SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น
                      ศูน ย์ก ลาง:
      (CIPPA Model) หรือ รูป แบบการประสานห้า
                  แนวคิด หลัก
                         โดย ทิศ นา แขมมณี

  ปัญ หา: นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อภาษาอังกฤษไม่ดี
  คุณ ลัก ษณะ: การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางานเป็นกลุ่ม
  การสื่อสาร และความใฝ่รู้
  หลัก การ : การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็นแนวคิด
  ของทิศนา แขมมณี ที่กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็นหลักการซึ่งสามารถ
  นำาไปเป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน การจัด
  กระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและ
  กระบวนการที่หลากหลาย อาจจัดเป็นแบบแผนได้หลายรูปแบบ CIPPA
  MODEL เป็น วิธีหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
  สำาคัญ เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นให้
  นักเรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการ
  สร้างคามรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้
  เคลื่อนไหวทางกาย การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนำาความรู้ไป
  ประยุกต์ใช้
             หลัก การ
       วัต ถุป ระสงค์
       การสร้างความรู้                      ให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วย
                                            ตนเอง

กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้                ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือ
       แบบร่วมมือ                           สิ่ง แวดล้อ มรอบตัว

  ความพร้อมในการเรียนรู้                    ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เคลื่อนไหว
                                            ร่างกาย โดยทำากิจกรรมใน
                                            ลักษณะต่างๆ
   การเรียนรู้กระบวนการ                     ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ
                                            ต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำาเป็นต่อการ
                                            ดำารงชีวิต
การถ่ายโอนการเรียนรู้                        ให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการ
                                              เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
วิธ ีส อน (ขั้น การสอน) มีขั้นตอนสำาคัญเพิ่มขั้นตอนเรื่อยๆ ไปนี้
                                               7 เติมขึ้น ดังต่อ
1.ขั้น ทบทวนความรู้เ ดิม ขันนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่
                               ้
เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับ
ความรู้เดิมของตน
2. ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่
                                   ้
ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียม
มาให้ผู้เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง เพื่อให้ผู้เรียนไป
แสวงหาก็ได้
3. ขั้น การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่ และเชื่อ ม
โยงความรู้ใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา
และทำาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของข้อมูล
ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้
กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความ
เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้
เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยำ้า
มโนมติในการเรียนรู้
4. ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ขันนี้เป็นขั้นที่ผู้
                                                             ้
เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
ตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วย
ให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้ รับ
ประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน
5. ขั้น การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุป
ความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่และจัดสิ่งที่เรียนรู้
ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
6. ขั้น การแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้
แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้
เรียนตอกยำ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
7. ขั้น ประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ ขันนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน
                                 ้
การนำาความรู้ ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลาก
หลายเพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา
และความจำาในเรื่องนั้น ๆ




บทบาทของผู้เ รีย น

1. นักเรียนมีประสบการณ์ตรงกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. นักเรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง

3. นักเรียนทำากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม

4. นักเรียนฝึกหัดอ่านหลากหลาย และสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจน
ได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมีเหตุผล

5. นักเรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคำาตอบแก้ปัญหาทั้งด้วยตนเอง
และร่วมด้วยช่วยกัน

6. นักเรียนได้ฝึกฝนรวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง

7. นักเรียนเลือกทำากิจกรรมตามความสามารถความถนัดและความ
สนใจของตนเองอย่างมีความสุข

8. นักเรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและรับผิดชอบในการทำางาน

9. นักเรียนฝึกประเมินปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่นตลอดจนใฝ่
หาความรู้อย่างต่อเนื่อง

บทบาทของครู

1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ

2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้าจูงใจและส่งเสริมแรงให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้
3. ครูเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงความเมตตาต่อนักเรียน
อย่างทั่วถึง

4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้นักเรียนได้แสดงออกและคิดอย่าง
สร้างสรรค์

5. ครูส่งเสริมให้นักเรียนฝึกหัดฝึกทำาและฝึกปรับปรุงตนเอง

6. ครูส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มพร้อมทั้งสังเกตส่วนดี
และปรับปรุงส่วนด้อยของนักเรียน

7. ครูใช้สื่อการสอนเพื่อฝึกความคิดการแก้ปัญหาและการค้นพบความรู้

8. ครูใช้แหล่งเรียนรู้หลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณ์ชีวิตจริง

9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทและวินัยตามวิถีวัฒนธรรมไทย

10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ประเมิล ผล
ผลสัมฤทธิ์ : แบบทดสอบ
เจตคติ: แบบวัดเจตคติ
                                                       นางสาวนา
รดา บุญ รัก ษ์
                                                      รหัส
นัก ศึก ษา 5524442230
การนำา รูป แบบกาเรีย นการสอนของบราวน์ เลวิส และฮาร์เ คิ้ล โรด มาใช้ใ นการเรีย นวิช าภาษา
                 อัง กฤษ อ 23101 ชัน มัธ ยมศึก ษาปี่ท ี่ 3 เรื่อ ง The weather
                                   ้
        ข้อ มูล                                               กระบวนการ
      ผลลัพ ธ์
        Input                                               Process
Output
1. กำา หนดจุด มุ่ง หมาย        6. การดำา เนิน การสอน                                                 7. การ
   ใช้สัญลักษณ์,คำา           ขัน ที่ 1 การทบทวนความรูเ ดิม ทบทวนความรู้เดิมโดยให้ผู้
                                 ้                         ้                                         ประเมิน ผล
    ศัพท์,สำานวนที่ใช้ในการ    เรียนดูภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศ.เพื่อที่จะจับคู่คำา
    รายงาน,พยากรณ์อากาศ        ศัพท์กับภาพในใบความรู้ ,ซักถามสภาพอากาศแบบใดไม่เคยมีใน                - สังเกต
    และบอกความหมายได้          ประเทศไทย                                                             พฤติกรรมในการ
   อ่านสรุปใจความเกี่ยวกับ
    สภาวะอากาศฤดูกาลในต่าง     ขัน ที่ 2 การแสวงหาความรู้ใ หม่ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาคำา
                                 ้                                                                   เรียนรู้
    ประเทศและท้องถิ่นได้       ศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายสภาพดิน,ฟ้าและอากาศผู้สอนเปิดเทปการ
                                                                                                     - ตรวจใบงาน
   พูดรายงานสภาพอากาศได้      พยากรณ์สภาพอากาศให้ผู้เรียนฟังเพื่อตอบคำาถาม
    ถูกต้อง                                                                                          - สังเกตการณ์
                               ขัน ที่ 3 การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่ และ
                                 ้
2. เลือ กกิจ กรรมหรือ          เชื่อ มโยงความรูใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม
                                                 ้                      ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษา       ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
                               เสื้อผ้ากับสภาพดินฟ้าและอากาศแบบต่างๆ ว่าควรสวมเสื้อผ้า หรือ
ประสบการณ์กระบวนการ
                               เครื่องแต่งกายอย่างไร ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศแล้วจับคู่เสื้อผ้าที่
เรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปา      เหมาะสมกับสภาพอากาศ
  3. เลือ กวิธ ีส อน ใช้วิธี   ขัน ที่ 4 การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม
                                 ้                                                         ผู้ สอน
    การเรียนการสอนโดย          ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มสร้างบทสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับเสื้อผ้าที่ควรนำาไป
                               สวม ใส่ เมื่อต้องเดินทางไปยังสถานที่อื่นๆ ที่สภาพอากาศแตกต่าง
                                                                                                       ข้อ มูล ย้อ น
      อภิปรายกลุ่มย่อย
4. กำา หนดบทบาทของ             จากท้องถิ่นที่ผู้เรียนอาศัยอยู่ และฝึกสนทนาตามที่สร้างขึ้น                  กลับ
                                                                                                      (Feedback)
บุค ลากร กำาหนด                ขัน ที่ 5 การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ผู้สอนนำารายงาน
                                 ้
 4. เลือ กวัส ดุ/
สถานการณ์, แบ่งกลุ่มผู้เรียน
                               อากาศจากอินเทอร์เน็ตมาให้ผู้เรียนอ่านและสรุปลักษณะอากาศในใบ           การปรับ ปรุง
5. เลือ กวัส ดุ/อุป กรณ์
     อุป กรณ์                  ความรู้
                                                                                                      แก้ไ ขใน
CD, รูปภาพ, ใบงาน
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวkomjankong
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 

What's hot (14)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
learnning
learnninglearnning
learnning
 

Viewers also liked

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์เบญจศีล บัวสาย
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 

Viewers also liked (8)

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 

Similar to รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยRsmay Saengkaew
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 

Similar to รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (20)

การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 

More from Proud N. Boonrak

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงProud N. Boonrak
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒Proud N. Boonrak
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 

More from Proud N. Boonrak (13)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  • 1. รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น ศูน ย์ก ลาง: (CIPPA Model) หรือ รูป แบบการประสานห้า แนวคิด หลัก โดย ทิศ นา แขมมณี ปัญ หา: นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อภาษาอังกฤษไม่ดี คุณ ลัก ษณะ: การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางานเป็นกลุ่ม การสื่อสาร และความใฝ่รู้ หลัก การ : การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็นแนวคิด ของทิศนา แขมมณี ที่กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็นหลักการซึ่งสามารถ นำาไปเป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน การจัด กระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและ กระบวนการที่หลากหลาย อาจจัดเป็นแบบแผนได้หลายรูปแบบ CIPPA MODEL เป็น วิธีหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นให้ นักเรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการ สร้างคามรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้ เคลื่อนไหวทางกาย การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนำาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ หลัก การ วัต ถุป ระสงค์ การสร้างความรู้ ให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วย ตนเอง กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือ แบบร่วมมือ สิ่ง แวดล้อ มรอบตัว ความพร้อมในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เคลื่อนไหว ร่างกาย โดยทำากิจกรรมใน ลักษณะต่างๆ การเรียนรู้กระบวนการ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำาเป็นต่อการ ดำารงชีวิต
  • 2. การถ่ายโอนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการ เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธ ีส อน (ขั้น การสอน) มีขั้นตอนสำาคัญเพิ่มขั้นตอนเรื่อยๆ ไปนี้ 7 เติมขึ้น ดังต่อ 1.ขั้น ทบทวนความรู้เ ดิม ขันนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่ ้ เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับ ความรู้เดิมของตน 2. ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ ้ ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียม มาให้ผู้เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง เพื่อให้ผู้เรียนไป แสวงหาก็ได้ 3. ขั้น การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่ และเชื่อ ม โยงความรู้ใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทำาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้ กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความ เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้ เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยำ้า มโนมติในการเรียนรู้ 4. ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ขันนี้เป็นขั้นที่ผู้ ้ เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ ตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วย ให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้ รับ ประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน 5. ขั้น การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุป ความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่และจัดสิ่งที่เรียนรู้ ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้น การแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้ แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้ เรียนตอกยำ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 7. ขั้น ประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ ขันนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ้ การนำาความรู้ ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลาก
  • 3. หลายเพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา และความจำาในเรื่องนั้น ๆ บทบาทของผู้เ รีย น 1. นักเรียนมีประสบการณ์ตรงกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. นักเรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง 3. นักเรียนทำากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม 4. นักเรียนฝึกหัดอ่านหลากหลาย และสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจน ได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมีเหตุผล 5. นักเรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคำาตอบแก้ปัญหาทั้งด้วยตนเอง และร่วมด้วยช่วยกัน 6. นักเรียนได้ฝึกฝนรวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง 7. นักเรียนเลือกทำากิจกรรมตามความสามารถความถนัดและความ สนใจของตนเองอย่างมีความสุข 8. นักเรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและรับผิดชอบในการทำางาน 9. นักเรียนฝึกประเมินปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่นตลอดจนใฝ่ หาความรู้อย่างต่อเนื่อง บทบาทของครู 1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ 2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้าจูงใจและส่งเสริมแรงให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้
  • 4. 3. ครูเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงความเมตตาต่อนักเรียน อย่างทั่วถึง 4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้นักเรียนได้แสดงออกและคิดอย่าง สร้างสรรค์ 5. ครูส่งเสริมให้นักเรียนฝึกหัดฝึกทำาและฝึกปรับปรุงตนเอง 6. ครูส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มพร้อมทั้งสังเกตส่วนดี และปรับปรุงส่วนด้อยของนักเรียน 7. ครูใช้สื่อการสอนเพื่อฝึกความคิดการแก้ปัญหาและการค้นพบความรู้ 8. ครูใช้แหล่งเรียนรู้หลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณ์ชีวิตจริง 9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทและวินัยตามวิถีวัฒนธรรมไทย 10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ประเมิล ผล ผลสัมฤทธิ์ : แบบทดสอบ เจตคติ: แบบวัดเจตคติ นางสาวนา รดา บุญ รัก ษ์ รหัส นัก ศึก ษา 5524442230
  • 5.
  • 6. การนำา รูป แบบกาเรีย นการสอนของบราวน์ เลวิส และฮาร์เ คิ้ล โรด มาใช้ใ นการเรีย นวิช าภาษา อัง กฤษ อ 23101 ชัน มัธ ยมศึก ษาปี่ท ี่ 3 เรื่อ ง The weather ้ ข้อ มูล กระบวนการ ผลลัพ ธ์ Input Process Output 1. กำา หนดจุด มุ่ง หมาย 6. การดำา เนิน การสอน 7. การ  ใช้สัญลักษณ์,คำา ขัน ที่ 1 การทบทวนความรูเ ดิม ทบทวนความรู้เดิมโดยให้ผู้ ้ ้ ประเมิน ผล ศัพท์,สำานวนที่ใช้ในการ เรียนดูภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศ.เพื่อที่จะจับคู่คำา รายงาน,พยากรณ์อากาศ ศัพท์กับภาพในใบความรู้ ,ซักถามสภาพอากาศแบบใดไม่เคยมีใน - สังเกต และบอกความหมายได้ ประเทศไทย พฤติกรรมในการ  อ่านสรุปใจความเกี่ยวกับ สภาวะอากาศฤดูกาลในต่าง ขัน ที่ 2 การแสวงหาความรู้ใ หม่ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาคำา ้ เรียนรู้ ประเทศและท้องถิ่นได้ ศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายสภาพดิน,ฟ้าและอากาศผู้สอนเปิดเทปการ - ตรวจใบงาน  พูดรายงานสภาพอากาศได้ พยากรณ์สภาพอากาศให้ผู้เรียนฟังเพื่อตอบคำาถาม ถูกต้อง - สังเกตการณ์ ขัน ที่ 3 การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่ และ ้ 2. เลือ กกิจ กรรมหรือ เชื่อ มโยงความรูใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ้ ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษา ร่วมกิจกรรมกลุ่ม เสื้อผ้ากับสภาพดินฟ้าและอากาศแบบต่างๆ ว่าควรสวมเสื้อผ้า หรือ ประสบการณ์กระบวนการ เครื่องแต่งกายอย่างไร ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศแล้วจับคู่เสื้อผ้าที่ เรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปา เหมาะสมกับสภาพอากาศ 3. เลือ กวิธ ีส อน ใช้วิธี ขัน ที่ 4 การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ้ ผู้ สอน การเรียนการสอนโดย ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มสร้างบทสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับเสื้อผ้าที่ควรนำาไป สวม ใส่ เมื่อต้องเดินทางไปยังสถานที่อื่นๆ ที่สภาพอากาศแตกต่าง ข้อ มูล ย้อ น อภิปรายกลุ่มย่อย 4. กำา หนดบทบาทของ จากท้องถิ่นที่ผู้เรียนอาศัยอยู่ และฝึกสนทนาตามที่สร้างขึ้น กลับ (Feedback) บุค ลากร กำาหนด ขัน ที่ 5 การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ผู้สอนนำารายงาน ้ 4. เลือ กวัส ดุ/ สถานการณ์, แบ่งกลุ่มผู้เรียน อากาศจากอินเทอร์เน็ตมาให้ผู้เรียนอ่านและสรุปลักษณะอากาศในใบ การปรับ ปรุง 5. เลือ กวัส ดุ/อุป กรณ์ อุป กรณ์ ความรู้ แก้ไ ขใน CD, รูปภาพ, ใบงาน