SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จัดทาโดย
นางสาว ณัฐกมล ทองปรุง
รหัสนักศึกษา 5841120026 / 01
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
 การประเมินสภาพจริง (Authentic assessment) เป็นที่สนใจมากขึ้นของครู และ
นักการศึกษาอันเนื่องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มุ่งเน้นการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ต้องพิจารณาพัฒนาการ
ความประพฤติ และการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไป
ในกระบวนการเรียนดารสอนดังนั้น การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้แบบสอบแบบ
ประเพณีนิยม (traditional test) เพียงอย่างเดียวจึงไม่เหมาะสมกับการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้หลากหลายด้านของนักเรียนได้
 การประเมินตามสภาพจริง หมายถึง กระบวนการประเมินความสามารถของผู้เรียน
และเป็นกระบวนการประเมินปฏิบัติงานของผู้เรียนในสถานการจริง หรือสถานการที่
ใกล้เคียงกับความเป็นจริงเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความเข้าใจและทักษะการคิดที่
ซับซ้อน
 ประการแรก การประเมินตามสภาพจริงเป็นกระบวนการประเมินการ
ปฏิบัติงานในภาคสนามจริง สถานการณที่สอดคล้องกับชีวิตจริง หรือพื้นฐาน
ของเหตุการณ์ในชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ไปสู่ชีวิตจริง
ได้ โดยงานที่ทามักเป็นงานที่ใช้ทักษะการคิดขั้นสูงด้วย
 ประการที่สอง การประเมินตามสภาพจริงปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเอง เพื่อให้
ทราบจุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง หรือผลงานต่างๆของตนเองที่ได้ทาหรือสร้างขึ้น
สารสนเทศที่ได้จากการประเมินตนเองสามารถนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
ของผู้เรียนต่อไปได้
 ประการที่สาม การประเมินตามสภาพจริงเป็นกระบวนการประเมินที่ส่งเสริมและ
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างแท้จริง โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล เนื่องจากการประเมินตามสภาพจริงเป็นการตีค่าการปฏิบัติการ
(Performance) และความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนซึ่งหลากหลายแตกต่าง
กันไปในแต่ละบุคคล
 ประการที่สี่ เกณฑ์ในการประเมินเป็นเกณฑ์ที่เปิดเผย และแสดงถึงความหลากหลาย
ในมุมมองของผู้เกี่ยวข้อง เนื่องจากการกาหนดร่วมกันระหว่างผู้เรียน ครูผู้สอน และ
ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
 การประเมินตามสภาพจริงมีความสาคัญ ๔ ประการดังนี้
 ประการแรก การประเมินตามสภาพจริงสามารถช่วยในการจัดวางตาแหน่งผู้เรียน (Placement) เนื่องจากผลการ
ประเมินตามสภาพจริงทาให้ครูได้ทราบระดับความสามารถและทักษะของผู้เรียนในด้านต่างๆ
 ประการที่สอง การประเมินตามสภาพจริงเป็นการประเมินที่สอดคล้องกับการประเมินเพื่อการเรียนรู้
(Assessment for learning ) ซึ่งเป็นกระบวนการ ที่ครูเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน
 ประการที่สาม การประเมินตามสภาพจริงสามารถใช้ในการกากับติดตาม (Monitoring) ความก้าวหน้าของ
ผู้เรียน ชั้นเรียนโรงเรียนเขตและประเทศ
 ประการที่สี่ ความมุ่งหมายในด้านความรับผิดชอบต่อสาธารณะ(Accountability) เป็นความสามารถในการ
ชี้แจงต่อสาธารณะได้ว่างบประมาณประชาชนใช้ในด้านการศึกษาคุ้มค่าหรือไม่มากน้อยเพียงใด
 การสังเกต
 การสัมภาษณ์
 การประเมินภาคปฏิบัติ
 การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 บทบาทของผู้บริหาร ผู้บริหารควรมีบทบาทในด้านการส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมให้มาก
ที่สุดในกระบวนการวางแผนการขัดการเรียนการสอนและการประเมินผล
 บทบาทครู ครูเปลี่ยนบทบาทจากที่เป็นผู้บอกความรู้ให้แก่ผู้เรียนหรือจัดการเรียนการ
สอนที่เน้นครูเป็นสาคัญไปเป็นเน้นนักเรียนเป็นสาคัญโดยครูเป็นเสมือนผู้อานวยความ
สะดวกในการจัดสภาพการเรียนรู้
 บทบาทของผู้เรียน ผลจากการปรับเปลี่ยนแนวการจัดการเรียนการสอนของครูจากที่
เน้นครูเป็นสาคัญไปเป็นเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วนในกระบวนการ
จัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลมากขึ้น
 บทบาทของผู้ปกครอง การประเมินตามสภาพจริงนาไปสู่การขยายขอบเขตการ
ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนจากที่เคยเป็นเพียงการประเมินในห้องเรียนเพียงอย่าง
เดียวไปเป็นการประเมินที่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ
 ประโยชน์ต่อผู้เรียน การประเมินตามสภาพจริงเปลี่ยนบทบาทของผู้เรียนจากที่เป็น
ผู้รับการทดสอบไปเป็นผู้มีส่วนร่วมโดยตรงในกิจกรรมการประเมิน
 ประโยชน์ต่อครูการประเมินตามสภาพจริงเป็นตัวขับเคลื่อนสนับสนุนให้บทบาทของครู
เปลี่ยนแปลงไปกล่าวคือ เปลี่ยนจากการสอนที่เน้นครูเป็นสาคัญมาเป็นการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
 การประเมินตามสภาพจริงทาให้ผู้ปกครองรับทราบผลการประเมินผลการเรียนรู้และ
ความก้าวหน้าของผู้เรียนได้โดยตรง และชัดเจนผ่านงานหรือผลการปฏิบัติของผู้เรียน
กระตุ้นให้ ผู้ปกครองมีบทบาทที่เข้มแข็งขึ้นในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
 วิธีการประเมินอีกวิธีหนึ่งซึ่งถือเป็นการประเมินทางเลือก ที่กาลังได้รับความสนใจมาก
ขึ้น คือการประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 แฟ้มสะสมงานการเรียนรู้ หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งบรรจุ
หลักฐาน หรือผลงานที่สะท้อนคุณลักษณะของนักเรียนหลากหลายด้าน ได้แก่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถเจตคติ มีจุดมุ่งหมายในการคัดเลือกผลงาน มี
เกณฑ์การประเมินผลงาน และสะท้อนความคิดในกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
 เพื่อให้ผู้เรียนเจ้าของแฟ้มได้พิจารณาหลักฐานหรือชิ้นงานต่างๆใน
แฟ้มสะสมงาน
 เพื่อให้ครูผู้สอนได้ประเมินผู้เรียนเจ้าของแฟ้ม
 เพื่อให้ผู้ปกครองและครูติดต่อสื่อสารกัน
 มีการแสดงจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
 มีการบูรณาการ
 มีแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
 มีความเคลื่อนไหวเป็นพลวัต
 สะท้อนบุคลิกภาพความเป็นเอกลักษณ์
 นาไปใช้ได้ในหลายจุดประสงค์
 แฟ้มสะสมงานที่เน้นกระบวนการ
 แฟ้มสะสมงานที่เน้นผลงาน
จุดมุ่งหมาย
เนื้อหา
การกาหนดเวลา
การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เป้าหมายของแฟ้มสะสมงานจะต้องมีความสอดคล้องกับเป้าหมายของการเรียนการสอน
หลักสูตรของรายวิชานั้นๆ เนื้อหาสาระของแฟ้มสะสมงานการเรียนรู้จะต้องมีโครงสร้างที่สอดคล้อง
กับเป้าหมายและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และเป้าหมายของการประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน
กระบวนการหนึ่งที่มีความสาคัญของการประเมิน คือการกาหนดเกณฑ์การประเมิน โดยเกณฑ์ที่
กาหนดขึ้นจะต้องมีความเป็นสาธารณะมีความเข้าใจร่วมกันเป็นอย่างดีทั้งครูและผู้เรียน เป็น
เกณฑ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และการประเมินผล ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาของผู้เรียน
ในการบอกคุณภาพของผลงานในแฟ้มสะสมงาน จะต้องมีตัวบ่งชี้คุณภาพที่ชัดเจนและมีเกณฑ์
บอกคุณภาพของผลงานหรือแฟ้มสะสมงาน ซึ่งเกณฑ์นั้นจะต้องสอดคล้องกับคุณภาพของการ
เรียนการสอนมากกว่าตัวแปรด้านอื่นๆ ในการประเมินแฟ้มสะสมงานควรมีความคงเส้นคงวา
ความยุติธรรม และความตรงในการประเมิน ความตรงเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของการประเมิน
การประเมินที่มีความตรงจะให้ผลการประเมินที่แม่นตรงต่อจุดมุ่งหมายในการตัดสินใจเฉพาะเรื่อง
 วางแผนการจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน
 รวมรวมและจัดการชิ้นงาน
 คัดเลือกชิ้นงาย
 จัดระบบแฟ้มสะสมผลงานดีเด่น
 แสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกต่อผลงาน
 ตรวจสอบความสามารถของตนเอง
 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับผลงาน
 ปรับเปลี่ยนผลงาน
 ประเมินผลงานและแฟ้มสะสมผลงาน
 ประชาสัมพันธ์ผลงาน
 การประเมินชิ้นงานแต่ละชิ้นในแฟ้มสะสมผลงานแล้วหาค่าเฉลี่ย
 การประเมินตามองค์ประกอบหรือสมรรถภาพ หรือตามมิติงาน
 การประเมินแฟ้มสะสมงานโดยรวม
การประเมินภาคปฏิบัติเป็นวิ่งจาเป็นที่ครูหลีกเลี่ยงไม่ได้
เนื่องจากในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละวิชา จะมีการให้นักเรียน
ได้ลงมือปฏิบัติ ได้ทากิจกรรมต่างๆ หากครูมีความเข้าใจและมีทักษะ
ในการประเมินภาคปฏิบัติจะทาให้ครูสามารถได้สารสนเทศที่ตรงกับ
ความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน
ธรรมชาติของการประเมินภาคปฏิบัติมีแนวคิดที่แตกต่างกัน
กล่าวคือ
แนวคิดแรกมองธรรมชาติของการประเมินภาคปฏิบัติว่าเป็นการวัด
และปรนพฤติกรรมหรือการแสดงออกทางกาย โดยไม่เกี่ยวข้องกับ
ความสามารถทางสมอง
แนวคิดที่สองมองธรรมชาติของการประเมินภาคปฏิบัติอาจ
เกี่ยวข้องกับการประเมินที่มีความสามารถทางสมองเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยก็
ได้
การประเมินภาคปฏิบัติภาคปฏิบัติประกอบด้วย 4 องค์ประกอบคือ
1.จุดมุ่งหมายของการประเมินทักษะการปฏิบัติ
2.งานที่กาหนดให้ผู้เรียนหรือผู้รับการประเมินปฏิบัติ
3.ผลการตอบสนองงานหรือผลการปฏิบัติ
4.วิธีการที่เป็นระบบสาหรับการให้คะแนนทักษะการปฏิบัติ
การประเมินภาคปฏิบัติสามารถแบ่งเป็นประเภทตามจุดเน้น 3 ประเภท
ดังนี้
การประเมินภาคปฏิบัติที่เน้นกระบวนการ
การประเมินภาคปฏิบัติที่เน้นผลงาน
การประเมินภาคปฏิบัติที่เน้นทั้งกระบวนการและผลงาน
 จุดเด่น
การประเมินภาคปฏิบัติทาให้เป้าหมายการเรียนรู้ชัดเจนขึ้น
การประเมินปฏิบัติสามารถประเมินความสามารถในการปฏิบัติได้จริงของข้อมูล
การประเมินภาคปฏิบัติทาให้ครูสามารถบูรณาการ การพัฒนาความรู้ ทักษะและ
ความสามารถของนักเรียนเข้าด้วยกันได้
การประเมินภาคปฏิบัติช่วยขยายขอบเขตการวัดและประเมินผล
 ข้อจากัดของการประเมินภาคปฏิบัติ
ในการกาหนดงานให้มีคุณภาพสูงสาหรับประเมินภาคปฏิบัติทาได้ยาก
การพัฒนาเครื่องมือให้มีคุณภาพสูงสาหรับการให้คะแนนการปฏิบัติทาได้ยาก
เมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินแบบประเพณีนิยมการประเมินภาคปฏิบัติอาจ
ได้คะแนนที่มีค่าความเที่ยงต่ากว่า
ในการประเมินภาคปฏิบัติทักษะใดทักษะหนึ่ง การปฏิบัติงานเพียงงานเดียว
อาจให้สารสนเทศไม่เพียงพอในสรุป
หลักการสาคัญที่ครูควรคานึงถึงคือ โดยทั่วไปการประเมิน
ภาคปฏิบัติควรใช้สถานการณ์จริงหรือสถานการณ์ที่ผู้ประเมินจัด หรือ
ลองที่ใกล้เคียงกับการปฏิบัติงานในสภาพจริง เพื่อให้สามารถวัดและ
ประเมินทักษะได้ตรงตามสภาพจริงของผู้ถูกประเมิน
กระบวนการออกแบบการประเมินภาคปฏิบัติประกอบด้วย
การกาหนดจุดมุ่งหมายของการภาคปฏิบัติ
การกาหนดกรอบของการประเมิน
การกาหนดน้าหนักความสาคัญของคุณลักษณะและเครื่องมือที่ต้องใช้
การกาหนดประเด็นที่ต้องการประเมิน
การกาหนดงานและสถานการณ์ให้ผู้เรียนปฏิบัติ
เครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติสามารถจาแนกออกเป็น 2ประเภท
ใหญ่ๆ ได้แก่ เครื่องมือประเภทที่ใช้การทดสอบ เช่น แบบสอบข้อเขียน
แบบสอบปากเปล่า และเครื่องมือที่ไม่ใช้การทดสอบ เช่น แบบตรวจสอบ
รายการ แบบประเมินค่า เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค คือการให้
คะแนนแบบองค์รวมและการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ
 ประเด็นสาคัญที่ควรคานึงถึงในการประเมินภาคปฏิบัติคือ ความน่าเชื่อถือของผลการ
ประเมินภาคปฏิบัติ ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของผลการประเมินภาคปฏิบัติ
คือ ความตรง และความเที่ยง
The End

More Related Content

What's hot

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษNontaporn Pilawut
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

What's hot (20)

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Similar to บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน

บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...ssuserea9dad1
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียนkrupornpana55
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556Kruthai Kidsdee
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 

Similar to บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน (20)

บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎน...
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
20
2020
20
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน
 
20
2020
20
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 

บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน