SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
การจัดกระบวนการ
เรียนการสอน
และการประเมินผลผู้
เรียนตามสภาพจริง
อาจารย์ ดร. นิตย์ โรจน์
รัตนวาณิชย์
ภาควิชาการบริหารการ
ศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ
มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์
ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ความรู้ และคุณธรรม
มาตรา 6
การพัฒนาผู้เรียน
1. ด้านพุทธิพิสัย
หรือด้านความรู้
ความเข้าใจ
2. ด้านจิตพิสัย
หรือด้าน
คุณลักษณะ
3. ด้านทักษะ
กระบวนการ
การจัดกระบวนการเรียนการ
สอน
 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น/ผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวัง
 สาระสำาคัญของหน่วยการเรียนรู้/บริบท
 กำาหนด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะของ
ผู้เรียน
 การจัดกระบวนการเรียนรู้/กิจกรรมการ
เรียนรู้
 ภาระงาน/ชิ้นงาน
 การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม
สภาพจริง
เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง
เปิดโอกาสให้ฝึกทักษะ
นำาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
จัดการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการ ผสมผสานสาระความรู้
ด้านต่างๆ
กระบวนการเรียนรู้ตามกรอบ
ทฤษฎี Constructivist
1. Assimilation
เป็นกระบวนการที่บุคคลสร้างความเชื่อมต่อ
ระหว่างข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่กับพื้น
ฐานความรู้เดิม
ให้ข้อมูลเชิงบริบทของภาระงานหรือกิจกรรมที่
กำาหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ ผู้เรียนจะเห็นความ
สัมพันธ์ของงานที่ทำากับชีวิตในสังคม
ภายนอก จนทำาให้กิจกรรมเหล่านั้นน่า
สนใจและมีความหมายสำาหรับผู้เรียน
กระบวนการเรียนรู้ตาม
กรอบทฤษฎี Constructivist
2. Accommodation เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนปรับ
โครงสร้างความรู้ภายใน เพื่อให้สามารถตีความ
หรือสร้างความหมายให้กับข้อมูลหรือสถานการณ์
ใหม่
ครูควรดำาเนินการดังนี้
 จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ให้ท้าทาย
และส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียน
 ออกแบบภาระงานและบริบทที่สะท้อนให้เห็นถึงมิติ
ต่าง ๆ ของสังคมภายนอกที่ซับซ้อน ซึ่งผู้เรียนต้อง
ออกไปเผชิญ
 ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทดสอบแนวความคิดหรือ
ความรู้ของตนในบริบทหรือมุมมองที่แตกต่างออก
ไป
กระบวนการเรียนรู้ตาม
กรอบทฤษฎี Constructivist
3. Disequilibrium เกิดความขัดแย้งระหว่างสิ่ง
ที่สิ่งที่พบใหม่กับโครงสร้างความรู้ทางสติ
ปัญญา นำาไปสู่การสูญเสียภาวะดุลภาพทาง
จิตวิทยา ตามปกติความไม่สมดุลในระดับที่
เหมาะสมจะเป็นแรงกระตุ้นให้บุคคลเสาะ
แสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อทำาการสลายความ
ขัดแย้ง (Conflict Resolution) และคืนสู่ภาวะ
ดุลยภาพ
กระบวนการเรียนรู้ตามกรอบ
ทฤษฎี Constructivist
ครูจะดำาเนินการอย่างไร
 ภาระงานหรือปัญหาที่ง่ายเกินไป หรือปัญหา
ที่ยากเกินไป จะไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้
 ผู้สอนควรจัดเตรียมเครื่องมือและแหล่งข้อมูล
ที่น่าเชื่อถือ พร้อมทั้งให้คำาปรึกษา แนะนำา
เพื่อสนับสนุนกระบวนการศึกษาค้นคว้าและ
แก้ปัญหาของผู้เรียน
 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำางานร่วมกัน
ปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้
ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดมุมมองและแนวทาง
การตีความและสร้างความหมายที่หลาก
หลาย
กระบวนการเรียนรู้ตามกรอบ
ทฤษฎี Constructivist
4. Equilibrium เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนบรรลุหรือกลับ
สู่ภาวะดุลยภาพทางจิตวิทยา
ครูควรดำาเนินการอย่างไร
 ออกแบบภาระงานและบริบทให้มีความยากง่าย
และความซับซ้อนในระดับที่เหมาะสมกับ
โครงสร้างความรู้ ทางสติปัญญาผู้เรียน
 ให้โอกาสผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้าและปรึกษา
หารือแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือและให้เวลาในการ
คิดวิเคราะห์ทบทวนเกี่ยวกับสาระและกระบวนการ
ทำางานของตน
การออกแบบภาระงาน
ขั้นตอนที่ 1 ระบุความรู้ ทักษะ
คุณลักษณะของผู้เรียน
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบภาระงานที่
ทำาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและ
คุณลักษณะตามขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนที่ 3 การกำาหนดเกณฑ์การ
ประเมินหรือการให้คะแนน
(Rubrics) ที่ชัดเจน เป็นปรนัย
การพิจารณาภาระงาน
 Wiggins (1996)
 ภาระงานนั้นๆ สรุปรวบยอดและตรงกับ
มาตรฐาน มาตรฐานช่วงชั้น
 ผู้เรียนสามารถนำาพื้นฐานความรู้ที่มีอยู่ มาใช้
นำาไปสู่การเกิดความรู้ใหม่ และความรู้เหล่า
นี้สร้างภาระงาน/ชิ้นงาน ได้สำาเร็จ
 ใช้กระบวนการคิดระดับสูง การคิด
สร้างสรรค์
 ตรงจุดมุ่งหมาย อยู่ในบริบทที่มีความหมายดู
เหมือนสภาพแท้จริง
การพิจารณาภาระงาน
(ต่อ)
ให้ผู้เรียนได้สื่อสารแลกเปลี่ยนระหว่าง
เพื่อนๆ อย่างหลากหลาย
เกิดผลโดยทำาต่อไปอย่างไม่ลดละ
มากกว่าเวลาที่ได้กำาหนด
เปิดช่องทางให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเลือก
ดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
หลักการประเมินผลที่ดี
 เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ของผู้เรียน
 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
 เพื่อสร้างความเป็นธรรมสำาหรับผู้เรียนทุกคน
 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการ
ประเมินอย่างกว้างขวาง
 เพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางวิชาชีพ
 เพื่อการสื่อสารเกี่ยวกับการประเมินได้กระทำา
อย่างสมำ่าเสมอและชัดเจน
 เพื่อให้ระบบการประเมินมีการทบทวนและ
ปรับปรุงอย่างสมำ่าเสมอ
ทิศทางการวัดและประเมินผล
1. เปลี่ยนจากการทดสอบไปสู่การประเมินที่
หลากหลาย
( Form Testing to Multiple Assessment ) คือ
การเปลี่ยนจากการพึ่งแบบทดสอบเป็นหลัก
ไปสู่การใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลาก
หลาย
ทิศทางการวัดและประเมินผล
2. เปลี่ยนจากการวัดความสามารถทางพุทธิ
ปัญญาไปสู่ความสามารถที่หลากหลาย
(From Cognitive to Multiple Abilities)
3. เกิดการบูรณาการระหว่างการวัดและ
ประเมินผลกับการเรียนการสอน (From
Isolated Testing to Integrated Assessment
)
การประเมินตามสภาพจริง
(Authentic Assessment)
 เน้นการประเมินงานของนักเรียนที่สัมพันธ์กับ
โลกแห่งความเป็นจริงในชีวิตประจำาวัน
(Real World Task) โดยมีเกณฑ์ที่มีความ
สำาคัญสอดคล้องกับความจำาเป็นในโลกแห่ง
ความจริง (Wiggins : 1989)
 เป็นวิธีการประเมินที่เน้นงานที่นักเรียน
แสดงออกในภาคปฏิบัติ (Performance) เน้น
กระบวนการเรียนรู้ (Process) ผลผลิต
(Products) และแฟ้มสะสมผลงาน (Protfolio)
 เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
ประเมินผลและมีส่วนร่วมในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
ลักษณะของการประเมินตาม
สภาพจริง
 การปฏิบัติในสภาพจริง
 เกณฑ์ในการประเมิน
 การประเมินตนเอง
 การนำาเสนอผลงาน
 เน้นการปฏิบัติ
 เน้นการประเมินแบบตรง
 สนับสนุนการคิดอย่างอิสระ
 เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ
 กระทำาควบคู่ไปกับกระบวนการ
เรียนการสอน
หลักการประเมินผลที่เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง
(Learner-Centered Assessment)
1. จุดหมายเบื้องต้นของการประเมินผู้เรียนคือเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ที่มีความหมายและสำาคัญ
2. การกำาหนดมาตรฐานความเป็นเลิศ และการ
ออกแบบระบบการประเมินควรเป็นผลจากความ
เห็นร่วมกันของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)
ในท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ความรู้สึก
เป็นเจ้าของ และความใส่ใจอย่างจริงจังของผู้
เกี่ยวข้อง
3. การประเมินควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดง
หลักการประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง (ต่อ)
(Learner-Centered Assessment)
4. ความรู้ ทักษะและยุทธศาสตร์ที่ประเมินควรเป็น
อย่างเดียวกับที่นักเรียนใช้ในกระบวนการเรียนรู้
ตามหลักสูตรในชีวิตประจำาวัน
5. การประเมินผลควรอาศัยข้อมูลจากการปฏิบัติ
ภาระงานที่มีความหมาย สอดคล้องกับสภาพจริง
(Authentic Tasks) และสอดคล้องกับหลักสูตรและ
การเรียนการสอนในชั้นเรียน
6. การประเมินผลควรให้ความสำาคัญและนำ้าหนักที่
เหมาะสมกับ ความสามารถและความ
หลักการประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง (ต่อ)
(Learner-Centered Assessment)
7. การประเมินและการตัดสินผลการเรียนไม่ควรใช้
ข้อมูลจากผลการสอบแบบทดสอบมาตรฐานเพียง
อย่างเดียว เพราะจะไม่เป็นธรรมกับผู้เรียนที่มีความ
หลากหลายด้านความสามารถและผลสัมฤทธิ์
8. การประเมินต้องเป็นธรรมกับผู้เรียนทุกคน ไม่ว่า
พื้นฐานทางวัฒนธรรม ภาษา เชื้อชาติ เพศ และภูมิ
หลังทางผลสัมฤทธิ์จะเป็นเช่นใด
9. ระบบการประเมินควรจะเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง
และผู้ใช้ประโยชน์ข้อมูลการประเมินทำาการตรวจ
หลักการประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง (ต่อ)
(Learner-Centered Assessment)
10. การประเมินในชั้นเรียนควรกระทำาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ข้อมูลระยะยาวสำาหรับใช้เป็นหลักฐาน
การพัฒนาและความก้าวหน้าของผู้เรียนเป็นราย
บุคคล
11. ระบบการประเมินควรจะรวมถึงการวัดแรงจูงใจ
เจตคติ และปฏิกริยาทางจิตพิสัย (Affective
Reaction) ของผู้เรียนต่อหลักสูตรและการเรียน
การสอน นอกเหนือไปจากการวัดด้านความรู้
ทักษะทางปัญญา และยุทธศาสตร์การคิด
หลักการประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง (ต่อ)
(Learner-Centered Assessment)
13. ผลการประเมินควรให้ข้อมูลป้อนกลับที่ชัดเจน
เข้าใจง่าย และเป็นปัจจุบันแก่ผู้เกี่ยวข้องระดับต่าง
ๆ
14. การประเมินไม่ควรถือความถูก-ผิดของคำาตอบ
อย่างเคร่งครัดและคับแคบ แต่ควรพิจารณาถึงคำา
ตอบที่เป็นไปได้และสมเหตุสมผล และเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากความผิดพลาด
15. การประเมินควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก
ซึ่งความรู้และความเข้าใจอย่างสร้างสรรค์และ
แนวทางการออกแบบเกณฑ์การ
ประเมิน
Rubric คืออะไร
คือชุดของเกณฑ์การประเมินที่กำาหนด
ไว้เพื่อให้คะแนนหรือให้ระดับการทดสอบ
แฟ้มสะสมผลงงาน หรือผลการปฏิบัติงาน
ของนักเรียน
“A Rubric is an established set of criteria for scoring
or rating students’ tests, portfolios, or performances.
Diane Hart, 1994.
คือชุดของเกณฑ์การประเมินที่กำาหนด
ไว้เพื่อให้คะแนนหรือให้ระดับการทดสอบ
แฟ้มสะสมผลงงาน หรือผลการปฏิบัติงาน
ของนักเรียน
“A Rubric is an established set of criteria for scoring
or rating students’ tests, portfolios, or performances.
Diane Hart, 1994.
Rubric คืออะไร
Rubric คือ ชุดของแนวทาง
การให้คะแนนสำาหรับการ
ประเมินงานของผู้เรียน
Rubric is a set of scoring
guidelines forevaluating
student work.
Rubric คืออะไร
Rubric คือ เกณฑ์การให้
คะแนนที่มีคำาอธิบายพฤติกรรม
ในแต่ละระดับคุณภาพของงาน
การใช้ Rubric สามารถตอบ
คำาถามเหล่านี้
 เกณฑ์อะไรที่ใช้ในการตัดสินงาน
ของผู้เรียน
 ในการตัดสินผลสำาเร็จของงาน
พิจารณาจากสิ่งใดบ้าง
 ความแตกต่างของช่วงระดับ
คุณภาพของงาน
 ความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรง ความ
ยุติธรรมในการให้คะแนน
ความสำาคัญของ Rubric
 สามารถกำาหนดเป้าหมายของการ
แสดงออกของผู้เรียน
 เป็นแนวทางการประเมินการปฏิบัติ
งานและผลงานของผู้เรียน
 เป็นแนวทางการให้คะแนนทีบรรยาย
ถึงความสามารถ ในการ
แสดงออกและคุณภาพงาน ของผู้
เรียน
รูปแบบของ rubric
1. ประกอบด้วยมาตรวัด ( scale ) ที่
ต่อเนื่อง เพื่อให้คะแนนผลงาน
 โดยปกติคะแนนสูง คือ ระดับที่
แสดงว่าผลงานดีที่สุด
 โดยทั่วไป ระดับสูงอาจกำาหนด
เป็น 6/5/4
 ระดับตำ่าสุดอาจกำาหนดเป็น 1/0
รูปแบบของ rubric
2. มีคำาอธิบาย ( descriptors) ใน
แต่ละระดับของผลงาน
- เพื่อให้การให้คะแนนนั้นมี
ความเชื่อมั่นมากขึ้นและ
ป้องกันการลำาเอียง
รูปแบบของ rubric
3 การประเมินอาจมีลักษณะเป็นการ
ประเมินแบบรวม (holistic) หรือ
แบบจำาแนก ( analytic)
 Holistic มีเพียงเกณฑ์เดียว คำา
อธิบายชุดเดียว
 Analytic มีเกณฑ์หลายเกณฑ์ตาม
มิติทีกำาหนดไว้ แต่ละมิติให้คะแนน
เป็นอิสระต่อกัน แยกองค์ประกอบ
ของการให้คะแนน
รูปแบบของ rubric
4. การประเมินมีทั้งประเมินแบบ
ทั่วไป ( generic) และ แบบเฉพาะ
ของภาระงาน (task specific )
แบบทั่วไป ใช้ตัดสินการปฏิบัติ
งานแบบกว้าง ไม่ยึดติดกับเนื้อหา
แบบเฉพาะของภาระงาน เป็นรูป
แบบเฉพาะเจาะจงของงานหรือ
กิจกรรมนั้น
ตัวอย่างประเมินแบบทั่วไป / แบบ
เฉพาะของภาระงาน
แบบทั่วไป แบบเฉพาะของภาระงาน
4 = เข้าใจเกี่ยวกับ
ความคิดรวบยอด
และข้อเท็จจริงใน
สถานการณ์อย่าง
ถูกต้องทั้งหมดและ
มีแนวคิดใหม่
4 = เข้าใจในความ
คิด รวบยอดใน
กระบวนการต่อสู้
เพื่อประชาธิปไตย
ที่ส่งผลกระทบต่อ
ผู้อื่นได้ถูกต้อง
ครบถ้วนและมี
แนวคิดใหม่เกี่ยว
กับตัวประกัน
รูปแบบของ rubric
5. อาจเป็นการประเมินระยะยาว
( longitudinal )
ใช้ประเมินความก้าวหน้าของผล
งานตามจุดมุ่งหมายที่กำาหนดไว้
ใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลงที่
พัฒนาขึ้น
Rubrics ที่ดีมีลักษณะอย่างไร
 ในแต่ละภาระงาน การประเมิน
ต้องมีความสัมพันธ์กับเป้าหมาย
ทั่วไปที่กำาหนดไว้ และควรมีความ
เฉพาะเจาะจง มีประโยชน์ต่อ
ภาระงานนั้นๆ
 ควรจำาแนกเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ ให้
ชัดเจน ไม่ควรนำาเกณฑ์ที่ไม่
เหมือนกันมารวมไว้ในเกณฑ์
เดียวกัน
เทคนิควิธีการในการสร้าง
rubric
1. ความต่อเนื่อง ( Continuous )
 แต่ละระดับคุณภาพต้องต่อเนื่อง
และมีช่วงห่าง
เท่าเทียมกัน
 คำาอธิบายในแต่ละระดับคุณภาพ
ต้องต่อเนื่องกัน
เทคนิควิธีการในการสร้าง
rubric
2. ความคู่ขนาน ( Parallel )
 แต่ละคำาอธิบายในแต่ละระดับ
คุณภาพต้องมีโครงสร้างคู่ขนาน
กันไปคือใช้ภาษาในแต่ละ
ประโยคคู่ขนานกัน
เทคนิควิธีการในการสร้าง rubric
3. มีความเชื่อมโยง ( Coherent )
 เกณฑ์การประเมินต้องมีจุดเน้น
ไปที่เกณฑ์เดียวกันตลอด
 คำาอธิบายในแต่ละระดับคะแนน
ก่อนและหลังแต่ละระดับแตกต่าง
กัน
เทคนิควิธีการในการสร้าง rubric
4. กำาหนดนำ้าหนักคะแนนที่เหมาะสม
ในกรณีที่มีเกณฑ์การประเมินหลาย
เกณฑ์ ( multiple rubrics ) ควรมีการ
กำาหนดนำ้าหนักของแต่ละเกณฑ์ให้
เหมาะสม
เทคนิควิธีการในการสร้าง rubric
5. ความเที่ยงตรง ( Valid )
 สะท้อนให้เห็นถึงการวิเคราะห์ภาระ
งาน โดยพิจารณาช่วงระดับคะแนน
ผลงานทุกระดับ
 อธิบายความแตกต่างของผลงานใน
เชิงคุณภาพ มิใช่เชิงปริมาณ
 เน้นเกณฑ์การแสดงออกตามสภาพ
จริง ไม่พิจารณาด้านพฤติกรรมเป็น
สำาคัญ
เทคนิควิธีการในการสร้าง rubric
6. ความเชื่อมั่น ( Reliable )
 มีความคงที่ ( consistency ) ทั้ง
ด้านการตัดสินและ ด้านเวลา ไม่
ว่าจะตัดสินโดยใคร และเวลาใด
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
1. เริ่มต้นด้วยการตัดสินใจ
 กำาหนดเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินงาน
 กำาหนดจำานวนเกณฑ์การประเมิน holistic /
analytic
 กำาหนดจำานวนระดับคุณภาพ
 กำาหนดนำ้าหนักของแต่ละเกณฑ์
 กำาหนดจุดตัดบนมาตรวัด (cut score)
–สำาหรับงานที่ผ่าน ไม่ผ่าน
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2. ออกแบบและการปรับปรุงเกณฑ์
การประเมิน
2.1 ออกแบบร่างเกณฑ์การประเมิน
 เกณฑ์การประเมิน สร้างจาก
เป้าหมายของผลสัมฤทธิ์ที่
ต้องการ
ตัวอย่าง
เป้าหมาย คือ การเขียนที่มี
ประสิทธิผล
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2.2 ตัดสินใจเลือกระหว่างเกณฑ์
การประเมินที่มีความสำาคัญต่อจุด
ประสงค์และธรรมชาติของสิ่งที่
ประเมินกับความเป็นไปได้ในการ
ใช้เกณฑ์การประเมินเหล่านั้น
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2.3 ตัดสินใจว่าจะใช้เกณฑ์การ
ประเมินแบบ holistic เพียงเกณฑ์
เดียว หรือจะใช้แบบ analytic
ข้อสังเกต
 คำานึงถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
 แบบรวม --- สร้างง่ายและเร็วกว่า ใช้ง่าย
และสะดวกกว่า
 แบบจำาแนก --- ให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดีกว่า มี
ความครอบคลุมประเด็นต่างๆ มากกว่า มี
ความเที่ยงตรงมากกว่า
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2.4 เริ่มกำาหนดเกณฑ์การประเมินที่
ต้องการ ( 4 ช่วง หรือ 6 ช่วง)
ข้อสังเกต
 6---- ระดับความสำาเร็จสูงสุด
 1---- ระดับความสำาเร็จตำ่าสุด
 อาจกำาหนดระดับ 0 “0” มักถูกกำาหนดเป็นคะแนน
พิเศษ สำาหรับ
การปฏิบัติที่ไม่สามารถให้คะแนนได้ เช่นไม่
สมบูรณ์ ไม่ถูกต้อง
 กรณีประสงค์จะกำาหนดระดับคะแนนมากกว่า 6
ควรพิจารณาภายหลัง โดยดูว่าจะสามารถจำาแนก
คุณภาพได้หรือไม่
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2.5 หลีกเลี่ยงการใช้คำาเปรียบเทียบ ควรเริ่มต้น
ด้วย คำาว่า
ดีมาก ( excellent ) ดี ( good )
พอใช้ ( fair ) ปรับปรุง/ใช้ไม่ได้
( poor )
เพื่อช่วยกำาหนดระดับความพึงพอใจแล้วจึง
บรรยายผลงานในแต่ละระดับ
ขั้นตอนในการสร้าง rubric
2.6 สร้างเกณฑ์การประเมินจาก
ระดับสูงสุดก่อน เพื่อเป็นเป้าหมาย
ของการปฏิบัติ
2.7 สร้างเกณฑ์การประเมินโดย
คำานึงถึงจุดมุ่งหมาย
ของผู้ใช้ และ ความเป็นไปได้
2.8. ให้พิจารณากำาหนดจุดตัด
คะแนนบนมาตรวัด เพื่อให้มีความ
ชัดเจนว่า ผลการปฏิบัติเช่นไร
ถือว่าประสบความสำาเร็จขั้นตำ่าสุด
ตัวอย่างเกณฑ์การ
ประเมินแบบต่างๆ
Holistic Scale
3 ดี 2 พอใช้ 1ปรับปรุง 0 ยังใช้ไม่ได้
คำาตอบแสดง
ข้อสรุปหลาย
ประการที่สม
เหตุสมผล
และมีความ
ชัดเจน
คำาตอบสรุป
ความบาง
ส่วนสั้น
บางประเด็น
ขาดความ
ชัดเจน หรือ
การให้
เหตุผลมีข้อ
ผิดพลาด
เล็กน้อย
คำาตอบมี
ข้อสรุป
อย่าง
น้อย 1
ข้อ แต่
ไม่หนัก
แน่นหรือ
มีความ
สับสน
คำาตอบไม่มี
ข้อสรุป
หรือข้อสรุป
ไม่เหมาะ
สม หรือไม่
สอดคล้อง
กับงาน
4 ดีมาก 3 ดี 2 พอใช้ 1ปรับปรุง 0 ยังใช้ไม่
ได้
คำาตอบตอบ
คำาถาม
สำาคัญทั้งหมด
แสดงความ
เข้าใจที่
ลึกซึ้งเกี่ยวกับ
ข้อมูล
สำาคัญเชื่อม
โยงข้อมูล
สารสนเทศกับ
ความรู้
ที่มีมาก่อนได้
อย่าง
สอดคล้อง
แสดงการ
ตีความ การ
คำาตอบตอบ
คำาถาม
สำาคัญได้
เกือบ
ทั้งหมดแสดง
ความ
เข้าใจข้อมูล
สำาคัญ
มองข้ามความ
คิด
สำาคัญหรือ
รายละเอียด
สำาคัญบาง
ประการไป
หรือมีความ
เข้าใจผิด
คำาตอบ
ตอบ
คำาถาม
เพียง
บาง
คำาถาม
เข้าใจ
ข้อมูล
สำาคัญบาง
ประการ
ใน
บทความ
คำาตอบไม่
สอดคล้อง
กับคำาถาม
หรือผิด
พลาด
ทั้งหมด
เว้นว่าง /
ไม่มีคำา
ตอบ
Holistic ScaleHolistic Scale
Holistic Scale
4 ดีมาก 3 ดี 2 พอใช้ 1ปรับปรุง
มีความเข้าใจ
อย่าง ถ่องแท้
โดยตลอด
จดจำา
เหตุการณ์ต่าง
ๆ ในเรื่องได้
แม่นยำามีสาระ
สำาคัญต่าง ๆ
ครบถ้วน การ
เรียบเรียง
ประโยค ใน
การนำาเสนอดี
มีความเข้าใจ
อย่างดี
จดจำา
เหตุการณ์
ต่างๆ
ในเรื่องได้
แม่นยำา
แต่ขาด
การนำาเสนอ
สาระสำาคัญ
ไป 1
ประเด็น
มีความ
เข้าใจได้
บ้าง จดจำา
เหตุการณ์
ใน
เรื่องได้
บ้าง แต่
ขาดสาระ
สำาคัญ
ไป 1
ประเด็น
หรือ
มากกว่า
มีความเข้าใจ
เพียง
เล็กน้อย หรือ
มี
ความเข้าใจ
ที่ไม่
ถูกต้อง มี
ความ
สับสนใน
เหตุการณ์
ที่เกิดขึ้น
และ/หรือ
ไม่สามารถ
Holistic Scale (คณิตศาสตร์)
4 ดีมาก 3 ดี 2 พอใช้ 1ปรับปรุง
คำาตอบถูกต้อง
แสดงเหตุผล
ถูกต้อง
แนวคิดชัดเจน
คำาตอบถูก
ต้อง
แสดงเหตุผล
ถูกต้อง
มีข้อผิด
พลาดเล็ก
น้อย
คำาตอบไม่
ถูกต้อง
การ
คำานวณ
ผิดพลาด
แต่มี
แนวทางที่
จะนำาไปสู่
คำาตอบที่
ถูกต้อง
คำาตอบไม่ถูก
ต้องไม่มี
แนวทางที่จะ
นำาไปสู่คำา
ตอบที่ถูกต้อง
หรือไม่ตอบ
เลย
ตัวอย่าง
 ระดับ 3 ดี ได้คะแนน 7-10
-นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกระบวนการ แก้ปัญหา
ได้ครบทุกขั้นตอน
-นักเรียนสามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ตามขั้น
ตอนของกระบวนการกลุ่มทุกขั้นตอน
-ผลงานมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ตามจุด
ประสงค์ของกิจกรรม
-ผลงานของนักเรียนมีภาพประกอบชัดเจน ถูกต้อง
ตามจุดประสงค์ของกิจกรรม
-นักเรียนสามารถรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรม
หน้าชั้นเรียนได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง
 ระดับ 2 พอใช้ ได้คะแนน 4-6
-นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกระบวนการ แก้
ปัญหาได้แต่ไม่ครบทุกขั้นตอน
-นักเรียนสามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ตามขั้น
ตอนของกระบวนการกลุ่มได้แต่ไม่ครบทุกขั้น
ตอน
-ผลงานมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์พอ
สมควร ตามจุดประสงค์ของกิจกรรม
-ผลงานของนักเรียนมีภาพประกอบพอสมควร
ตามจุดประสงค์ของกิจกรรม
 ระดับ 1 ต้องแก้ไข ได้คะแนน 1-3
-นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติตามกระบวนการแก้
ปัญหาได้
-นักเรียนไม่สามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้
-ผลงานมีข้อมูลถูกต้องเป็นส่วนน้อย ไม่
สอดคล้องกับจุดประสงค์ของกิจกรรม
-ผลงานของนักเรียนไม่มีภาพประกอบหรือมีแต่
ไม่ตรงกับจุดประสงค์ของกิจกรรม
-นักเรียนไม่สามารถรายงานผลการปฏิบัติ
กิจกรรมหน้าชั้นเรียนได้ หรือรายงานได้แต่ไม่
ถูกต้อง
ตัวอย่างแบบ
จำาแนก
Brochur
e
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ปรับปรุง
1
Grammar
Spelling
ใช้
ไวยากร
ณ์
และ การ
สะกดคำา
ถูกต้อง
ทั้งหมด
ใช้
ไวยากร
ณ์
หรือ
สะกดคำา
ผิดไม่
เกิน 1
แห่ง
ใช้
ไวยากร
ณ์
หรือ
สะกดคำา
ผิดไม่
เกิน 2
แห่ง
ใช้
ไวยากร
ณ์
หรือ
สะกดคำา
ผิดหลาย
แห่งWriting
vocabulary
ใช้คำา
ใหม่ 5
คำา หรือ
มากกว่า
และบอก
ความ
หมาย
ใช้คำา
ใหม่
3-4 คำา
และบอก
ความ
หมาย
ของคำา
ใช้คำา
ใหม่
1-2คำา
ไม่ใช้คำา
ใหม่เลย
องค์
ประกอบ
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ปรับปรุง
1
เนื้อหา เนื้อหา
ชัดเจน
จุดเน้น
เด่นชัด
มีราย
ละเอียด
สนับสนุ
นเหมาะ
สม
เนื้อหา
ชัดเจน
มีจุดเน้น
มีราย
ละเอียด
สนับสนุ
น
มีจุดเน้น
แต่ราย
ละเอียด
สนับสนุ
นไม่
เหมาะ
สม
จุดเน้น
ไม่
ชัดเจน
ไม่มีราย
ละเอียด
สนับสนุ
น
สำานวน
ที่ใช้
ใช้
สำานวน
ภาษา
และใช้
คำา
เหมาะ
สมตลอด
ใช้
สำานวน
ภาษา
และใช้
คำาไม่
เหมาะ
สม 1-2
ใช้
สำานวน
ภาษา
และใช้
คำาไม่
เหมาะสม
3-4 แห่ง
ใช้
สำานวน
ภาษา
และใช้
คำาไม่
เหมาะ
สม
องค์
ประกอบ
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ปรับปรุง
1
ความ
เข้าใจ
ใน
คณิตศ
าสตร์
เหตุผล
ทาง
คณิตศ
าสตร์
องค์
ประกอบ
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ปรับปรุง
1
การแก้
ปัญหา
อย่าง
สร้างส
รรค์
คุณภา
พของ
การนำา
เสนอ
องค์
ประกอบ
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ปรับปรุง
1
ความ
แม่นยำา
ความ
ชัดเจน
ของ
การ
สื่อสาร
วางแผนกำาหนดขั้นตอนการทำางาน
 ๔ หมายถึง ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานชัดเจน การ
ทำางานทั้งหมดสอดคล้องกับจุดประสงค์ของงานดีมาก
 ๓ หมายถึง ระบุภาระงานได้บ้างแต่ไม่ครบตามขั้นตอน การ
ทำางานโดยรวมสอดคล้องกับจุดประสงค์ของงานดี
 ๒ หมายถึง ระบุภาระงานตามขั้นตอนได้พอสมควร บางส่วน
ไม่เหมาะสม การทำางานเหมาะสมกับประสงค์ของงานพอใช้
 ๑ หมายถึง ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานไม่ได้ต้องได้
รับการช่วยเหลือจึงจะวางแผนงานได้
จัดเตรียมอุปกรณ์อุปกรณ์
 ๔ หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือด้วยตนเองได้
ครบถ้วนเหมาะสมกับงานดีมาก
 ๓ หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือด้วยตนเอง
ได้ครบถ้วนเหมาะสมกับงานดี
 ๒ หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือด้วยตนเองได้
ครบถ้วนเหมาะสมกับงานพอใช้
 ๑ หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือด้วยตนเอง
ไม่ได้ต้องได้รับคำาแนะนำาจึงจะทำาได้สำาเร็จ
กระบวนการทดลอง
 ๔ หมายถึง การสังเกต การศึกษา การทดลอง
รวบรวมข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนตามแผนที่วางไว้และแก้
ปัญหาการทำางานได้ด้วยตนเอง
 ๓ หมายถึง การสังเกต การศึกษา การทดลอง
รวบรวมข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนตามแผนที่วางไว้และแก้
ปัญหาการทำางานได้ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่
 ๒ หมายถึง การสังเกต การศึกษา การทดลอง
รวบรวมข้อมูลตามแผนที่วางไว้และแก้ปัญหาการทำางานได้ด้วย
ตนเองเป็นบางส่วน
 ๑ หมายถึง การสังเกต การศึกษา การทดลอง
รวบรวมข้อมูลตามแผนที่วางไว้และแก้ปัญหาการทำางานได้ด้วย
ตนเองไม่ได้
ความเชื่อพื้นฐานความเชื่อพื้นฐาน
 ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสที่จะได้รับทั้งด้านผู้เรียนทุกคนมีโอกาสที่จะได้รับทั้งด้าน
สาระสาระ
การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และสภาพการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และสภาพ
แวดล้อมที่แวดล้อมที่
สนับสนุนการเรียนรู้ ตามระดับการศึกษาสนับสนุนการเรียนรู้ ตามระดับการศึกษา
ที่สูงขึ้นที่สูงขึ้น
 ทักษะด้านการคิดเป็นทักษะที่เป็นพื้นฐานทักษะด้านการคิดเป็นทักษะที่เป็นพื้นฐาน
และสำาคัญที่สุดและสำาคัญที่สุด
ความเชื่อพื้นฐานความเชื่อพื้นฐาน
(( ต่อต่อ))ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเท่าเทียม
กันในด้านมาตรฐาน การเรียนรู้
การได้รับการเรียนการสอนตาม
ความเหมาะสม และการแสดงผล
การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
การสนับสนุนของครอบครัวและ
ชุมชนเป็นส่วนสำาคัญต่อความ
สำาเร็จของผู้เรียน
ขอขอบคุณและสวัสดีค่ะ

More Related Content

What's hot

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะNU
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Katekyo Sama
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
รายวิชา พัฒนา
รายวิชา พัฒนารายวิชา พัฒนา
รายวิชา พัฒนาteerawut123
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์sudaphud
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 

What's hot (19)

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
รายวิชา พัฒนา
รายวิชา พัฒนารายวิชา พัฒนา
รายวิชา พัฒนา
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 

Viewers also liked

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human OrgansTharinee Japhimai
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีOrawonya Wbac
 
Listening lesson plan
Listening lesson planListening lesson plan
Listening lesson planBelinda Bow
 
สารข าว
สารข าวสารข าว
สารข าว4821010054
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson planBelinda Bow
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

Viewers also liked (16)

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
 
Listening lesson plan
Listening lesson planListening lesson plan
Listening lesson plan
 
สารข าว
สารข าวสารข าว
สารข าว
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson plan
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 

Similar to Pca

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 

Similar to Pca (20)

ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 

Pca