย้งรุนแรงซ้า
อีกในอนาคต
• สร้างหลักประกันให้กับ
สังคมในการใช้หลักนิติ
ธรรมและสันติวิธีของรัฐ
ในการคุ้มครองความ
ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ
และสวัสดิภาพของ
ประชาชน
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๓.๒.๑ แนวทางการสร้างความปรองดองก่อนมีรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหม่
ให้มีการดาเนินงานประสาน บูรณาการร่วมกันเพื่อเป็นกลไกและเครื่องมือในการ
สร้างความปรองดอง ดังนี้
๑. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เร่งรัดการพิจารณาร่างกฎหมายกองทุนยุติธรรม,
การอานวยความยุติธรรมและกฎหมายอื่นที่จาเป็นต่อการสร้างความปรองดอง
๒. สภาปฏิรูปแห่งชาติ เร่งจัดทาข้อสรุป ข้อเสนอในการขับเคลื่อนการปฏิรูป
ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งลดเงื่อนไขความขัดแย้งทางการเมือง ปฏิรูป
กระบวนการยุติธรรม และปฏิรูปสื่อสารมวลชน เพื่อลด/ขจัดการสื่อสารที่ยุยง
ความแตกแยก และสร้างความเกลียดชัง
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๓. ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป(ศปป.)
๑) สารวจปัญหาความเดือดร้อนและและจัดกลุ่มความต้องการการเยียวยาของผู้
ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายให้ครบถ้วน โดยการพบปะเยี่ยมเยียนเป็นรายบุคคลและ
การจัดเวทีรับฟังตามภูมิภาคต่างๆ
๒) ประสานกับกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และศูนย์ดารง
ธรรม เพื่อจัดตั้งหรือให้มีศูนย์ฯ รับเรื่องร้องเรียนผู้ที่ได้รับผลกระทบทุกฝ่าย ทุก
เหตุการณ์ อันเนื่องมาจากการชุมนุมทางการเมือง
๓) ทาคู่มือเพื่อสร้างความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานใน
การสื่อสารต่อสาธารณให้เป็นที่รับรู้ว่ามีการรับเรื่องร้องเรียน
๔) พัฒนาฐานข้อมูลที่ได้รับผลกระทบทุกฝ่าย ทุกเหตุการณ์ ให้มีความสมบูรณ์
และเป็นปัจจุบัน
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๔. คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง
๑) เปิดเวทีรับฟังความเห็น พูดคุย เยี่ยมเยียนเพื่อเปิด
พื้นที่และสร้างความไว้วางใจระหว่างหน่วยงาน องค์กรที่มี
หน้าที่รับผิดชอบแก้ไขปัญหา กับผู้ที่ได้รับความเสียหาย
ผู้สูญเสีย และผู้ที่ได้รับผลกระทบ
๒) สร้างภาคีเครือข่าย แนวร่วมดาเนินงานด้านสันติวิธีกับ
หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาที่มีภารกิจ
การสร้างสันติวิธีเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๕. คณะกรรมการอานวยการเยียวยาด้านการเงินตามหลัก
มนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทาง
การเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ หรือ คกย. (ตามคาสั่งของ
นายกรัฐมนตรี)
๑) ใช้แนวคิดตามหลักการใช้กฎหมายย้อนหลังที่เป็นคุณในการ
กาหนดเกณฑ์เยียวยาที่เป็นมาตรฐานโดยไม่ทาให้เกิดการเลือก
ปฏิบัติ ปัญหาและเงื่อนไขของความขัดแย้งต่อเนื่อง
๒) พัฒนาฐานข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกระทบ เพื่อใช้เป็นฐานในการ
ติดตาม ตรวจสอบ แก้ไขปัญหา เยียวยาที่เป็นตัวเงิน และสร้าง
องค์ความรู้ในการจัดการปัญหาเมื่อเกิดเหตุในทานองเดียวกันซ้า
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๖. กองทุนสื่อสร้างสรรค์
ผลิตสื่อเพื่อสร้างความเข้าใจและส่งเสริมความปรองดอง
ลดความขัดแย้ง ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างทาง
ความคิดได้
ฯลฯ
๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก
๓.๒.๒ แนวทางการสร้างความปรองดองหลังมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
- ให้มีบทบัญญัติว่าด้วยการปฏิรูปและการสร้างความปรองดองขึ้น ใน
ภาค ๔ เพื่อการปฏิรูปและการสร้างความปรองดองให้แล้วเสร็จภายใน
๕ ปีนับจากวันถัดจากวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
- เนื้อหาในรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้มีอยู่ในทุกภาค และอยู่ใน
หลายหมวด หากอธิบายจาก “กลุ่มเป้าหมาย” ของการสร้างความ
ปรองดอง อาจจาแนกเนื้อหาในรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องได้เป็น ๓ กลุ่ม
โดยมิได้จากัดอยู่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคู่ขัดแย้งกลุ่มหลักที่
เปรียบเสมือนยอดภูเขาน้าแข็งที่โผล่พ้นผิวน้าเท่านั้น
มาตรการและกลไกสร้างเสริมความปรองดองและป้องกันการใช้ความ
รุนแรงตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๘
บทที่ ๔ : แผนการดาเนินงานเพื่อสร้างความปรองดอง
กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ช่วงเวลาดาเนินการ
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๑. การแสวงหาและ
เปิดเผยข้อเท็จจริง
๑.๑ การแสวงหา
ข้อเท็จจริง
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ
√
๑.๒ การแสวงหาและ
เปิดเผยข้อเท็จจริง
คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง
ความปรองดองฯ (คอส.)
√
๒. จัดกิจกรรมวิเคราะห์
และหาข้อสรุปเกี่ยวกับ
เหตุความขัดแย้งซึ่งเป็นที่
ยอมรับจากสังคม
เครือข่ายนักวิชาการสันติวิธี
คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง
ความปรองดองฯ (คอส.)
√ √
√
๓. การอานวยความยุติธรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๓.๑ เร่งรัดคดีในชั้นสอบสวน
๓.๒ จัดกลุ่มฐานความผิด
๓.๓ จัดแยกกลุ่มคดีที่ฟ้องแล้ว
ไม่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ
๓.๔ การพิจารณาถอนฟ้อง/
ถอนคาร้อง
๓.๕ การดาเนินคดีอาญาโดยใช้
หลัก ความยุติธรรมในระยะ
เปลี่ยนผ่านและกระบวนทัศน์
เชิงสมานฉันท์
กรมสอบสวนคดีพิเศษ,
สานักงานตารวจแห่งชาติ
สถาบันรพีฯ, /สถาบันเพื่อ
การยุติธรรมแห่งประเทศไทย
อัยการ, /ครม.
อัยการ, /ครม.
คณะกรรมการอิสระ
เสริมสร้างความปรองดองฯ,
หน่วยงานในกระบวนการ
ยุติธรรม
√
√
√
√
√
๔. การจัดเตรียมการสานึก
รับผิดและการให้อภัย
หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๔.๑ การจัดเตรียมการ
สานึกรับผิดและการให้อภัย
ระหว่างบุคคลกับบุคคล
๔.๒ การจัดเตรียมการ
สานึกรับผิดและการให้อภัย
ระหว่างรัฐและบุคคล
คณะกรรมการอิสระ
เสริมสร้างความปรองดองฯ,
กลุ่มผู้สูญเสีย
√
√ √
๕. ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนใน
ทุกจังหวัด
ศูนย์ดารงธรรม /ก.พัฒนา
สังคมฯ
√ √
๖. สารวจปัญหาความ
เดือดร้อนและความต้องการ
เยียวยา
ศปป./ศูนย์ดารงธรรม √
กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๗. จัดทาฐานข้อมูล
เกี่ยวกับผู้ได้รับ
ผลกระทบ
คณะกรรมการอานวยการ
เยียวยาด้านการเงินตามหลัก
มนุษยธรรมฯ (คกย.) และ/หรือ
ศปป.
√
√ √
๘. การจัดทาหลักเกณฑ์
การเยียวยา
ศูนย์ดารงธรรม /ก.พัฒนาสังคม
ฯ
√ √
๘.๑ จัดทาหลักเกณฑ์การ
เยียวยาที่เป็นตัวเงิน
คกย. √
๘.๒ จัดทาหลักเกณฑ์การ
เยียวยาที่ไม่เป็นตัวเงิน
ศปป. √
กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๙. ดาเนินการเยียวยาแก่ผู้
สูญเสียตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนด
ก.พัฒนาสังคมฯ
กรมคุ้มครองสิทธิฯ
คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง
ความปรองดองฯ (คอส.)
√
√
√
๑๐. การเยี่ยมเยียน พูดคุย
กับผู้ได้รับผลกระทบกลุ่ม
ต่างๆ
คศป. √
๑๑. ผลักดันการขับเคลื่อน
การปฏิรูปเพื่อลดเงื่อนไข
ความขัดแย้ง โดยเฉพาะ
การปฏิรูปการเมือง สื่อ
และกระบวนการยุติธรรม
หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
สภาปฏิรูปแห่งชาติและ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
√ √
กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ +
หน่วยงานสนับสนุน
ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ
๑๒. การสร้างเครือข่าย
สนับสนุน/ทางานร่วมกัน
ของเครือข่ายสันติวิธี
คศป.และเครือข่ายที่ทางานสันติ
วิธี
√
๑๓. เร่งรัด ผลักดันการ
พิจารณากฎหมายที่เอื้อ
สร้างความยุติธรรมและ
การปฏิรูป เช่นร่าง พรบ.
กองทุนยุติธรรม
สภาปฏิรูปแห่งชาติและสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ
√ √ √
๑๔. ผลิตสื่อหลากหลาย
รูปแบบเพื่อสร้างความ
เข้าใจ ส่งเสริมการสร้าง
ความปรองดอง
สื่อของภาครัฐและเอกชน,
กองทุนสื่อสร้างสรรค์
√
บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
๑. เวลาในการฟื้นฟู
ความสัมพันธ์
ระหว่างผู้คนใน
สังคม
๒. ความเข้าใจสาเหตุ
ความขัดแย้ง
ในอดีต ปัจจุบันและ
การป้องกันไม่ให้
เกิดซ้าในอนาคต
๓. ภาวะผู้นาและ
เจตจานงทาง
การเมืองที่จะ
สร้างความ
ปรองดอง
๖. กลไกในการสร้าง
ความปรองดอง
ทางานเป็นอิสระ
ได้รับการยอมรับ
จากทุกฝ่าย
๕. กติกาใหม่ของ
สังคมที่ทุกฝ่าย
รู้สึกเป็นเจ้าของ
“ชัยชนะของ
ส่วนรวม”
๔. วัฒนธรรม
การเมืองที่เน้น
ความร่วมมือ
แตกต่างได้ โดย
ไม่ใช้ความรุนแรง
บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
๑) การปรองดองเป็นเรื่องที่ไม่สามารถบังคับกันได้และจาเป็นต้องใช้เวลา
เนื่องจากการปรองดองเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในสังคม
ระหว่างเหยื่อและผู้กระทา ระหว่างคู่ขัดแย้ง และระหว่างผู้ที่มีความคิด
ความเชื่อแตกต่างกัน
๒) การความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นใน เป็นสิ่งจาเป็นต่อกระบวนการสร้าง
ความปรองดอง โดยไม่สามารถบังคับผู้ที่เกี่ยวข้องให้ลืมอดีต หรือให้
เดินหน้าสู่อนาคตโดยให้ละทิ้งอุดมการณ์ได้ จึงต้องวางแนวทางที่
สามารถแยกแยะและคลี่คลายปมปัญหาในอดีต โดยเฉพาะการแสวงหา
ข้อเท็จจริงและสร้างความเข้าใจร่วมต่อเหตุการณ์รุนแรง เพื่อสร้างความ
ตระหนักแก่ทุกฝ่ายว่า ตนเองก็มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนเป็นผู้กระทาใน
เหตุการณ์
๓) ผู้นารัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมั่นว่ามีความตั้งใจจริง หรือ
เจตจานงทางการเมือง (political will) ที่จะสร้างความปรองดองใน
ชาติได้ ด้วยการสื่อถึงความเข้าใจในปัญหา เปิดกว้างรับฟังและให้
ความสาคัญกับความคิดเห็นที่หลากหลายของคนในสังคมอย่างแท้จริง
๔) แต่ละฝ่ายควรตระหนักว่าสังคมไทยในปัจจุบันยังมีการแบ่งเป็น
ฝักฝ่ายอยู่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมิอาจจะ “ชนะ” อีกฝ่ายได้เบ็ดเสร็จ ต้อง
สร้างวัฒนธรรมทางการเมืองที่ทาให้ฝักฝ่ายต่างๆ สามารถยอมรับใน
ความแตกต่างกันได้ และยอมรับว่ามีประเด็นที่สามารถเป็นวาระที่
ขับเคลื่อน ทางานร่วมกันได้ หากเห็นแตกต่างกัน ก็สามารถหาวิธีแก้ไข
ความขัดแย้งได้โดยไม่ใช้ความรุนแรง
บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
๕) การที่จะได้มาซึ่งกติกาในการอยู่ร่วมกันใหม่จาเป็นต้องมาจากการมีส่วนร่วม
ของตัวแทนของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกกลุ่มทุกฝ่าย เพื่อให้มิให้ถูกมองว่าเป็นกติกา
“ของผู้ชนะ” ที่ผู้แพ้ หรือผู้ที่เสียเปรียบเพียงเฝ้ารอเวลาที่จะหวนกลับมาสร้าง
ชัยชนะของตน ควรให้การนาสังคมไทยสู่สันติสุขเป็นชัยชนะของทุกฝ่าย
๖) กลไกในการสร้างความปรองดอง ควรเป็นกลไกที่มีความอิสระในการทางาน
ได้รับการยอมรับและความไว้วางใจจากทุกฝ่าย มีความต่อเนื่องและ
ใช้อานาจหน้าที่โดยมุ่งให้เกิดความปรองดองอย่างแท้จริง และควรมีอานาจ
ในการเรียกบุคคล และคุ้มครองพยาน รวมทั้งมีกรอบเวลาและงบประมาณ
เพียงพอในการทางานที่สอดคล้องกับสภาพและระดับของความขัดแย้ง
ที่เป็นจริง
บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
ภาคผนวก : ฐานข้อมูล
 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ชุมนุม
ทางการเมือง
> ผู้เสียชีวิต ๑๓๔ ราย
> ผู้บาดเจ็บที่ต้องการการเยียวยา ๔,๐๕๓ ราย
สามารถจ่ายเงินเยียวยา ๒,๔๗๐ ราย
ยังต้องการการเยียวยาอีก ๑,๕๘๓ ราย
(ข้อมูลจากกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ณ ๒๗ ก.พ.๒๕๕๗)
ภาคผนวก : ฐานข้อมูล
> สถิติคดีที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม (๒๕๔๘- ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๗)
- สานักงานตารวจแห่งชาติ: มีผู้ต้องคดี ๑,๘๓๓ คน
มีจานวนคดี ๑,๔๕๑ คดี
- กรมสอบสวนคดีพิเศษ: มีจานวนคดี ๒๖๗ คดี
- กรมราชทัณฑ์: มีประชาชนถูกจับและควบคุมตัว ๒๙๑ คน
- ณ ๑๗ ก.พ.๒๕๕๗ มีคาพิพากษาในคดีความมั่นคง
๑๗๐ คน ในเรือนจา ๗ แห่ง
(ข้อมูลจากการรวบรวมจากหน่วยงานภาครัฐโดย ศปป. ณ ๑๗ ก.พ.๒๕๕๗)
ภาคผนวก: ฐานข้อมูล
 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง
> ผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิต
ภาคผนวก: ฐานข้อมูล
 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ชุมนุมทาง
การเมือง
> ผู้ต้องคดี : ข้อมูลฐานคดี
จานวนคดี/ผู้ต้องคดี สตช. DSI หมายเหตุ
จานวนคดี
1,451 คดี
(ไม่มีข้อมูลคดีคงค้าง)
267 (สอบสวนเสร็จ 233 คดี
คงค้าง 34 คดี)
จานวนผู้ถูก
ดาเนินคดี
1,833 คน ไม่มีข้อมูล -
ได้รับการปล่อยตัว 215 คน ไม่มีข้อมูล -
ได้รับการประกันตัว 220 คน ไม่มีข้อมูล
จานวนผู้ถูกจาคุก
170 คน 319 คน รวม
489 คน
คงค้างใน
กระบวนการยุติธรรม
1,228 คน
(ถูกจับ/ควบคุมตัว
291 คน)
ไม่มีข้อมูล
สรุปจานวนคดีและผู้ต้องคดีที่เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง (2548-2557)

More Related Content

Viewers also liked

การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Taraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (19)

การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 

Similar to รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง

ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกาTaraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครูSakaeoPlan
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative LearningUtai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุขกระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 

Similar to รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง (20)

ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุขกระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562 Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (17)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง

  • 1. คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) วาระปฏิรูปพิเศษ 15 แนวทางการสร้างความปรองดอง รายงานผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
  • 2. คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง สปช. ๑. นายดิเรก ถึงฝั่ง ที่ปรึกษาและกรรมการ ๒. พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ที่ปรึกษาและกรรมการ ๓. ศ.พิเศษเอนก เหล่าธรรมทัศน์ ประธานกรรมการ ๔. นายบุญเลิศ คชายุทธเดช รองประธานกรรมการ ๕. ศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ รองประธานกรรมการ ๖. นายไพบูลย์ นิติตะวัน กรรมการ ๗. นายบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ กรรมการ ๘. นายประสาร มฤคพิทักษ์ กรรมการ ๙. นางทิชา ณ นคร กรรมการ ๑๐. นายประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์ กรรมการ ๑๑. นางวลัยพร รัตนเศรษฐ กรรมการ ๑๒. นายธานี สุโชดายน กรรมการ ๑๓. นายอดุลย์ เขียวบริบูรณ์ กรรมการ ๑๔. นางนิชา หิรัญบูรณะ ธุวธรรม กรรมการ ๑๕. นางพะเยาว์ อัคฮาด กรรมการ ๑๖. นายภูมิ มูลศิลป์ กรรมการ ๑๗. นางสาวธัญญาภรณ์ จันทรเวช กรรมการ ๑๘. นายเมธัส อนุวัตรอุดม กรรมการ ๑๙. นางสาวธีรดา ศุภะพงษ์ กรรมการและเลขานุการ ๒๐. นายสุเทพ เอี่ยมคง กรรมการและผช.เลขานุการ
  • 3.
  • 4.
  • 5. ๑. พิจารณาศึกษาและแสวงหาแนวทางเพื่อลดและยุติความขัดแย้งทาง การเมืองในทุกระดับ ให้ชนในชาติเกิดความรู้รักสามัคคี บนพื้นฐาน ความคิดที่แตกต่าง เพื่อนาไปสู่การสร้างความปรองดองเกิดขึ้น ๒. จัดทาข้อเสนอแนวทางการเยียวยาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์การชุมนุมอันเกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ๓. จัดทาแผนดาเนินงานในการสร้างความปรองดองให้ควบคู่ไปกับ กระบวนการปฏิรูปประเทศ ที่มาจากข้อมูลและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จริงจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
  • 6. ๔. อานวยการให้มีการจัดทาและเผยแพร่ฐานข้อมูล เกี่ยวกับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุม อันเกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ต้องการ การเยียวยาและฟื้นฟูวิถีชีวิตในด้านต่างๆ ๕. รายงานความคืบหน้าให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ทราบ ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
  • 7. ๑. วางกรอบคิดและออกแบบกระบวนการปรองดองให้ควบคู่ไป กับการปฏิรูปประเทศ โดยจัดลาดับความสาคัญของขั้นตอนและ ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ๒. ร่วมทางานกับกลไกอื่นๆ ที่ดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อน กระบวนการสร้างความปรองดอง ๓. แสวงหาจุดร่วมของคนในสังคมในการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์และการป้องกันมิให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นซ้า ผ่านการรับฟัง พูดคุย ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการถอดบทเรียน จากประสบการณ์จริง แนวทางดาเนินงาน
  • 8. ๔. จัดทาฐานข้อมูลรวมเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทาง การเมือง เผยแพร่ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเคราะห์ออกมา เป็นองค์ความรู้ ๕. สร้างบรรยากาศที่เอื้อกับการอยู่ร่วมกันท่ามกลางความเห็นทาง การเมืองที่แตกต่างกัน ฟื้นฟูความสัมพันธ์ ลดอคติและสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจของคนในสังคมที่มีความเห็นต่างทางการเมืองผ่าน การทางานเชิงกระบวนการ ๖. ประสานงานและเสนอแนวทางต่อหน่วยงานของภาครัฐและ ภาคเอกชน ในการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์การชุมนุมในด้านต่างๆ แนวทางดาเนินงาน
  • 10. ๑. พิจารณาศึกษาและแสวงหาแนวทางเพื่อ ลดและยุติความขัดแย้งทางการเมืองในทุก ระดับ ให้ชนในชาติเกิดความรู้รักสามัคคี บนพื้นฐานความคิดที่แตกต่าง เพื่อนาไปสู่ การสร้างความปรองดองเกิดขึ้น ๒. จัดทาข้อเสนอแนวทางการเยียวยาแก่ผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องดาเนินการ บทที่ ๓ : ข้อเสนอเชิงเนื้อหา และกลไกที่ทาได้ ทั้งก่อนและหลัง มีรัฐธรรมนูญ ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ อานาจหน้าที่ เนื้อหาในรายงาน
  • 11. ๓. จัดทาแผนดาเนินงานในการสร้างความปรองดองให้ ควบคู่ไปกับกระบวนการปฏิรูปประเทศ ที่มาจากข้อมูล และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงจากผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์การชุมนุมอัน เกี่ยวเนื่องมาจากความ ขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ๔. อานวยการให้มีการจัดทาและเผยแพร่ฐานข้อมูล เกี่ยวกับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมอัน เกี่ยวเนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ต้องการ การเยียวยาและฟื้นฟูวิถีชีวิตในด้านต่างๆ ๕. รายงานความคืบหน้าให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ทราบ บทที่ ๔ :แผนการ ดาเนินงานสร้างความ ปรองดอง ภาคผนวก : ฐานข้อมูล - จานวนผู้ได้รับ ผลกระทบและ ผู้ได้รับการเยียวยา กรณีบาดเจ็บ เสียชีวิต และต้องคดี ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๗ ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ (ต่อ) อานาจหน้าที่ เนื้อหาในรายงาน
  • 12. “การสร้างความปรองดอง” ในที่นี้ หมายถึง การคลี่คลายความขัดแย้ง ที่มีการใช้ความรุนแรงเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยการถอดบทเรียน สร้างความรับรู้และความเข้าใจถึงสาเหตุและผลกระทบ การสานึกรับ ผิดและการฟื้นคืนความสัมพันธ์ การหาข้อตกลงใหม่ในกฎเกณฑ์ของ การอยู่ร่วมกันในสังคมเดียวกันระหว่างบุคคล กลุ่มพลังทางการเมือง และประชาชนในชาติที่มีความคิด ความเชื่อแตกต่างกันจนแบ่งกันเป็น ฝักฝ่าย การหามาตรการป้องกันมิให้ความขัดแย้งขยายตัวและเกิด ความรุนแรงขึ้นซ้าอีก รวมทั้งการปฏิรูปทั้งกระบวนทัศน์และกลไก ของรัฐให้สามารถรองรับการขับเคลื่อนสังคมที่อยู่ในระยะของการ แปรเปลี่ยนความขัดแย้งไปสู่การสร้างฉันทามติใหม่ นิยาม ความหมาย ขอบเขตของคาว่า “ปรองดอง”
  • 13. วิธีการ : อาศัยการดาเนินงานแบบเป็นกระบวนการ บนฐาน ความเข้าใจในบริบทของความขัดแย้ง โดยนาหลักการที่ เหมาะสมกับสภาพปัญหามาปรับใช้ ที่สาคัญ คือ ความไว้วางใจและการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย ในการหาข้อตกลงร่วมกันในการแสวงหาทางออกจาก ความขัดแย้ง ให้เป็นไปตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย และสันติวิธี ซึ่งต้องมีการติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการ นั้นต่อเนื่องและสอดคล้องกับสภาพสังคม เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน นิยาม ความหมาย ขอบเขตของคาว่า “ปรองดอง”
  • 14.
  • 15. ๓.๑ ข้อเสนอเชิงเนื้อหา ภารกิจ ๖ ด้านที่ต้องทาควบคู่กันไปให้ครบ อย่างเป็นองค์รวม ๓.๒ ข้อเสนอแนะเชิงกลไก ก่อนและหลังการมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ บทที่ ๓ ข้อเสนอแนะเบื้องต้นในการสร้างควาปรองดอง
  • 16. ๓.๑ ข้อเสนอเชิงเนื้อหาในภารกิจ ๖ ด้าน หลักความยุติธรมในระยะเปลี่ยนผ่านและความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๑. การสร้างความ เข้าใจร่วมของ สังคมต่อเหตุแห่ง ความขัดแย้ง ๒. การแสวงหาและ เปิดเผยข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ ความรุนแรง ๓. การอานวย ความยุติธรรม การสานึก รับผิดชอบและ การให้อภัย ๖. มาตรการป้องกัน การใช้ความรุนแรง ในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๕. การสร้างสภาวะ ที่เอื้อต่อ การอยู่ร่วมกัน ๔. การเยียวยา ดูแล และการฟื้นฟู ผู้ได้รับผลกระทบ
  • 17.
  • 18. การสร้างความเข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่งความขัดแย้งภารกิจที่ ๑ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๑ การสร้างความ เข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่ง ความขัดแย้ง ทบทวนเอกสารและข้อเสนอแนะในการ สร้างความปรองดองที่เคยมีมา ผู้เกี่ยวข้องและคนในสังคมเข้าใจมุมมอง ของกันและกัน เกี่ยวกับสาเหตุความ ขัดแย้งที่จะนามาสู่การคลี่คลายและการ ป้องกันความขัดแย้ง -คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ(คอป.) -สถาบันพระปกเกล้า(KPI) -คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ -ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.) -กรรมาธิการการเมืองของสภาปฏิรูปแห่งชาติและสภานิติบัญญัติ -คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย(คปก.) -คณะกรรมการปฏิรูป(คปร.) -คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป(คสป.) -คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) -ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุม กรณี เมษายน-พฤษภาคม 2553(ศปช.) -คณะนักวิจัยของสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -องค์กรสิทธิมนุษยชน ฮิวแมนไรท์วอทซ์(HRW) -จัดเวทีรับฟังจากกลุ่มต่างๆ(ศาล อัยการ DSI เรือนจา ผู้ถูกคุมขัง ผู้บาดเจ็บและญาติผู้สูญเสียฯลฯ)
  • 19. การแสวงหาและเปิดเผยข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ความรุนแรงภารกิจที่ ๒ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๒ การแสวงหา และเปิดเผยข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ความ รุนแรง ๑) รวบรวมและตรวจสอบ ข้อเท็จจริง หาสาเหตุ แรงจูงใจเกี่ยวกับการละเมิด กฎหมายและการละเมิดสิทธิ มนุษยชน ๒) เปิดเผยชื่อผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการละเมิดกฎหมายและ สิทธิมนุษยชนในระยะเวลาที่ กฎหมายกาหนดและมีความ เหมาะสมของสถานการณ์ • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ ความขัดแย้ง ผ่านการ ตรวจสอบ สังเคราะห์ด้วยกลไก และวิธีการที่มีความเป็น วิชาการ • ทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและคนใน สังคมเข้าใจร่วมกันใน ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความ ขัดแย้ง • สังคมได้การสรุปบทเรียน เกิดสานึกร่วมกันในการป้องกัน มิให้ประเทศชาติต้องประสบ กับวิกฤตการณ์เช่นนี้อีก
  • 20. การอานวยความยุติธรรม สานึกรับผิดชอบ+ให้อภัยภารกิจที่ ๓ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๓ การอานวย ความยุติธรรม การ สานึกรับผิดและ การให้อภัย • นาทั้งกลไกตาม กฎหมายที่มีอยู่ใน ปัจจุบันและการตรา กฎหมายพิเศษเพื่อนา หลักการของความ ยุติธรรมในระยะเปลี่ยน ผ่านและกระบวน ทรรศน์เรื่องความ ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ มาใช้ • การรับรู้ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับจานวนผู้ที่ต้องคดี ประเภทคดีและสถานะทาง คดี โดยจาแนกเป็น ๑) ความผิดที่มีมูลเหตุจูงใจ ทางการเมือง ๒) ความผิด อาญาโดยแท้ ที่มีระดับความ ร้ายแรง ขัดกับศีลธรรม หรือ สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของ บุคคล ๓) ความผิดทั้งแบบ ที่ ๑) และ ๒)
  • 21. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย (ต่อ) ภารกิจที่ ๓ การจาแนกมูลเหตุแห่งการกระทาผิด โดยนาคดีที่เกิดขึ้นจากการชุมนุมทางการเมืองตลอดช่วงเวลาพิจารณามา จาแนกถึงมูลเหตุแห่งการกระทาผิด ตามเกณฑ์ ดังนี้ (๑) ความผิดที่มีแรงจูงใจทางการเมือง หมายถึง ความผิดที่มีแรงจูงใจ จากความเชื่อหรือมุมมองทางการเมืองของตนเองหรือกลุ่มของตนที่ อาจมีความแตกต่างกับรัฐบาล จึงได้เกิดแรงจูงใจที่จะกระทาความผิด อาญาจากฐานความเชื่อหรือมุมมองทางการเมืองนั้น (๒) ความผิดอาญาโดยแท้ หมายถึง ความผิดที่รัฐเป็นเป็นผู้เสียหาย โดยตรงหรือความผิดต่อเอกชน อันเป็นความผิดที่มีระดับความร้ายแรง ของการกระทาผิดที่มีผลกระทบต่อศีลธรรมของประชาชน หรือสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคล (๓) ความผิดที่มีแรงจูงใจทางการเมืองแต่มีฐานความผิดอื่นประกอบ
  • 22. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๓ การอานวย ความยุติธรรม การสานึก รับผิดและการให้อภัย ตั้งโจทย์โดยเริ่มจากการ แยกแยะจัดกลุ่มประเภทคดี และสถานะของคดีอาญาที่ เกี่ยวเนื่องจากการชุมนุมทาง การเมือง ในช่วง ๒๕๔๘ – ๒๕๕๘ ที่ทั้งฝ่ายรัฐและ ประชาชนเป็นผู้ถูกกล่าวหา (ดูในแผนภาพข้อเสนอแนวทาง ในการสร้างความปรองดองตาม หลักความยุติธรรมในระยะ เปลี่ยนผ่านและความยุติธรรม เชิงสมานฉันท์) • สร้างความเชื่อมั่นใน กระบวนการยุติธรรมด้วย หลักนิติธรรม โดยใช้วิธีการที่ เหมาะสมกับฐานความผิด • ให้โอกาสผู้กระทาผิดที่ได้ เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม แล้ว ได้สานึกผิด กลับมาสู่ สังคม รวมทั้งฟื้นฟู ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง
  • 23. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓ หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดการละเมิดสิทธิ มนุษยชน ที่คานึงถึงสิทธิของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ และการส่งเสริมกลไกที่จะนาพาสังคมไปสู่สันติภาพ การปรองดอง และความเป็นประชาธิปไตย เพื่อให้สังคมเดินหน้าต่อไปโดยที่เหตุการณ์ความ รุนแรงไม่ย้อนกลับมาอีกครั้ง
  • 24. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓ ในทางสากล หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน ครอบคลุมถึงวิธีการ ดังต่อไปนี้ ๑) การตรวจสอบและค้นหาข้อเท็จจริงเพื่อการรับรู้ถึง สาเหตุและการคลี่คลายปมปัญหา ๒) การดาเนินคดีต่อผู้ที่ละเมิดกฎหมายด้วยหลักนิติธรรม ๓) การเยียวยาและชดเชยให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก ความรุนแรง ๔) การยอมรับในการกระทา ขออภัยและแสดงความ รับผิดชอบต่อการกระทาผิด
  • 25. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓ ๕) การนิรโทษกรรมและการให้อภัยโดยมีข้อยกเว้นมิให้การ นิรโทษกรรมกับผู้กระทาความผิดในของการกรณีละเมิดสิทธิ มนุษยชนร้ายแรง ๖) การปฏิรูป หรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ให้เอื้อกับการลดและป้องกันการก่อ เกิดขึ้นซ้าของความขัดแย้ง อาทิ การแบ่งสรรอานาจทาง การเมืองให้เกิดดุลยภาพ การลดความเหลื่อมล้าในการ พัฒนาและเข้าถึงทรัพยากร การอานวยความยุติธรรมและ ความรับผิดชอบเมื่อมีการการละเมิดสิทธิมนุษยชน การ สนับสนุนบทบาทที่สร้างสรรของสื่อสารมวลชน ฯลฯ
  • 26. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัยภารกิจที่ ๓ กระบวนทัศน์แบบ “ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์” ให้ความสาคัญกับผู้เสียหายเป็นอันดับแรก เนื่องจาก ผู้เสียหายนั้นมีอานาจในการกาหนดว่าความยุติธรรม ที่ตนต้องการคืออะไร โดยมีผู้ไกล่เกลี่ยระหว่าง ผู้เสียหายและผู้กระทา ซึ่งความยุติธรรมเกิดขึ้น ต่อเมื่อความต้องการของผู้เสียหายได้รับ การตอบสนอง
  • 27. การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย คดีอาญาในชั้นสอบสวนของเจ้าหน้าที่ตารวจ/กรมสอบสวนคดีพิเศษ สานักงานอัยการ ความเห็นสั่งฟ้อง/ไม่ฟ้อง คดีที่อยู่ในระหว่าง การพิจารณาของศาล การฟ้องคดีอาญาที่ไม่เป็น ประโยชน์แก่สาธารณชนหรือจะมี ผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือ ความมั่นคงของชาติ หรือต่อ ผลประโยชน์อันสาคัญของ ประเทศ (ตามพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงาน อัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๒๑ และระเบียบ สานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการสั่งคดีอาญาที่จะ ไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน หรือจะมี ผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือความมั่นคงของ ชาติ หรือต่อผลประโยชน์อันสาคัญของประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔เฉพาะในกรณีความผิดที่มีแรงจูงใจ ทางการเมืองเท่านั้น) การฟ้องคดีอาญาที่ไม่เป็น ประโยชน์ แก่สาธารณชนหรือจะมีผลกระทบ ต่อความปลอดภัยหรือความมั่นคง ของชาติหรือต่อผลประโยชน์อัน สาคัญของประเทศ ความผิดอาญาโดยเนื้อแท้ เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมโดยปกติ (ประกันตัว ปล่อย ปล่อยชั่วคราว) รับโทษ/อภัยโทษ สั่งไม่ฟ้อง สั่งฟ้อง พนักงานอัยการไม่ยื่นคาร้อง ไม่อุทธรณ์ ไม่ฎีกา ถอนฟ้อง ถอนคาร้อง ถอนอุทธรณ์ และถอนฎีกา (มีมติครม.หรือนโยบายของรัฐ) ภารกิจที่ ๓ ๑) การใช้กลไกตามกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน
  • 28. ๒) การตรากฎหมายพิเศษ ภารกิจที่ ๓ หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (ความผิดที่รัฐกระทาต่อบุคคล) ๑. ฟ้องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด ๒. การค้นหาความจริง ๓. การให้ความช่วยเหลือ ชดเชย เยียวยา ๔. กระบวนการที่ทาให้สังคมรับรู้ ๕. กระบวนการปฏิรูปสถาบันหรือ หน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบ ๖. การให้สังคมข้ามผ่านปัญหาความขัดแย้ง และก่อให้เกิดความปรองดองสมานฉันท์ หลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ และคุมประพฤติ (ความผิดที่บุคคลกระทาละเมิดต่อบุคคล) ๑. คัดเลือกคนกลาง หรือ ตั้งคณะอนุญาโตตุลาการ ๒. เจรจา กาหนดเงื่อนไข หาทางออกร่วมกัน ๓. การหาข้อยุติ ๔. ติดตามผลการปฏิบัติตามเงื่อนไข กระบวนการสานึกรับผิดต่อสาธารณะ นิรโทษกรรมแบบมีเงื่อนไข การอานวยความยุติธรรม การสานึกรับผิดชอบและการให้อภัย
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32. จาแนกกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ทั้งจากผู้ชุมนุมและ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็น ๕ กลุ่ม ดังนี้ การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับ ผลกระทบ ภารกิจที่ ๔ (๑) กลุ่มผู้บาดเจ็บและพิการทางกาย (๒) กลุ่มญาติผู้เสียชีวิต (๓) กลุ่มผู้ที่ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย (๔) กลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบทางคดีมีข้อหา หมายจับและถูก ดาเนินคดี (๕) กลุ่มที่เป็นชุมชนในละแวกใกล้เคียงกับการชุมนุม
  • 33. การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบภารกิจที่ ๔ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๔ การ เยียวยา ดูแลและ การฟื้นฟูผู้ได้รับ ผลกระทบ ๑) ตั้งศูนย์ประสานงานและ รวบรวมข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบ ทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุมทาง การเมืองตั้งแต่ พ.ศ.2548 – พ.ศ.2557 ๒) ทาฐานข้อมูลผู้ได้รับ ผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ ชุมนุมทางการเมือง ๓) เยียวยา ดูแล และฟื้นฟูผู้ได้รับ ผลกระทบทุกฝ่ายโดยมีมาตรการ เยียวยาและฟื้นฟูทั้งในส่วนที่เป็น ตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน • ผู้ที่ได้รับผลกระทบทุก กลุ่มทุกฝ่ายสามารถ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างมีเกียรติและ ศักดิ์ศรีอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกันอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่องทั้งใน แบบที่เป็นตัวเงินและ ไม่ใช่ตัวเงิน
  • 34. การเยียวยา ดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบภารกิจที่ ๔ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๔ การ เยียวยา ดูแลและ การฟื้นฟูผู้ได้รับ ผลกระทบ ๕) กาหนดหลักเกณฑ์ ฐานการ คิดคานวณอัตราในการให้การ ชดเชยความเสียหายและการ เยียวยา โดยไม่ทาให้เกิดการ เลือกปฏิบัติ ปัญหาและเงื่อนไข ของความขัดแย้ง ๖) พัฒนา ปรับปรุง จัดทา กฎหมาย กฎระเบียบที่จาเป็น ในการรองรับการชดเชย เยียวยา • ผู้ที่ได้รับผลกระทบทุก กลุ่มทุกฝ่ายสามารถ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างมีเกียรติและ ศักดิ์ศรีอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกันอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง ทั้งในแบบที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน
  • 35. นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๕ การ สร้างสภาวะที่เอื้อ ต่อการอยู่ร่วมกัน ๑) พัฒนายุทธศาสตร์สันติวิธีเพื่อ ความมั่นคงของชาติ จากกรอบ นโยบายที่เคยมีมา ให้เป็นหลัก ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ๒) สื่อสารกับสังคมเพื่อสร้างความ เข้าใจของประชาชนให้ตระหนักถึง ผลจากการใช้ความรุนแรงในการ จัดการปัญหา ความเคารพและ รับผิดชอบในการใช้สิทธิเสรีภาพ ส่วนบุคคล และสิทธิเสรีภาพ ในการชุมนุม • สังคมพหุวัฒนธรรมที่ สันติและเป็นธรรม โดย ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน ท่ามกลางความคิดเห็นที่ แตกต่างและรู้จักการแก้ไข ปัญหาด้วยสันติวิธี • ลดและขจัดความเหลื่อม ล้าที่เป็นรากฐาน สาเหตุ บ่มเพาะความขัดแย้ง
  • 36. นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๕ การ สร้างสภาวะที่เอื้อ ต่อการอยู่ร่วมกัน ๓) ฟื้นฟูความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สังคม องค์กร และสถาบันที่มีความ ขัดแย้งกัน ๔) เร่งรัด ผลักดันการปฏิรูป โครงสร้างสถาบันทางการเมืองให้เอื้อ ต่อการเกิดวัฒนธรรมทางการเมือง ประชาธิปไตยแบบพหุนิยม เปิดโอกาสให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายมีสัดส่วน ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้ เพื่อให้วาระต่างๆ ที่เป็นประเด็น สาธารณะ ได้ถูกขบคิด กลั่นกรอง จากมุมมองที่หลากหลาย • สังคมพหุวัฒนธรรมที่ สันติและเป็นธรรม โดย ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน ท่ามกลางความคิดเห็นที่ แตกต่างและรู้จักการ แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี • ลดและขจัดความ เหลื่อมล้าที่เป็นรากฐาน สาเหตุบ่มเพาะความ ขัดแย้ง
  • 37. นุมการสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันภารกิจที่ ๕ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๕ การ สร้างสภาวะที่เอื้อ ต่อการอยู่ร่วมกัน ๕) เร่งรัด ผลักดันการปฏิรูป โครงสร้างและระบบเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมเพื่อขจัด ปัญหาความเหลื่อมล้าและ สร้างความเป็นธรรมทางสังคม • สังคมพหุวัฒนธรรมที่ สันติและเป็นธรรม โดย ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกัน ท่ามกลางความคิดเห็นที่ แตกต่างและรู้จักการ แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี • ลดและขจัดความ เหลื่อมล้าที่เป็นรากฐาน สาเหตุบ่มเพาะความ ขัดแย้ง
  • 38. มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๖ มาตรการ ป้องกันการใช้ ความรุนแรงใน การแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๑) เฝ้าระวังสถานการณ์ ระมัดระวัง และ หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า หรือปะทะ รุนแรงระหว่างฝ่ายประชาชนหรือฝ่าย เจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง ๒) ปฏิรูปและกากับบทบาทของ สื่อสารมวลชนให้เป็นไปตามจรรยาบรรณ โดยนาเสนอเนื้อหาสาระที่สร้างสรรค์ ไม่ ยุยง บิดเบือนข้อเท็จจริง จนก่อให้เกิด ความเกลียดชัง หรือการใช้ความรุนแรง ในการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างคนใน สังคม โดยยังให้หลักประกันสิทธิเสรีภาพ ของสื่อมวลชน • ลดความเสี่ยงและ ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด ความขัดแย้งรุนแรงซ้า อีกในอนาคต • สร้างหลักประกันให้กับ สังคมในการใช้หลักนิติ ธรรมและสันติวิธีของรัฐ ในการคุ้มครองความ ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของ ประชาชน
  • 39. มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๖ มาตรการป้องกัน การใช้ความ รุนแรงในการ แก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๓) จัดให้มีกลไก กติกาและส่งเสริมให้มี พื้นที่ในการใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุม อย่างสันติวิธี ที่สอดคล้องกับหลัก รัฐธรรมนูญที่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ บุคคล และกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของ ประชาชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี ๔) สร้างสานึกและความตระหนักถึงการ ใช้เสรีภาพส่วนบุคคลให้มีความ รับผิดชอบและเคารพในสิทธิของผู้อื่นใน การใช้สื่อในรูปแบบต่างๆ • ลดความเสี่ยงและ ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด ความขัดแย้งรุนแรงซ้า อีกในอนาคต • สร้างหลักประกันให้กับ สังคมในการใช้หลักนิติ ธรรมและสันติวิธีของรัฐ ในการคุ้มครองความ ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของ ประชาชน
  • 40. มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๖ มาตรการป้องกัน การใช้ความรุนแรง ในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๕) ในการควบคุมฝูงชน ใช้ วิจารณญาณในการปฏิบัติต่อ สถานการณ์อย่างรอบคอบ เน้นใช้ การเจรจา และปฏิบัติกฎการ ปะทะตามหลักสากลอย่าง เคร่งครัด ๖) ในเหตุการณ์ชุมนุม ควรให้ หน่วยบริการทางการแพทย์เข้าถึง ผู้บาดเจ็บ-เสียชีวิตโดยเร็วและ ปกป้องคุ้มครองผู้ให้บริการอย่าง ปลอดภัยที่สุด • ลดความเสี่ยงและ ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด ความขัดแย้งรุนแรงซ้า อีกในอนาคต • สร้างหลักประกันให้กับ สังคมในการใช้หลักนิติ ธรรมและสันติวิธีของรัฐ ในการคุ้มครองความ ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของ ประชาชน
  • 41. มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๖ มาตรการป้องกัน การใช้ความรุนแรง ในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๗) ส่งเสริมให้หน่วยงานใน กระบวนการยุติธรรม และหน่วยงาน อื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง มีการปฏิบัติ ตามหลักนิติธรรมอย่างเคร่งครัดโดย จัดทาเกณฑ์มาตรฐานขึ้นไว้เพื่อ ประเมินผลการดาเนินงานด้าน ยุติธรรม ๘) ปรับเปลี่ยน ปฏิรูปและลด บทบาทของหน่วยงาน หรือบุคคลที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจ กลับคืนมาของสังคม • ลดความเสี่ยงและ ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด ความขัดแย้งรุนแรงซ้า อีกในอนาคต • สร้างหลักประกันให้กับ สังคมในการใช้หลักนิติ ธรรมและสันติวิธีของรัฐ ในการคุ้มครองความ ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของ ประชาชน
  • 42. มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภารกิจที่ ๖ ภารกิจ วิธีการ ผลที่จะได้รับ ภารกิจที่ ๖ มาตรการป้องกัน การใช้ความ รุนแรงในการ แก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง ๙) ควรมีมาตรการตรวจสอบ ลงโทษ การแสดงความรับผิดชอบของ เจ้าหน้าที่รัฐและแกนนาการชุมนุม ที่ทาเกินกว่าเหตุ จนนาไปสู่การ สูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ๑๐) การสร้างเครื่องเตือนใจ/ สัญลักษณ์ความทรงจาให้สังคมได้ เรียนรู้ถึงเรื่องราวของความขัดแย้ง ราลึกถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นและ คุณค่าของการสร้างความปรองดอง • ลดความเสี่ยงและ ป้องกันเหตุที่จะทาให้เกิด ความขัดแย้งรุนแรงซ้า อีกในอนาคต • สร้างหลักประกันให้กับ สังคมในการใช้หลักนิติ ธรรมและสันติวิธีของรัฐ ในการคุ้มครองความ ปลอดภัย ปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของ ประชาชน
  • 43. ๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก ๓.๒.๑ แนวทางการสร้างความปรองดองก่อนมีรัฐธรรมนูญฉบับ ใหม่ ให้มีการดาเนินงานประสาน บูรณาการร่วมกันเพื่อเป็นกลไกและเครื่องมือในการ สร้างความปรองดอง ดังนี้ ๑. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เร่งรัดการพิจารณาร่างกฎหมายกองทุนยุติธรรม, การอานวยความยุติธรรมและกฎหมายอื่นที่จาเป็นต่อการสร้างความปรองดอง ๒. สภาปฏิรูปแห่งชาติ เร่งจัดทาข้อสรุป ข้อเสนอในการขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งลดเงื่อนไขความขัดแย้งทางการเมือง ปฏิรูป กระบวนการยุติธรรม และปฏิรูปสื่อสารมวลชน เพื่อลด/ขจัดการสื่อสารที่ยุยง ความแตกแยก และสร้างความเกลียดชัง
  • 44. ๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก ๓. ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป(ศปป.) ๑) สารวจปัญหาความเดือดร้อนและและจัดกลุ่มความต้องการการเยียวยาของผู้ ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายให้ครบถ้วน โดยการพบปะเยี่ยมเยียนเป็นรายบุคคลและ การจัดเวทีรับฟังตามภูมิภาคต่างๆ ๒) ประสานกับกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และศูนย์ดารง ธรรม เพื่อจัดตั้งหรือให้มีศูนย์ฯ รับเรื่องร้องเรียนผู้ที่ได้รับผลกระทบทุกฝ่าย ทุก เหตุการณ์ อันเนื่องมาจากการชุมนุมทางการเมือง ๓) ทาคู่มือเพื่อสร้างความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานใน การสื่อสารต่อสาธารณให้เป็นที่รับรู้ว่ามีการรับเรื่องร้องเรียน ๔) พัฒนาฐานข้อมูลที่ได้รับผลกระทบทุกฝ่าย ทุกเหตุการณ์ ให้มีความสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
  • 45. ๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก ๔. คณะกรรมการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดอง ๑) เปิดเวทีรับฟังความเห็น พูดคุย เยี่ยมเยียนเพื่อเปิด พื้นที่และสร้างความไว้วางใจระหว่างหน่วยงาน องค์กรที่มี หน้าที่รับผิดชอบแก้ไขปัญหา กับผู้ที่ได้รับความเสียหาย ผู้สูญเสีย และผู้ที่ได้รับผลกระทบ ๒) สร้างภาคีเครือข่าย แนวร่วมดาเนินงานด้านสันติวิธีกับ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาที่มีภารกิจ การสร้างสันติวิธีเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
  • 46. ๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก ๕. คณะกรรมการอานวยการเยียวยาด้านการเงินตามหลัก มนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทาง การเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ หรือ คกย. (ตามคาสั่งของ นายกรัฐมนตรี) ๑) ใช้แนวคิดตามหลักการใช้กฎหมายย้อนหลังที่เป็นคุณในการ กาหนดเกณฑ์เยียวยาที่เป็นมาตรฐานโดยไม่ทาให้เกิดการเลือก ปฏิบัติ ปัญหาและเงื่อนไขของความขัดแย้งต่อเนื่อง ๒) พัฒนาฐานข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกระทบ เพื่อใช้เป็นฐานในการ ติดตาม ตรวจสอบ แก้ไขปัญหา เยียวยาที่เป็นตัวเงิน และสร้าง องค์ความรู้ในการจัดการปัญหาเมื่อเกิดเหตุในทานองเดียวกันซ้า
  • 48. ๓.๒ ข้อเสนอเชิงกลไก ๓.๒.๒ แนวทางการสร้างความปรองดองหลังมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ - ให้มีบทบัญญัติว่าด้วยการปฏิรูปและการสร้างความปรองดองขึ้น ใน ภาค ๔ เพื่อการปฏิรูปและการสร้างความปรองดองให้แล้วเสร็จภายใน ๕ ปีนับจากวันถัดจากวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ - เนื้อหาในรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้มีอยู่ในทุกภาค และอยู่ใน หลายหมวด หากอธิบายจาก “กลุ่มเป้าหมาย” ของการสร้างความ ปรองดอง อาจจาแนกเนื้อหาในรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องได้เป็น ๓ กลุ่ม โดยมิได้จากัดอยู่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคู่ขัดแย้งกลุ่มหลักที่ เปรียบเสมือนยอดภูเขาน้าแข็งที่โผล่พ้นผิวน้าเท่านั้น
  • 50. บทที่ ๔ : แผนการดาเนินงานเพื่อสร้างความปรองดอง กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ช่วงเวลาดาเนินการ ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๑. การแสวงหาและ เปิดเผยข้อเท็จจริง ๑.๑ การแสวงหา ข้อเท็จจริง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ √ ๑.๒ การแสวงหาและ เปิดเผยข้อเท็จจริง คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง ความปรองดองฯ (คอส.) √ ๒. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ และหาข้อสรุปเกี่ยวกับ เหตุความขัดแย้งซึ่งเป็นที่ ยอมรับจากสังคม เครือข่ายนักวิชาการสันติวิธี คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง ความปรองดองฯ (คอส.) √ √ √
  • 51. ๓. การอานวยความยุติธรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๓.๑ เร่งรัดคดีในชั้นสอบสวน ๓.๒ จัดกลุ่มฐานความผิด ๓.๓ จัดแยกกลุ่มคดีที่ฟ้องแล้ว ไม่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ ๓.๔ การพิจารณาถอนฟ้อง/ ถอนคาร้อง ๓.๕ การดาเนินคดีอาญาโดยใช้ หลัก ความยุติธรรมในระยะ เปลี่ยนผ่านและกระบวนทัศน์ เชิงสมานฉันท์ กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สานักงานตารวจแห่งชาติ สถาบันรพีฯ, /สถาบันเพื่อ การยุติธรรมแห่งประเทศไทย อัยการ, /ครม. อัยการ, /ครม. คณะกรรมการอิสระ เสริมสร้างความปรองดองฯ, หน่วยงานในกระบวนการ ยุติธรรม √ √ √ √ √
  • 52. ๔. การจัดเตรียมการสานึก รับผิดและการให้อภัย หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๔.๑ การจัดเตรียมการ สานึกรับผิดและการให้อภัย ระหว่างบุคคลกับบุคคล ๔.๒ การจัดเตรียมการ สานึกรับผิดและการให้อภัย ระหว่างรัฐและบุคคล คณะกรรมการอิสระ เสริมสร้างความปรองดองฯ, กลุ่มผู้สูญเสีย √ √ √ ๕. ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนใน ทุกจังหวัด ศูนย์ดารงธรรม /ก.พัฒนา สังคมฯ √ √ ๖. สารวจปัญหาความ เดือดร้อนและความต้องการ เยียวยา ศปป./ศูนย์ดารงธรรม √
  • 53. กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๗. จัดทาฐานข้อมูล เกี่ยวกับผู้ได้รับ ผลกระทบ คณะกรรมการอานวยการ เยียวยาด้านการเงินตามหลัก มนุษยธรรมฯ (คกย.) และ/หรือ ศปป. √ √ √ ๘. การจัดทาหลักเกณฑ์ การเยียวยา ศูนย์ดารงธรรม /ก.พัฒนาสังคม ฯ √ √ ๘.๑ จัดทาหลักเกณฑ์การ เยียวยาที่เป็นตัวเงิน คกย. √ ๘.๒ จัดทาหลักเกณฑ์การ เยียวยาที่ไม่เป็นตัวเงิน ศปป. √
  • 54. กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๙. ดาเนินการเยียวยาแก่ผู้ สูญเสียตามหลักเกณฑ์ที่ กาหนด ก.พัฒนาสังคมฯ กรมคุ้มครองสิทธิฯ คณะกรรมการอิสระเสริมสร้าง ความปรองดองฯ (คอส.) √ √ √ ๑๐. การเยี่ยมเยียน พูดคุย กับผู้ได้รับผลกระทบกลุ่ม ต่างๆ คศป. √ ๑๑. ผลักดันการขับเคลื่อน การปฏิรูปเพื่อลดเงื่อนไข ความขัดแย้ง โดยเฉพาะ การปฏิรูปการเมือง สื่อ และกระบวนการยุติธรรม หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง สภาปฏิรูปแห่งชาติและ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ √ √
  • 55. กิจกรรม หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ + หน่วยงานสนับสนุน ก่อนรัฐธรรมนูญ หลังรัฐธรรมนูญ ๑๒. การสร้างเครือข่าย สนับสนุน/ทางานร่วมกัน ของเครือข่ายสันติวิธี คศป.และเครือข่ายที่ทางานสันติ วิธี √ ๑๓. เร่งรัด ผลักดันการ พิจารณากฎหมายที่เอื้อ สร้างความยุติธรรมและ การปฏิรูป เช่นร่าง พรบ. กองทุนยุติธรรม สภาปฏิรูปแห่งชาติและสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ √ √ √ ๑๔. ผลิตสื่อหลากหลาย รูปแบบเพื่อสร้างความ เข้าใจ ส่งเสริมการสร้าง ความปรองดอง สื่อของภาครัฐและเอกชน, กองทุนสื่อสร้างสรรค์ √
  • 56. บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง ๑. เวลาในการฟื้นฟู ความสัมพันธ์ ระหว่างผู้คนใน สังคม ๒. ความเข้าใจสาเหตุ ความขัดแย้ง ในอดีต ปัจจุบันและ การป้องกันไม่ให้ เกิดซ้าในอนาคต ๓. ภาวะผู้นาและ เจตจานงทาง การเมืองที่จะ สร้างความ ปรองดอง ๖. กลไกในการสร้าง ความปรองดอง ทางานเป็นอิสระ ได้รับการยอมรับ จากทุกฝ่าย ๕. กติกาใหม่ของ สังคมที่ทุกฝ่าย รู้สึกเป็นเจ้าของ “ชัยชนะของ ส่วนรวม” ๔. วัฒนธรรม การเมืองที่เน้น ความร่วมมือ แตกต่างได้ โดย ไม่ใช้ความรุนแรง
  • 57. บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง ๑) การปรองดองเป็นเรื่องที่ไม่สามารถบังคับกันได้และจาเป็นต้องใช้เวลา เนื่องจากการปรองดองเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในสังคม ระหว่างเหยื่อและผู้กระทา ระหว่างคู่ขัดแย้ง และระหว่างผู้ที่มีความคิด ความเชื่อแตกต่างกัน ๒) การความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นใน เป็นสิ่งจาเป็นต่อกระบวนการสร้าง ความปรองดอง โดยไม่สามารถบังคับผู้ที่เกี่ยวข้องให้ลืมอดีต หรือให้ เดินหน้าสู่อนาคตโดยให้ละทิ้งอุดมการณ์ได้ จึงต้องวางแนวทางที่ สามารถแยกแยะและคลี่คลายปมปัญหาในอดีต โดยเฉพาะการแสวงหา ข้อเท็จจริงและสร้างความเข้าใจร่วมต่อเหตุการณ์รุนแรง เพื่อสร้างความ ตระหนักแก่ทุกฝ่ายว่า ตนเองก็มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนเป็นผู้กระทาใน เหตุการณ์
  • 58. ๓) ผู้นารัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมั่นว่ามีความตั้งใจจริง หรือ เจตจานงทางการเมือง (political will) ที่จะสร้างความปรองดองใน ชาติได้ ด้วยการสื่อถึงความเข้าใจในปัญหา เปิดกว้างรับฟังและให้ ความสาคัญกับความคิดเห็นที่หลากหลายของคนในสังคมอย่างแท้จริง ๔) แต่ละฝ่ายควรตระหนักว่าสังคมไทยในปัจจุบันยังมีการแบ่งเป็น ฝักฝ่ายอยู่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมิอาจจะ “ชนะ” อีกฝ่ายได้เบ็ดเสร็จ ต้อง สร้างวัฒนธรรมทางการเมืองที่ทาให้ฝักฝ่ายต่างๆ สามารถยอมรับใน ความแตกต่างกันได้ และยอมรับว่ามีประเด็นที่สามารถเป็นวาระที่ ขับเคลื่อน ทางานร่วมกันได้ หากเห็นแตกต่างกัน ก็สามารถหาวิธีแก้ไข ความขัดแย้งได้โดยไม่ใช้ความรุนแรง บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
  • 59. ๕) การที่จะได้มาซึ่งกติกาในการอยู่ร่วมกันใหม่จาเป็นต้องมาจากการมีส่วนร่วม ของตัวแทนของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกกลุ่มทุกฝ่าย เพื่อให้มิให้ถูกมองว่าเป็นกติกา “ของผู้ชนะ” ที่ผู้แพ้ หรือผู้ที่เสียเปรียบเพียงเฝ้ารอเวลาที่จะหวนกลับมาสร้าง ชัยชนะของตน ควรให้การนาสังคมไทยสู่สันติสุขเป็นชัยชนะของทุกฝ่าย ๖) กลไกในการสร้างความปรองดอง ควรเป็นกลไกที่มีความอิสระในการทางาน ได้รับการยอมรับและความไว้วางใจจากทุกฝ่าย มีความต่อเนื่องและ ใช้อานาจหน้าที่โดยมุ่งให้เกิดความปรองดองอย่างแท้จริง และควรมีอานาจ ในการเรียกบุคคล และคุ้มครองพยาน รวมทั้งมีกรอบเวลาและงบประมาณ เพียงพอในการทางานที่สอดคล้องกับสภาพและระดับของความขัดแย้ง ที่เป็นจริง บทที่ ๕ : ปัจจัยและเงื่อนไขความสาเร็จในการสร้างความปรองดอง
  • 60. ภาคผนวก : ฐานข้อมูล  ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ชุมนุม ทางการเมือง > ผู้เสียชีวิต ๑๓๔ ราย > ผู้บาดเจ็บที่ต้องการการเยียวยา ๔,๐๕๓ ราย สามารถจ่ายเงินเยียวยา ๒,๔๗๐ ราย ยังต้องการการเยียวยาอีก ๑,๕๘๓ ราย (ข้อมูลจากกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ณ ๒๗ ก.พ.๒๕๕๗)
  • 61. ภาคผนวก : ฐานข้อมูล > สถิติคดีที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม (๒๕๔๘- ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๗) - สานักงานตารวจแห่งชาติ: มีผู้ต้องคดี ๑,๘๓๓ คน มีจานวนคดี ๑,๔๕๑ คดี - กรมสอบสวนคดีพิเศษ: มีจานวนคดี ๒๖๗ คดี - กรมราชทัณฑ์: มีประชาชนถูกจับและควบคุมตัว ๒๙๑ คน - ณ ๑๗ ก.พ.๒๕๕๗ มีคาพิพากษาในคดีความมั่นคง ๑๗๐ คน ในเรือนจา ๗ แห่ง (ข้อมูลจากการรวบรวมจากหน่วยงานภาครัฐโดย ศปป. ณ ๑๗ ก.พ.๒๕๕๗)
  • 64. จานวนคดี/ผู้ต้องคดี สตช. DSI หมายเหตุ จานวนคดี 1,451 คดี (ไม่มีข้อมูลคดีคงค้าง) 267 (สอบสวนเสร็จ 233 คดี คงค้าง 34 คดี) จานวนผู้ถูก ดาเนินคดี 1,833 คน ไม่มีข้อมูล - ได้รับการปล่อยตัว 215 คน ไม่มีข้อมูล - ได้รับการประกันตัว 220 คน ไม่มีข้อมูล จานวนผู้ถูกจาคุก 170 คน 319 คน รวม 489 คน คงค้างใน กระบวนการยุติธรรม 1,228 คน (ถูกจับ/ควบคุมตัว 291 คน) ไม่มีข้อมูล สรุปจานวนคดีและผู้ต้องคดีที่เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง (2548-2557)