SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Trauma initial assessment & resuscitation
                  การประเมินและดูแลรักษาผูไดรับบาดเจ็บในระยะแรก
                                                                             พญ. ภาวดี สุนทรชีวิน



        ผูบาดเจ็บรุนแรงในระยะแรกจําเปนจะตองไดรับการประเมิน การตรวจและการใหการดูแลรักษา
ตามลําดับความเรงดวน เพื่อแกไขภาวะที่เปนอันตรายตอชีวตไดอยางทันทวงที
                                                        ิ

การประเมินและการดูแลรักษาผูบาดเจ็บเบื้องตน (Initial assessment) ประกอบดวยขั้นตอน
                           
ตามลําดับดังนี้

        1.   Preparation
        2.   Triage
        3.   Primary survey (ABCDEs) and resuscitation
        4.   Adjuncts to primary survey and resuscitation
        5.   Consideration or the need for patient transfer
        6.   Secondary survey (head-to-toe evaluation and patient history)
        7.   Adjuncts to secondary survey
        8.   Continued postresuscitation monitoring and reevaluation
        9.   Definitive care
Preparation




                                      Triage




                                                                                      Adjuncts to
               Primary survey (ABCDEs) and resuscitation                            primary survey

      Reevaluation
                                                                                     Adjuncts to
                               Secondary survey                                   secondary survey


                Reevaluation

                                 Definitive care



Preparation
       คือการเตรียมความพรอมของบุคลากร อุปกรณ สถานที่กอนผูปวยมาถึง รวมทั้งสวนภายนอกและใน
                                                            
โรงพยาบาล สิ่งสําคัญของผูปฏิบัติงานคือ Universal precaution ผูปฏิบัติงานทุกคนควรสวม
หนากาก ถุงมือ และชุดเพื่อปองกันเลือดหรือสารคัดหลั่งขณะดูแลรักษาผูบาดเจ็บเสมอ

Triage
       คือการคัดกรองผูปวยตามความเรงดวน
                        
Primary survey and resuscitation
       คือ การประเมินผูบาดเจ็บในระยะเริ่มแรกประกอบดวย
                       

       A: Airway and C-spine protection
             การประเมินทางเดินหายใจและปองกันการบาดเจ็บของกระดูกตนคอ
       B: Breathing
             การประเมินระบบการหายใจ
       C: Circulation and hemorrhage control
             การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการหามเลือด
       D: Disability
             การประเมินความรูสกตัว
                               ึ
       E: Exposure and environment
             การถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก และดูแลอุณหภูมิกาย
                      ้       

       การประเมินดังกลาวเพื่อคนหา และแกไขภาวะ Immediate life threatening
conditions ที่จะทําใหผูปวยเสียชีวตไดจากปญหา A, B, C อันไดแก
                                  ิ

   -   Upper airway obstruction
   -   Tension pneumothorax
   -   Open pneumothorax
   -   Flail chest with pulmonary contusion
   -   Massive hemothorax
   -   Cardiac tamponade
การประเมินทางเดินหายใจและการปองกันการบาดเจ็บของตนคอ
       A                           (Airway and C-spine protection)


       ทําไดงายๆโดยพูดคุยกับผูปวย เชน ถามชือผูปวย หากสามารถตอบไดดี แสดงวาผูปวยรูสึกตัวดี ไมมี
                                            ่                                  
การอุดกันของทางเดินหายใจ (รายละเอียดเรืองการดูแลทางเดินหายใจ ดูในบททางเดินหายใจ)
        ้                               ่

       ในกรณีผูบาดเจ็บรุนแรงจะตองสงสัยภาวะบาดเจ็บของกระดูกตนคอไวเสมอ จนกวาจะไดรบการ
                                                                                     ั
พิสูจนได ดังนั้นระหวางการประเมินและการดูแลรักษาเบื้องตนจําเปนจะตองปองกันการบาดเจ็บเพิ่มเติม C-
spine protection โดยการใส hard cervical collar, head immobilizer และ spinal
board ไวกอน หรือทําการ manual in line ไวตลอด

        Immediate life threatening condition ของ “A” คือ ภาวะอุดกั้นทางเดิน
        หายใจ (upper airway obstruction)



                                         การประเมินระบบการหายใจ
        B                                     (Breathing)


       ทําไดโดยสังเกตดูการเคลือนไหวของหนาอก อัตราการหายใจ การฟงเสียงหายใจ การคลําตําแหนง
                               ่
   ของหลอดลมวาเอียงไปดานใดหรือไม ดูบาดแผลหรือการบาดเจ็บบริเวณทรวงอกที่เห็นไดจากภายนอก
   การคลําไดกรอบแกรบบริเวณผนังทรวงอก (Subcutaneous emphysema)

                    Immediate life threatening conditions ของ “B” ไดแก

              Tension pneumothorax, Open pneumothorax, Flail chest
                 with pulmonary contusion, Massive hemothorax
Tension pneumothorax
       คือภาวะที่มอากาศอยูในชองเยือหุมปอดมาก จนความดันในชองเยือหุมปอดดันหัวใจและขัวหัวใจไป
                  ี                 ่                             ่                    ้
ดานตรงขาม




รูปที่ 1 อธิบายกลไกของภาวะ tension pneumothorax

ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.

ตรวจรางกายพบ

   - ผูปวยหายใจลําบาก กระสับกระสาย
   - ผนังทรวงอกขางที่มพยาธิสภาพโปงออก แตไมคอยขยับเวลาหายใจ
                       ี
   - ฟงเสียงหายใจขางที่มพยาธิสภาพจะไดยนเสียงลดลง และเคาะโปรง
                          ี              ิ
   - เคาะโปรงดานที่มีพยาธิสภาพ
   - คลําหลอดลมคอ (Trachea) จะพบวาถูกดันไปขางตรงขาม
   - เสนเลือดที่คอโปง
   - ความดันโลหิตต่า ชีพจรเตนเร็ว
                   ํ
หมายเหตุ ในผูปวยที่ใสทอชวยหายใจแลว หากชวยหายใจดวย ambu bag แลวอาการผูปวยแยลง
                                                                               
อยางรวดเร็ว มีความตานทานในการบีบ ambu bag สูงใหคิดถึงภาวะนี้ไวเสมอ

การรักษา

   - ภาวะนีวินจฉัยจากประวัติและการตรวจรางกาย หากสงสัยภาวะนี้ใหทําการรักษาไดทนที โดยไมรอ
           ้ ิ                                                                 ั
       การตรวจ CXR เนื่องจากผูปวยอาจเสียชีวิตระหวางรอผลได
                                
   - ให high flow oxygen โดยใหเปน Mask with bag ตั้งแต 11 LPM ขึ้นไป
   - หากมีบาดแผลที่ผนังทรวงอกทีอาจทําใหเกิด tension pneumothorax ใหรีบปดดวยวิธี 3
                               ่
       sided dressing (รายละเอียดในหัวขอ open pneumothorax)
   - ลดความดันในชองเยือหุมปอดโดยการทํา Needle thoracostomy โดยใชเข็มฉีดยาขนาด
                       ่
       ใหญยาว No.14 แทงบริเวณชองระหวางซี่โครงที่ 2 และ 3 ( 2nd intercostal space)
       ตําแหนงตรงกับกึ่งกลางกระดูกไหปลารา (mid clavicular line)
   - ทํา intercostal drainage โดยการใส ICD
   - CXR หลังการทําหัตถการเพื่อ ตําแหนงของสาย ICD และติดตามผลของการรักษา




                                                   รูปที่ 2 การทํา Needle Thoracostomy


ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
Open pneumothorax

       Open pneumothorax หรือ open chest wound คือภาวะที่มีบาดแผลภายนอก
   ติดตอกับชองเยือหุมปอด โดยเฉพาะบาดแผลที่มีขนาดใหญกวา 2 ใน 3 ของเสนผานศูนยกลางของ
                   ่
   trachea จะทําใหอากาศเขาไปในชองเยือหุมปอดปริมาณมาก เกิดภาวะปอดแฟบและเกิด tension
                                       ่ 
   pneumothorax ตามมาได

ตรวจรางกายพบ

   - บาดแผลเปดบริเวณทรวงอก
   - เหนื่อย หายใจลําบาก
   - อาจมีเสียงลมผานเขาออกทางบาดแผล
   - เสียงหายใจลดลงขางที่มพยาธิสภาพ
                           ี

การรักษา

   - ใหรีบปดบาดแผลดวยวิธี 3-sided dressing โดยใช Vaseline gauze หรือ occlusive
       dressingอื่น ปดลงไปที่บาดแผล sealขอบ 3 ดาน โดยเปดใหขอบดานลาง เพื่อใหอากาศภายใน
       ชองเยือหุมปอดดันออกมาได แตลมภายนอกไมสามารถเขาไปในโพรงชองเยือหุมปอดได
              ่                                                          ่




                                                       รูปที่ 3 การทํา 3-sided dressing


ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
- พิจารณาทํา intercostal drainage โดยการใส ICD
- CXR หลังการทําหัตถการเพื่อ ตําแหนงของสาย ICD และติดตามผลของการรักษา


                      Flail chest with pulmonary contusion

   คือภาวะที่มีกระดูกซี่โครงหักตังแต 2 ซี่ติดกันขึนไปและแตละซี่หกอยางนอย 2 ตําแหนง ทําใหเกิด
                                 ้                 ้              ั
flail segment เวลาหายใจจะเกิด paradoxical motion ตามมา (ดังรูป) ทําใหการหายใจ
แลกเปลี่ยนออกซิเจนไมเพียงพอ มักเกิดรวมกับภาวะเนื้อปอดช้า (pulmonary contusion)
                                                          ํ




                            รูปที่ 4 อธิบายกลไกการเกิดภาวะ Flail chest

ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
ตรวจรางกายพบ

    - บาดแผลหรือรองรอยฟกช้าบริเวณทรวงอก ทรวงอกผิดรูป
                           ํ
    - หายใจลําบาก
    - คลําไดกระดูกซี่โครงหัก กดเจ็บ
    - อาจคลําได subcutaneous emphysema

วินจฉัย
   ิ

    - ตรวจ CXR พบกระดูกซี่โครงหัก สวนภาวะ pulmonary contusion อานไมเห็นใน CXR
          ระยะแรกได อาศัยอาการของผูปวยเปนหลัก
                                      

การรักษา

    - ดูแลการหายใจและการแลกเปลียนออกซิเจน ใหออกซิเจน หรือใชเครืองชวยหายใจในกรณีที่ผปวยมี
                               ่                                 ่                    ู
          อาการรุนแรง ไมสามารถแกไขไดดวยการใหออกซิเจนเพียงอยางเดียว
                                        
    - ใหยาระงับความเจ็บปวด ซึ่งเปนเหตุใหผูปวยหายใจไดไมเพียงพอ
                                               
    - ใหสารน้าอยางระมัดระวัง ไมควรใหสารน้าปริมาณมากเกินไปเพราะจะทําใหพยาธิสภาพทีปอดแยลง
              ํ                              ํ                                       ่



                                    Massive hemothorax

    Hemothorax คือภาวะที่มีเลือกออกในชองเยือหุมปอด ทําใหปอดขยายตัวไดไมเต็มที่ มีผลตอการ
                                            ่
แลกเปลี่ยนกาซ และมีปญหาจากการเสียเลือดรวมดวย

    Massive hemothorax คือ ภาวะที่มีเลือดออกในชองเยื่อหุมปอดปริมาณมากกวา 1500 cc
(หรือ 1 ใน 3 ของ blood volume) ตั้งแตเริ่มตน หรือยังมีเลือดออกตอเนืองมากกวา 200 cc ตอ
                                                                      ่
ชั่วโมงติดตอกัน 2-4 ชัวโมงขึ้นไป
                       ่
ตรวจรางกายพบ

   - อาจพบบาดแผลหรือรองรอยการบาดเจ็บของทรวงอกจากภายนอก
   - หายใจลําบาก
   - ความดันโลหิตต่า/ชีพจรเร็วจากการเสียเลือด
                   ํ
   - ทรวงอกขางที่มีพยาธิสภาพขยับเวลาหายใจไดนอยลง
   - ฟงเสียงปอดขางที่มีพยาธิสภาพไดเบาลง
   - เคาะทึบที่ปอดขางที่มพยาธิสภาพ
                          ี

วินจฉัย
   ิ

   - จากประวัติและการตรวจรางกาย
   - สามารถใช bedside ultrasound (หากมีเครือง Ultrasound ในหองฉุกเฉิน) ตรวจดู
                                            ่
          อยางรวดเร็วได
   - CXR ชวยในการวินิจฉัย แตควรเริ่มการรักษาผูปวยโดยไมตองเสียเวลารอ X-rayกอน
                                                  

การรักษา

   - ใหออกซิเจน
   - เปดเสนเลือดดําดวยเข็มเบอรใหญ 2 แหง
   - สงตรวจเลือดดูความเขมขน และจองเลือด
   - ให warmed isotonic crystalloid solution
   - ใส Chest tube ขนาด 32-34 Fr ที่ชองระหวางกระดูกซี่โครงที่ 4-6 บริเวณหนาตอ
                                      
          midaxillary line เล็กนอย
   - บันทึก initial drain ที่ออกมา
   - ตอลงขวด ควรเปนระบบ 2 ขวดขึ้นไป
   - ประเมินการหายใจ ชีพจร และความดันโลหิตเปนระยะๆ
วิธีการตอขวด ICD แบบ 1ขวด (A) และ แบบ 2 ขวด (B)




         ภาพจาก Roberts, Clinical Procedures in Emergency Medicine



                         การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการหามเลือด
     C                (Circulation and hemorrhage control)


       การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบดวยการประเมินชีพจรทั้งความแรง อัตราเร็ว ความ
สม่ําเสมอ, ความดันโลหิต, pulse pressure, สีผิว ควบคูไปกับการหาตําแหนงเลือดออกภายนอกเพื่อทํา
การหามเลือด

                Immediate life threatening conditions ของ “C” ไดแก

                   Massive hemothorax และ Cardiac tamponade
Cardiac tamponade
          เปนภาวะที่มีเลือดเขาไปอยูในชองเยือหุมหัวใจและบีบรัดหัวใจใหทํางานไมไดตามปรกติ
                                               ่




   ตรวจรางกายพบ

   - เสนเลือดที่คอโปงพอง (อาจไมพบในกรณีที่ผูปวยเสียเลือดปริมาณมากหรือความดันโลหิตต่ามาก)
                                                                                      ํ
   - ความดันโลหิตต่า
                   ํ
   - ชีพจรเบาและเร็ว
   - ฟงเสียงหัวใจเตนไดเบา (Distant heart sound)

วินจฉัย
   ิ

Ultrasound สามารถชวยวินจฉัยภาวะที่มีเลือดออกในเยื่อหุมหัวใจได
                        ิ                             

การรักษา

   - ใหออกซิเจน
   - เปดเสนเลือดดําดวยเข็มเบอรใหญ 2 แหง
- สงตรวจเลือดดูความเขมขน และจองเลือด
  - ให warmed isotonic crystalloid solution
  - ภาวะนี้สวนใหญตองไดรบการผาตัด หากยังไมพรอมทีจะผาตัดอาจทํา pericardiocentesis
                         ั                          ่
       โดยใชเข็มยาว No. 18 เจาะดูดเลือดออก หรือ subxiphoid pericardial window เพื่อ
       ชวยลดภาวะ tamponade กอน หรือ พิจารณา Emergency thoracotomy




                                  การประเมินความรูสกตัว
                                                    ึ
   D                                  (Disabiliy)



  ประกอบดวยการประเมินความรูสกตัว (GCS หรือ AVPU) และการตอบสนองของรูมานตาเทานั้น
                              ึ                                       

  GCS score (Glasgow coma scale score) ประกอบดวยการประเมินสามหัวขอหลัก ดังนี้

Eye response (E)

  1.   No eye opening
  2.   Eyes opening in response to pain stimulus
  3.   Eyes opening to speech
  4.   Eyes opening spontaneously

Verbal response (V)

  1.   No verbal response
  2.   Incomprehensible sounds
  3.   Inappropriate words
  4.   Confused
  5.   Oriented
Motor response (M)

   1.   No motor response
   2.   Extension to pain
   3.   Abnormal flexion to pain
   4.   Flexion/Withdrawal to pain
   5.   Localizes to pain
   6.   Obeys commands

AVPU method แบงเปน 4 ระดับคือ

A = alert

V = vocal stimuli

P = pain stimuli

U = unresponsive



                           การถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก
                                    ้       
     E                         (Exposure and environment)


        ประกอบดวยการถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก และการทํา log roll เพื่อให
                           ้       
สามารถตรวจรางกายทางดานหลัง โดยยังทําการปองกันการบาดเจ็บเพิ่มเติมของไขสันหลัง หลังจากตรวจ
รางกายเสร็จแลวควรรีบใชผาคลุมสวนที่ไมไดทาหัตถการใดๆ เพื่อใหความอบอุนแกรางกายผูปวยดวย
                                              ํ                                       
Adjuncts to primary survey and resuscitation
       สามารถทําไปพรอมกับการทํา Primary survey และ resuscitation แตมีขอแมวาจะตอง
ไมทําใหเสียเวลาขัดขวางการทํา primary survey หรือ resuscitation ไดแก

   -   EKG monitoring
   -   Urinary catheter
   -   Gastric tube
   -   Monitor อื่นๆ เพื่อประเมินการตอบสนองตอการ resuscitation ไดแก arterial blood
     gas, Pulse oxymetry, Blood pressure monitoring
   - X-ray ไดแก film portable CXR และ Pelvis AP
   - การตรวจเพื่อการวินิจฉัยอืน ไดแก การทํา ultrasound FAST, DPL
                              ่



Secondary survey
       คือการซักประวัติ AMPLE history และการตรวจรางกายผูปวยอยางละเอียดตังแตหวจรดเทา
                                                                          ้    ั

AMPLE history ประกอบดวย

A = Allergies

M = Medications currently used

P = Past illnesses/Pregnancy

L = Last meal

E = Events/Environment related to the injury
Adjuncts to secondary survey
       ประกอบดวยการสงตรวจอื่นๆเพื่อประกอบการวินจฉัย เชน การ X-ray วินจฉัยภาวะกระดูกหัก หรือ
                                                 ิ                      ิ
การทํา CT brain ในผูปวยที่สงสัยการบาดเจ็บที่สมอง เปนตน

Definitive care
       คือการรักษาทีจําเพาะตอการบาดเจ็บของผูปวย
                    ่                          



       หมายเหตุ ในการประเมินขั้นตอนตางๆ จําเปนตองมีการ reevaluation เปนระยะๆ เนื่องจาก
อาการของผูปวยสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอด
            

More Related Content

What's hot

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 

What's hot (20)

Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 

Similar to Trauma Initial assessment and Resuscitation

Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
Spontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxSpontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxmaprangrape
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558Krongdai Unhasuta
 

Similar to Trauma Initial assessment and Resuscitation (20)

Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Trauma & bls
Trauma & blsTrauma & bls
Trauma & bls
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
Spontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxSpontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothorax
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
 
Common pitfalls in Trauma
Common pitfalls in TraumaCommon pitfalls in Trauma
Common pitfalls in Trauma
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 

More from Narenthorn EMS Center

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesNarenthorn EMS Center
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนNarenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistNarenthorn EMS Center
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 

More from Narenthorn EMS Center (20)

First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLSCPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 

Trauma Initial assessment and Resuscitation

  • 1. Trauma initial assessment & resuscitation การประเมินและดูแลรักษาผูไดรับบาดเจ็บในระยะแรก พญ. ภาวดี สุนทรชีวิน ผูบาดเจ็บรุนแรงในระยะแรกจําเปนจะตองไดรับการประเมิน การตรวจและการใหการดูแลรักษา ตามลําดับความเรงดวน เพื่อแกไขภาวะที่เปนอันตรายตอชีวตไดอยางทันทวงที ิ การประเมินและการดูแลรักษาผูบาดเจ็บเบื้องตน (Initial assessment) ประกอบดวยขั้นตอน  ตามลําดับดังนี้ 1. Preparation 2. Triage 3. Primary survey (ABCDEs) and resuscitation 4. Adjuncts to primary survey and resuscitation 5. Consideration or the need for patient transfer 6. Secondary survey (head-to-toe evaluation and patient history) 7. Adjuncts to secondary survey 8. Continued postresuscitation monitoring and reevaluation 9. Definitive care
  • 2. Preparation Triage Adjuncts to Primary survey (ABCDEs) and resuscitation primary survey Reevaluation Adjuncts to Secondary survey secondary survey Reevaluation Definitive care Preparation คือการเตรียมความพรอมของบุคลากร อุปกรณ สถานที่กอนผูปวยมาถึง รวมทั้งสวนภายนอกและใน   โรงพยาบาล สิ่งสําคัญของผูปฏิบัติงานคือ Universal precaution ผูปฏิบัติงานทุกคนควรสวม หนากาก ถุงมือ และชุดเพื่อปองกันเลือดหรือสารคัดหลั่งขณะดูแลรักษาผูบาดเจ็บเสมอ Triage คือการคัดกรองผูปวยตามความเรงดวน 
  • 3. Primary survey and resuscitation คือ การประเมินผูบาดเจ็บในระยะเริ่มแรกประกอบดวย  A: Airway and C-spine protection การประเมินทางเดินหายใจและปองกันการบาดเจ็บของกระดูกตนคอ B: Breathing การประเมินระบบการหายใจ C: Circulation and hemorrhage control การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการหามเลือด D: Disability การประเมินความรูสกตัว ึ E: Exposure and environment การถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก และดูแลอุณหภูมิกาย ้  การประเมินดังกลาวเพื่อคนหา และแกไขภาวะ Immediate life threatening conditions ที่จะทําใหผูปวยเสียชีวตไดจากปญหา A, B, C อันไดแก  ิ - Upper airway obstruction - Tension pneumothorax - Open pneumothorax - Flail chest with pulmonary contusion - Massive hemothorax - Cardiac tamponade
  • 4. การประเมินทางเดินหายใจและการปองกันการบาดเจ็บของตนคอ A (Airway and C-spine protection) ทําไดงายๆโดยพูดคุยกับผูปวย เชน ถามชือผูปวย หากสามารถตอบไดดี แสดงวาผูปวยรูสึกตัวดี ไมมี   ่    การอุดกันของทางเดินหายใจ (รายละเอียดเรืองการดูแลทางเดินหายใจ ดูในบททางเดินหายใจ) ้ ่ ในกรณีผูบาดเจ็บรุนแรงจะตองสงสัยภาวะบาดเจ็บของกระดูกตนคอไวเสมอ จนกวาจะไดรบการ ั พิสูจนได ดังนั้นระหวางการประเมินและการดูแลรักษาเบื้องตนจําเปนจะตองปองกันการบาดเจ็บเพิ่มเติม C- spine protection โดยการใส hard cervical collar, head immobilizer และ spinal board ไวกอน หรือทําการ manual in line ไวตลอด Immediate life threatening condition ของ “A” คือ ภาวะอุดกั้นทางเดิน หายใจ (upper airway obstruction) การประเมินระบบการหายใจ B (Breathing) ทําไดโดยสังเกตดูการเคลือนไหวของหนาอก อัตราการหายใจ การฟงเสียงหายใจ การคลําตําแหนง ่ ของหลอดลมวาเอียงไปดานใดหรือไม ดูบาดแผลหรือการบาดเจ็บบริเวณทรวงอกที่เห็นไดจากภายนอก การคลําไดกรอบแกรบบริเวณผนังทรวงอก (Subcutaneous emphysema) Immediate life threatening conditions ของ “B” ไดแก Tension pneumothorax, Open pneumothorax, Flail chest with pulmonary contusion, Massive hemothorax
  • 5. Tension pneumothorax คือภาวะที่มอากาศอยูในชองเยือหุมปอดมาก จนความดันในชองเยือหุมปอดดันหัวใจและขัวหัวใจไป ี ่ ่ ้ ดานตรงขาม รูปที่ 1 อธิบายกลไกของภาวะ tension pneumothorax ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed. ตรวจรางกายพบ - ผูปวยหายใจลําบาก กระสับกระสาย - ผนังทรวงอกขางที่มพยาธิสภาพโปงออก แตไมคอยขยับเวลาหายใจ ี - ฟงเสียงหายใจขางที่มพยาธิสภาพจะไดยนเสียงลดลง และเคาะโปรง ี ิ - เคาะโปรงดานที่มีพยาธิสภาพ - คลําหลอดลมคอ (Trachea) จะพบวาถูกดันไปขางตรงขาม - เสนเลือดที่คอโปง - ความดันโลหิตต่า ชีพจรเตนเร็ว ํ
  • 6. หมายเหตุ ในผูปวยที่ใสทอชวยหายใจแลว หากชวยหายใจดวย ambu bag แลวอาการผูปวยแยลง    อยางรวดเร็ว มีความตานทานในการบีบ ambu bag สูงใหคิดถึงภาวะนี้ไวเสมอ การรักษา - ภาวะนีวินจฉัยจากประวัติและการตรวจรางกาย หากสงสัยภาวะนี้ใหทําการรักษาไดทนที โดยไมรอ ้ ิ ั การตรวจ CXR เนื่องจากผูปวยอาจเสียชีวิตระหวางรอผลได  - ให high flow oxygen โดยใหเปน Mask with bag ตั้งแต 11 LPM ขึ้นไป - หากมีบาดแผลที่ผนังทรวงอกทีอาจทําใหเกิด tension pneumothorax ใหรีบปดดวยวิธี 3 ่ sided dressing (รายละเอียดในหัวขอ open pneumothorax) - ลดความดันในชองเยือหุมปอดโดยการทํา Needle thoracostomy โดยใชเข็มฉีดยาขนาด ่ ใหญยาว No.14 แทงบริเวณชองระหวางซี่โครงที่ 2 และ 3 ( 2nd intercostal space) ตําแหนงตรงกับกึ่งกลางกระดูกไหปลารา (mid clavicular line) - ทํา intercostal drainage โดยการใส ICD - CXR หลังการทําหัตถการเพื่อ ตําแหนงของสาย ICD และติดตามผลของการรักษา รูปที่ 2 การทํา Needle Thoracostomy ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
  • 7. Open pneumothorax Open pneumothorax หรือ open chest wound คือภาวะที่มีบาดแผลภายนอก ติดตอกับชองเยือหุมปอด โดยเฉพาะบาดแผลที่มีขนาดใหญกวา 2 ใน 3 ของเสนผานศูนยกลางของ ่ trachea จะทําใหอากาศเขาไปในชองเยือหุมปอดปริมาณมาก เกิดภาวะปอดแฟบและเกิด tension ่  pneumothorax ตามมาได ตรวจรางกายพบ - บาดแผลเปดบริเวณทรวงอก - เหนื่อย หายใจลําบาก - อาจมีเสียงลมผานเขาออกทางบาดแผล - เสียงหายใจลดลงขางที่มพยาธิสภาพ ี การรักษา - ใหรีบปดบาดแผลดวยวิธี 3-sided dressing โดยใช Vaseline gauze หรือ occlusive dressingอื่น ปดลงไปที่บาดแผล sealขอบ 3 ดาน โดยเปดใหขอบดานลาง เพื่อใหอากาศภายใน ชองเยือหุมปอดดันออกมาได แตลมภายนอกไมสามารถเขาไปในโพรงชองเยือหุมปอดได ่ ่ รูปที่ 3 การทํา 3-sided dressing ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
  • 8. - พิจารณาทํา intercostal drainage โดยการใส ICD - CXR หลังการทําหัตถการเพื่อ ตําแหนงของสาย ICD และติดตามผลของการรักษา Flail chest with pulmonary contusion คือภาวะที่มีกระดูกซี่โครงหักตังแต 2 ซี่ติดกันขึนไปและแตละซี่หกอยางนอย 2 ตําแหนง ทําใหเกิด ้ ้ ั flail segment เวลาหายใจจะเกิด paradoxical motion ตามมา (ดังรูป) ทําใหการหายใจ แลกเปลี่ยนออกซิเจนไมเพียงพอ มักเกิดรวมกับภาวะเนื้อปอดช้า (pulmonary contusion) ํ รูปที่ 4 อธิบายกลไกการเกิดภาวะ Flail chest ภาพจาก Advanced Trauma Life Support (ATLS) student course manual, 9th ed.
  • 9. ตรวจรางกายพบ - บาดแผลหรือรองรอยฟกช้าบริเวณทรวงอก ทรวงอกผิดรูป ํ - หายใจลําบาก - คลําไดกระดูกซี่โครงหัก กดเจ็บ - อาจคลําได subcutaneous emphysema วินจฉัย ิ - ตรวจ CXR พบกระดูกซี่โครงหัก สวนภาวะ pulmonary contusion อานไมเห็นใน CXR ระยะแรกได อาศัยอาการของผูปวยเปนหลัก  การรักษา - ดูแลการหายใจและการแลกเปลียนออกซิเจน ใหออกซิเจน หรือใชเครืองชวยหายใจในกรณีที่ผปวยมี ่ ่ ู อาการรุนแรง ไมสามารถแกไขไดดวยการใหออกซิเจนเพียงอยางเดียว  - ใหยาระงับความเจ็บปวด ซึ่งเปนเหตุใหผูปวยหายใจไดไมเพียงพอ  - ใหสารน้าอยางระมัดระวัง ไมควรใหสารน้าปริมาณมากเกินไปเพราะจะทําใหพยาธิสภาพทีปอดแยลง ํ ํ ่ Massive hemothorax Hemothorax คือภาวะที่มีเลือกออกในชองเยือหุมปอด ทําใหปอดขยายตัวไดไมเต็มที่ มีผลตอการ ่ แลกเปลี่ยนกาซ และมีปญหาจากการเสียเลือดรวมดวย Massive hemothorax คือ ภาวะที่มีเลือดออกในชองเยื่อหุมปอดปริมาณมากกวา 1500 cc (หรือ 1 ใน 3 ของ blood volume) ตั้งแตเริ่มตน หรือยังมีเลือดออกตอเนืองมากกวา 200 cc ตอ ่ ชั่วโมงติดตอกัน 2-4 ชัวโมงขึ้นไป ่
  • 10. ตรวจรางกายพบ - อาจพบบาดแผลหรือรองรอยการบาดเจ็บของทรวงอกจากภายนอก - หายใจลําบาก - ความดันโลหิตต่า/ชีพจรเร็วจากการเสียเลือด ํ - ทรวงอกขางที่มีพยาธิสภาพขยับเวลาหายใจไดนอยลง - ฟงเสียงปอดขางที่มีพยาธิสภาพไดเบาลง - เคาะทึบที่ปอดขางที่มพยาธิสภาพ ี วินจฉัย ิ - จากประวัติและการตรวจรางกาย - สามารถใช bedside ultrasound (หากมีเครือง Ultrasound ในหองฉุกเฉิน) ตรวจดู ่ อยางรวดเร็วได - CXR ชวยในการวินิจฉัย แตควรเริ่มการรักษาผูปวยโดยไมตองเสียเวลารอ X-rayกอน  การรักษา - ใหออกซิเจน - เปดเสนเลือดดําดวยเข็มเบอรใหญ 2 แหง - สงตรวจเลือดดูความเขมขน และจองเลือด - ให warmed isotonic crystalloid solution - ใส Chest tube ขนาด 32-34 Fr ที่ชองระหวางกระดูกซี่โครงที่ 4-6 บริเวณหนาตอ  midaxillary line เล็กนอย - บันทึก initial drain ที่ออกมา - ตอลงขวด ควรเปนระบบ 2 ขวดขึ้นไป - ประเมินการหายใจ ชีพจร และความดันโลหิตเปนระยะๆ
  • 11. วิธีการตอขวด ICD แบบ 1ขวด (A) และ แบบ 2 ขวด (B) ภาพจาก Roberts, Clinical Procedures in Emergency Medicine การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการหามเลือด C (Circulation and hemorrhage control) การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบดวยการประเมินชีพจรทั้งความแรง อัตราเร็ว ความ สม่ําเสมอ, ความดันโลหิต, pulse pressure, สีผิว ควบคูไปกับการหาตําแหนงเลือดออกภายนอกเพื่อทํา การหามเลือด Immediate life threatening conditions ของ “C” ไดแก Massive hemothorax และ Cardiac tamponade
  • 12. Cardiac tamponade เปนภาวะที่มีเลือดเขาไปอยูในชองเยือหุมหัวใจและบีบรัดหัวใจใหทํางานไมไดตามปรกติ ่ ตรวจรางกายพบ - เสนเลือดที่คอโปงพอง (อาจไมพบในกรณีที่ผูปวยเสียเลือดปริมาณมากหรือความดันโลหิตต่ามาก)  ํ - ความดันโลหิตต่า ํ - ชีพจรเบาและเร็ว - ฟงเสียงหัวใจเตนไดเบา (Distant heart sound) วินจฉัย ิ Ultrasound สามารถชวยวินจฉัยภาวะที่มีเลือดออกในเยื่อหุมหัวใจได ิ  การรักษา - ใหออกซิเจน - เปดเสนเลือดดําดวยเข็มเบอรใหญ 2 แหง
  • 13. - สงตรวจเลือดดูความเขมขน และจองเลือด - ให warmed isotonic crystalloid solution - ภาวะนี้สวนใหญตองไดรบการผาตัด หากยังไมพรอมทีจะผาตัดอาจทํา pericardiocentesis  ั ่ โดยใชเข็มยาว No. 18 เจาะดูดเลือดออก หรือ subxiphoid pericardial window เพื่อ ชวยลดภาวะ tamponade กอน หรือ พิจารณา Emergency thoracotomy การประเมินความรูสกตัว ึ D (Disabiliy) ประกอบดวยการประเมินความรูสกตัว (GCS หรือ AVPU) และการตอบสนองของรูมานตาเทานั้น ึ  GCS score (Glasgow coma scale score) ประกอบดวยการประเมินสามหัวขอหลัก ดังนี้ Eye response (E) 1. No eye opening 2. Eyes opening in response to pain stimulus 3. Eyes opening to speech 4. Eyes opening spontaneously Verbal response (V) 1. No verbal response 2. Incomprehensible sounds 3. Inappropriate words 4. Confused 5. Oriented
  • 14. Motor response (M) 1. No motor response 2. Extension to pain 3. Abnormal flexion to pain 4. Flexion/Withdrawal to pain 5. Localizes to pain 6. Obeys commands AVPU method แบงเปน 4 ระดับคือ A = alert V = vocal stimuli P = pain stimuli U = unresponsive การถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก ้  E (Exposure and environment) ประกอบดวยการถอดเสือผาผูปวยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก และการทํา log roll เพื่อให ้  สามารถตรวจรางกายทางดานหลัง โดยยังทําการปองกันการบาดเจ็บเพิ่มเติมของไขสันหลัง หลังจากตรวจ รางกายเสร็จแลวควรรีบใชผาคลุมสวนที่ไมไดทาหัตถการใดๆ เพื่อใหความอบอุนแกรางกายผูปวยดวย ํ  
  • 15. Adjuncts to primary survey and resuscitation สามารถทําไปพรอมกับการทํา Primary survey และ resuscitation แตมีขอแมวาจะตอง ไมทําใหเสียเวลาขัดขวางการทํา primary survey หรือ resuscitation ไดแก - EKG monitoring - Urinary catheter - Gastric tube - Monitor อื่นๆ เพื่อประเมินการตอบสนองตอการ resuscitation ไดแก arterial blood gas, Pulse oxymetry, Blood pressure monitoring - X-ray ไดแก film portable CXR และ Pelvis AP - การตรวจเพื่อการวินิจฉัยอืน ไดแก การทํา ultrasound FAST, DPL ่ Secondary survey คือการซักประวัติ AMPLE history และการตรวจรางกายผูปวยอยางละเอียดตังแตหวจรดเทา  ้ ั AMPLE history ประกอบดวย A = Allergies M = Medications currently used P = Past illnesses/Pregnancy L = Last meal E = Events/Environment related to the injury
  • 16. Adjuncts to secondary survey ประกอบดวยการสงตรวจอื่นๆเพื่อประกอบการวินจฉัย เชน การ X-ray วินจฉัยภาวะกระดูกหัก หรือ ิ ิ การทํา CT brain ในผูปวยที่สงสัยการบาดเจ็บที่สมอง เปนตน Definitive care คือการรักษาทีจําเพาะตอการบาดเจ็บของผูปวย ่  หมายเหตุ ในการประเมินขั้นตอนตางๆ จําเปนตองมีการ reevaluation เปนระยะๆ เนื่องจาก อาการของผูปวยสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอด 