SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง(อังกฤษ:World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า
"สงครามโลก"หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน ค.ศ.1939
เป็นสงครามใหญ่ที่มีศูนย์กลางในยุโรประหว่างวันที่ 28กรกฎาคมค.ศ.1914 ถึง11 พฤศจิกายน
ค.ศ. 1918ทุกประเทศมหาอานาจของโลกเกี่ยวพันในสงครามซึ่งแบ่งออกเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร
(มีศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี ได้แก่อังกฤษฝรั่งเศสและรัสเซีย) และฝ่ายมหาอานาจกลาง
(มีศูนย์กลางอยู่ที่ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี)
พันธมิตรทั้งสองมีการจัดระเบียบใหม่และขยายตัวเมื่อมีชาติเข้าสู่สงครามมากขึ้นท้ายสุด
มีทหารกว่า70 ล้านนายซึ่งเป็นทหารยุโรปเสีย 60ล้านนาย
ถูกระดมเข้าสู่สงครามใหญ่ที่สุดสงครามหนึ่งในประวัติศาสตร์นี้
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งยังนับว่าเป็นความขัดแย้งวงกว้างภายในทวีปยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ส
งครามนโปเลียนทหารผู้เข้าร่วมรบเสียชีวิตเกิน 9 ล้านนาย
สาเหตุหลักเพราะความร้ายแรงของพลังทาลายของอาวุธที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล
เพราะเทคโนโลยีใหม่ๆ
โดยไม่มีพัฒนาการในการคุ้มครองหรือความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ที่สอดคล้องกันสงครามโล
กครั้งที่หนึ่งเป็นสงครามที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์อันดับที่หก
สงครามนี้เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหายรวมกันไม่ต่ากว่า 40ล้านคน
และกรุยทางไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหลายอย่างเช่นการปฏิวัติในชาติที่เข้าร่วมรบ
สาเหตุระยะยาวของสงครามรวมถึงนโยบายต่างประเทศแบบจักรวรรดินิยมของมหาอานาจยุโรปทั้ง
หลาย อย่างจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน จักรวรรดิรัสเซีย
จักรวรรดิอังกฤษฝรั่งเศสและอิตาลี ส่วนการลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันซ์
แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายนค.ศ.
1914โดยกัฟรีโลปรินซีป นักชาตินิยมยูโกสลาฟเป็นชนวนเหตุใกล้ชิดของสงครามออสเตรีย-
ฮังการีจึงยื่นคาขาดฮับสบูร์กต่อราชอาณาจักรเซอร์เบีย
พันธมิตรทั้งหลายซึ่งก่อตั้งขึ้นมาเมื่อหลายทศวรรษก่อนถูกดึงเข้ามาเกี่ยวข้อง
ดังนั้นภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์มหาอานาจทั้งหลายจึงอยู่ในภาวะสงคราม
และความขัดแย้งลุกลามไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วผ่านอาณานิคมต่างๆ
วันที่ 28 กรกฎาคมความขัดแย้งเปิดฉากขึ้นเมื่อออสเตรีย-
ฮังการีรุกรานเซอร์เบียตามด้วยการรุกรานเบลเยียมลักเซมเบิร์กและฝรั่งเศสของเยอรมนี
และการโจมตีเยอรมนีของรัสเซียหลังการบุกโจมตีกรุงปารีสของเยอรมนีถูกหยุด
แนวรบด้านตะวันตกก็เป็นการรบแห่งการสูญเสียที่อยู่กับที่ด้วยแนวสนามเพลาะซึ่งเปลี่ยนแปลงน้อ
ยมากกระทั่งค.ศ.1917 ในทางตะวันออกกองทัพรัสเซียสามารถเอาชนะกองทัพออสเตรีย-ฮังการี
แต่ถูกกองทัพเยอรมันบีบให้ถอยกลับจากปรัสเซียตะวันออกและโปแลนด์แนวรบใหม่ๆ
เปิดขึ้นเมื่อจักรวรรดิออตโตมันเข้าสู่สงครามในค.ศ. 1914 อิตาลีและบัลแกเรียในค.ศ.1915
และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายในค.ศ. 1917
และรัสเซียถอนตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน
หลังการรุกตามแนวรบด้านตะวันตกของเยอรมนีในค.ศ. 1918
กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามและกองทัพสัมพันธมิตรสามารถผลักดันกองทัพเยอรมันกลับ
ไปหลังได้รับชัยชนะติดต่อกันหลายครั้งเยอรมนี ซึ่งประสบปัญหากับนักปฏิวัติถึงขณะนี้
ได้ตกลงหยุดยิงเมื่อวันที่ 11พฤศจิกายนค.ศ. 1918ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อวันสงบศึก
และชัยชนะตกเป็นของฝ่ายสัมพันธมิตร
เมื่อสงครามยุติ รัฐจักรวรรดิใหญ่สี่รัฐ อันได้แก่จักรวรรดิเยอรมัน, ออสเตรีย-ฮังการี, รัสเซีย
และออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทางการเมืองและทางทหารและได้สิ้นสภาพไป
เยอรมนีและรัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีกสองรัฐที่เหลือนั้นล่มสลายลงอย่างสิ้นเชิง
แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็กเกิดใหม่หลายประเทศ
สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต
ลัทธิชาตินิยมยุโรปเกิดขึ้นหลังสงครามและการล่มสลายของจักรวรรดิทั้งหลาย
ผลสะท้อนจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนีและปัญหากับสนธิสัญญาแวร์ซาย
ยอมรับกันทั่วไปว่าเป็นปัจจัยซึ่งนาไปสู่การปะทุของสงครามโลกครั้งที่สอง
สมาชิก
นาย ณัฐพงศ์เขตรักษา ม.5.2 เลขที่ 12
นาย วันเฉลืม อารีย์มม.5.2 เลขที่ 16
นาย ปริทร บัวย้อย ม.5.2 เลขที่ 22
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะfsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 

Viewers also liked

Bilješke uz financijski izvještaj 2015
Bilješke uz financijski izvještaj 2015Bilješke uz financijski izvještaj 2015
Bilješke uz financijski izvještaj 2015Asocijacija Sda
 
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури library_darnitsa
 
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimasRamunas Dzemyda
 
Materia analisis financiero
Materia analisis financieroMateria analisis financiero
Materia analisis financieroanilemalex
 
EC Presentation 8-1
EC Presentation 8-1EC Presentation 8-1
EC Presentation 8-1Nikia Lenef
 
Quality Forum presentation FINAL (1)
Quality Forum presentation FINAL (1)Quality Forum presentation FINAL (1)
Quality Forum presentation FINAL (1)Becky Lambert
 

Viewers also liked (9)

Bilješke uz financijski izvještaj 2015
Bilješke uz financijski izvještaj 2015Bilješke uz financijski izvještaj 2015
Bilješke uz financijski izvještaj 2015
 
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури
Любові й милосердя шлях терновий : рекомендаційний список літератури
 
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas
(LT) Atvykstančiųjų turistų vidutinės viešnagės trukmės ilginimas
 
REPORT dee
REPORT dee REPORT dee
REPORT dee
 
Materia analisis financiero
Materia analisis financieroMateria analisis financiero
Materia analisis financiero
 
EC Presentation 8-1
EC Presentation 8-1EC Presentation 8-1
EC Presentation 8-1
 
Examen
ExamenExamen
Examen
 
DAZZLE THEM 3
DAZZLE THEM 3DAZZLE THEM 3
DAZZLE THEM 3
 
Quality Forum presentation FINAL (1)
Quality Forum presentation FINAL (1)Quality Forum presentation FINAL (1)
Quality Forum presentation FINAL (1)
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (6)

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

  • 1. สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง(อังกฤษ:World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก"หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน ค.ศ.1939 เป็นสงครามใหญ่ที่มีศูนย์กลางในยุโรประหว่างวันที่ 28กรกฎาคมค.ศ.1914 ถึง11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918ทุกประเทศมหาอานาจของโลกเกี่ยวพันในสงครามซึ่งแบ่งออกเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร (มีศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี ได้แก่อังกฤษฝรั่งเศสและรัสเซีย) และฝ่ายมหาอานาจกลาง (มีศูนย์กลางอยู่ที่ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี) พันธมิตรทั้งสองมีการจัดระเบียบใหม่และขยายตัวเมื่อมีชาติเข้าสู่สงครามมากขึ้นท้ายสุด มีทหารกว่า70 ล้านนายซึ่งเป็นทหารยุโรปเสีย 60ล้านนาย ถูกระดมเข้าสู่สงครามใหญ่ที่สุดสงครามหนึ่งในประวัติศาสตร์นี้ สงครามโลกครั้งที่หนึ่งยังนับว่าเป็นความขัดแย้งวงกว้างภายในทวีปยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ส งครามนโปเลียนทหารผู้เข้าร่วมรบเสียชีวิตเกิน 9 ล้านนาย สาเหตุหลักเพราะความร้ายแรงของพลังทาลายของอาวุธที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล เพราะเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยไม่มีพัฒนาการในการคุ้มครองหรือความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ที่สอดคล้องกันสงครามโล กครั้งที่หนึ่งเป็นสงครามที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์อันดับที่หก สงครามนี้เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหายรวมกันไม่ต่ากว่า 40ล้านคน และกรุยทางไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหลายอย่างเช่นการปฏิวัติในชาติที่เข้าร่วมรบ
  • 2. สาเหตุระยะยาวของสงครามรวมถึงนโยบายต่างประเทศแบบจักรวรรดินิยมของมหาอานาจยุโรปทั้ง หลาย อย่างจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิอังกฤษฝรั่งเศสและอิตาลี ส่วนการลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายนค.ศ. 1914โดยกัฟรีโลปรินซีป นักชาตินิยมยูโกสลาฟเป็นชนวนเหตุใกล้ชิดของสงครามออสเตรีย- ฮังการีจึงยื่นคาขาดฮับสบูร์กต่อราชอาณาจักรเซอร์เบีย พันธมิตรทั้งหลายซึ่งก่อตั้งขึ้นมาเมื่อหลายทศวรรษก่อนถูกดึงเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์มหาอานาจทั้งหลายจึงอยู่ในภาวะสงคราม และความขัดแย้งลุกลามไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วผ่านอาณานิคมต่างๆ
  • 3. วันที่ 28 กรกฎาคมความขัดแย้งเปิดฉากขึ้นเมื่อออสเตรีย- ฮังการีรุกรานเซอร์เบียตามด้วยการรุกรานเบลเยียมลักเซมเบิร์กและฝรั่งเศสของเยอรมนี และการโจมตีเยอรมนีของรัสเซียหลังการบุกโจมตีกรุงปารีสของเยอรมนีถูกหยุด แนวรบด้านตะวันตกก็เป็นการรบแห่งการสูญเสียที่อยู่กับที่ด้วยแนวสนามเพลาะซึ่งเปลี่ยนแปลงน้อ ยมากกระทั่งค.ศ.1917 ในทางตะวันออกกองทัพรัสเซียสามารถเอาชนะกองทัพออสเตรีย-ฮังการี แต่ถูกกองทัพเยอรมันบีบให้ถอยกลับจากปรัสเซียตะวันออกและโปแลนด์แนวรบใหม่ๆ เปิดขึ้นเมื่อจักรวรรดิออตโตมันเข้าสู่สงครามในค.ศ. 1914 อิตาลีและบัลแกเรียในค.ศ.1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายในค.ศ. 1917 และรัสเซียถอนตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน หลังการรุกตามแนวรบด้านตะวันตกของเยอรมนีในค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามและกองทัพสัมพันธมิตรสามารถผลักดันกองทัพเยอรมันกลับ ไปหลังได้รับชัยชนะติดต่อกันหลายครั้งเยอรมนี ซึ่งประสบปัญหากับนักปฏิวัติถึงขณะนี้ ได้ตกลงหยุดยิงเมื่อวันที่ 11พฤศจิกายนค.ศ. 1918ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อวันสงบศึก และชัยชนะตกเป็นของฝ่ายสัมพันธมิตร
  • 4. เมื่อสงครามยุติ รัฐจักรวรรดิใหญ่สี่รัฐ อันได้แก่จักรวรรดิเยอรมัน, ออสเตรีย-ฮังการี, รัสเซีย และออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทางการเมืองและทางทหารและได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและรัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีกสองรัฐที่เหลือนั้นล่มสลายลงอย่างสิ้นเชิง แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็กเกิดใหม่หลายประเทศ สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต ลัทธิชาตินิยมยุโรปเกิดขึ้นหลังสงครามและการล่มสลายของจักรวรรดิทั้งหลาย ผลสะท้อนจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนีและปัญหากับสนธิสัญญาแวร์ซาย ยอมรับกันทั่วไปว่าเป็นปัจจัยซึ่งนาไปสู่การปะทุของสงครามโลกครั้งที่สอง สมาชิก นาย ณัฐพงศ์เขตรักษา ม.5.2 เลขที่ 12 นาย วันเฉลืม อารีย์มม.5.2 เลขที่ 16 นาย ปริทร บัวย้อย ม.5.2 เลขที่ 22