SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง…..การสื่อสารข้อมูล

เสนอ
ครูจุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาวทิพย์สุมล กรุณกิจ
เลขที่ 25 ม.4/2
รหัสวิชา ง 31102

ภาคเรียนที่ 2
โรงเรียนรัษฏานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาวิชาคอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน โดยมีจุดประสงค์
เพื่อให้ผู้จัดทาได้ฝึกการศึกษาค้นคว้า และนาสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้างเป็นชิ้นงานเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ
สอนของตนเองต่อไป
ทั้งนี้ เนื้อหาได้รวบรวมมาจากอินเตอร์เน็ต ขอขอบพระคุณอาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ อย่างสูงที่กรุณาตรวจ ให้คาแนะนา
เพื่อแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะตลอดการทางาน ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นาไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ตามความคาดหวัง
ถ้าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้

จัดทาโดย
นางสาวทิพย์สุมล กรุณกิจ
สารบัญ

เรื่อง

หน้า

ระบบการสื่อสารข้อมูล

1-5

องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ

6

ระบบการสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ

7

ข่ายการสื่อสารข้อมูล

8

วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย

8

ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

9

ชนิดของการสื่อสารข้อมูล

10 -11
ระบบการสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ
ผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ
เกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน
) จากผู้ส่งไปยังผู้รับข้อมูล การสื่อสารทุกรูปแบบจะมีองค์ประกอบในการสื่อสาร ( Component of
Communication) ดังนี้
1.ผู้ส่งข้อมูล (Sender) คือสิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดที่ต้องการ
2.ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาจากผู้ส่ง
3.ข้อมูล (Data) คือสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ ซึ่งอาจเป็นข้อความ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว
4.สื่อนาข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการนาข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น คน อากาศ

และสายเคเบิล
5.โพรโทคอล (Protocol) คือ กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือวิธีการในการสื่อสารข้อมูลซึ่งผู้ส่งและผู้รับจะต้องตกลงวิธีการ

สื่อสารให้เข้าใจตรงกัน เพื่อที่จะส่งและรับข้อมูลได้ถูกต้อง
ทิศทางการสื่อสาร แบ่งการสื่อสารข้อมูลตามทิศทางการส่งข้อมูล ( Transmission Mode) ได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
1.การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว ( Simplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้

เดียว และผู้รับทาหน้าที่ รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว เช่น การส่งอีเมล การใช้บริการรับฝากข้อความ ข้อดีคือ ไม่มีข้อจากัด
ทางด้านเวลา แต่ผลเสียคือผู้รับข้อมูลอาจ ไม่ได้รับข้อมูลที่ส่งไป และผู้ส่งข้อมูลจะไม่ทราบว่าผู้รับได้รับหรือไม่ ตัวอย่าง
การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว เช่น การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ และการฟังเสียงประกาศ

2.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน ( Half-Duplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้สื่อสารจะผลัดกันเป็น

ผู้รับและผู้ส่งข้อมูล โดยในขณะที่มีการสื่อสารข้อมูล ผู้รับข้อมูลจะต้องรอให้ผู้ส่งส่งข้อมูลเสร็จสิ้นก่อนจึงจะสามารถส่ง
ข้อมูลได้ การสื่อสารข้อมูลประเภทนี้ นิยมใช้ในเฉพาะกลุ่ม ได้แก่วิทยุสื่อสาร ( Radio Communication)

3.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน ( Full-Duplex Transmission) ผู้สื่อสารสามารถส่งข้อมูลโต้ตอบกันได้ทันทีโดย

ไม่ต้องรอให้ผู้ส่งข้อมูล เสร็จก่อน ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การคุยโทรศัพท์ การแชท
ชนิดของสัญญาณ
สัญญาณข้อมูล(Data Signal) แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่องในรูปแบบคลื่น สามารถแทนลักษณะของ

สัญญาณได้ด้วยรูปกราฟคลื่นไซน์ (Sine Wave)
ตัวอย่างของสัญญาณแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์และสัญญาณเสียงจากสถานีวิทยุ
2.สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องในรูปแบบกราฟสี่เหลี่ยม ( Square Graph) มี

คุณภาพและแม่นยากว่า สัญญาณแอ

นะล็อก

ตัวกลาง (Media)
เป็นองค์ประกอบสาคัญของการถ่ายโอนและการสื่อสารข้อมูล ( Communication Media) มี 2ประเภทคือ แบบมีสาย
และไร้สาย ตัวอย่างตัวกลางที่มีการใช้ในปัจจุบันมีดังนี้
1. สายคู่บิดเกลียว ( Twisted Pair Cable) ประกอบด้วยสายทองแดงพันเป็นเกลียวคู่โดยแต่ละเส้นจะมีพลาสติกแผ่น

บางๆหุ้มอยู่ สายคู่บิดเกลียวมีทั้งแบบที่มีชั้นโลหะห่อและแบบหุ้มไม่มีชั้นโลหะหุ้มซึ่งนิยมใช้เพราะราคาถูก รองรับความเร็ว
ได้สูงถึงกิกะบิต

2. สายตัวนาร่วมแกนหรือสายโคแอกเชียล ( Coaxial Cable) มีลักษณะคล้ายสายเคเบิลทีวีที่เชื่อมต่อระหว่างเครื่องรับ

โทรทัศน์กับเสาอากาศ มีราคาแพงกว่าสายคู่บิดเกลียว แต่ส่งข้อมูลได้ระยะทางไกล และส่งข้อมูลได้เร็วกว่า

3. สายใยแก้วนาแสง ( Optical Fiber Cable) ส่งข้อมูลได้เร็วเท่ากับความเร็วแสง ส่งข้อมูลได้ระยะไกล แต่มีราคาสูง

ติดตั้งและดูแลรักษายากกว่าสายอื่นๆ
4. อินฟราเรด (Infrared) มีความถี่สั้น นิยมใช้สื่อสารระยะทางใกล้ๆ เช่น การใช้แสงอินฟราเรดจากรีโมตคอนโทรลไปยัง

เครื่องรับวิทยุ และโทรทัศน์
5. สัญญาณวิทยุ (Radio Wave) สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะทางไกลๆหรือในสถานที่ที่ไม่สามารถใช้สายส่งได้
6. ไมโครเวฟ ( Microwave) เป็นการสื่อสารไร้สาที่เป็นคลื่นวิทยุที่มีความถี่ในระดับกิกะเฮิรตซ์ โดยจะส่งสัญญาณเป็น

คลื่นจาก เสาไมโครเวฟต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งที่ไกลออกไปในทิศทางที่เป็นเส้นตรง
7. ดาวเทียม ( Satellite Communication) โดยพื้นโลกจะมีสถานีส่งสัญญาณ ไปยังดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก

สามารถรับและส่งสัญญาณ ได้ตลอดเวลา เหมาะกับการสื่อสารระยะทางไกลมากๆเช่นการสื่อสารระหว่างประเทศ

ระบบบัส (System Bus) คือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่รับ ส่งสัญญาณข้อมูลระหว่างฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์ เพื่อ
ถ่ายโอนข้อมูลและติดต่อสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะใช้ระบบบัสนี้เป็นหลัก
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คือ การนาคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเครือข่ายแบ่งตามลักษณะของการทางาน
เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเครื่องไคลเอนต์ โดยทาการเชื่อมต่อกันได้หลายรูปแบบ เช่น เครือข่ายแบบบัส เครือข่ายแบบดาว
เครือข่ายแบบวงแหวน และเครือข่ายตาข่าย ซึ่งสามารถจาแนกชนิดของเครือข่ายตามพื้นที่ที่ทางานเป็น 4ชนิด ได้แก่
เครือข่ายแบบส่วนบุคคล เครือข่ายแบบท้องถิ่น เครือข่ายแบบเชื่อมโยงภายในเมืองเดียวกัน และเครือข่ายแบบระะ
ทางไกล
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ

องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้
1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร( source)
อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควัน
ไฟ หรือท่าทางต่างๆก็นับว่าเป็นแหล่งกาเนิดข่าวสารจัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ( sink)
ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับ
สารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผู้รับสาร หรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดง
ว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอ ง
3. ช่องสัญญาณ(channel)หมายถึง สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็นอากาศ สายนาสัญญาณ
ต่างๆหรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้า น้ามัน เป็นต้น ปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่ง
หนึง
่
4. การเข้ารหัส(encoding)เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมี
ความจาเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปใน
สื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
5. การถอดรหัส(decoding)หมายถึง การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจาก
ผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
6. สัญญาณรบกวน(noise)
เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และ
ช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด
ตาแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับ
ข่าวสาร ในทางปฎิบัติ มักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อย
ดาเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
ระบบการสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ

1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสาร มีหน้าที่เตรียมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ง
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นปลายทางของการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ผู้จัดส่งมาให้
3. สื่อกลาง (Medium) เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยัง

– ปลายทางสื่อกลางการ

สื่อสารนี้อาจเป็นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นต่าง ๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุ

4. ข่าวสาร ( Message) เป็นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่อกลาง แบ่งออกเป็น 4

รูปแบบ ดังนี้ คือ

- เสียง (Voice) อาจเป็นเสียงของคนหรือเสียงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่างๆ สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณที่กระจัด

กระจายมีรูปแบบไม่แน่นอน ดังนั้นการส่งสัญญาณเสียงจึงต้อง ส่งด้วยความเร็วต่า
- ข้อมูล (Data) ส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่งสัญญาณข้อมูลจึงสามารถส่งด้วย

ความเร็วสูง
- ข้อมูล (Text) ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปแบบของอักขระหรือเอกสารมีรูปแบบ ไม่แน่นอนการส่งสัญญาณข้อความจะส่งด้วย

ความเร็วปานกลาง
- รูปภาพ (Image) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของกราฟฟิกต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวิดีโอใช้ปริมาณเนื้อหาที่มาก การส่ง

สัญญาณรูปภาพต้องส่งด้วยความเร็วสูง
5. โพรโตคอล (Protocol) หมายถึงกฎระเบียบหรือข้อตกลงที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจ

หรือพูดคุยกันได้
ข่ายการสื่อสารข้อมูล

หมายถึง การรับส่งข้อมูล หรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยระบบการส่งข้อมูลทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง
อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า ข่ายการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication
Networks)

องค์ประกอบพื้นฐาน
1. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
2. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)

วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย

1. เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
2. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
3. เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
4. เพื่อลดเวลาการทางาน
5. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
6. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

1. การจัดเก็บข้อมูลได้ง่าย และสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ใน
แผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่ง สามารถ บันทึกข้อมูล ได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการ
สื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้วจะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที
โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซ้าใหม่อีก
2. ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล
วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่
ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูล
ให้ถูกต้องได้
3. ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่ง
ข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็ว
ของระบบทาให้ผู้ใช้สะดวกสบายยิ่งขึ้นเช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว
ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที

4. ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคาต้นทุนของการใช้
ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
ชนิดของการสื่อสารข้อมูล

วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATA TRANSMISSION)
ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม ( serial data transmission) และการสื่อสารแบบ
ขนาน
(parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้
1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission)
เป็นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กับสื่อนาข้อมูลที่มีเพียง1
ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการ
สื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูล
ได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต
. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน ( parallel data transmission)
เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีนี้จะเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่า
การส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรูป เป็นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่ง
ข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล ( MODES OF DATA TRANSMISSION)
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ ( asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุดๆมีช่องว่าง ( gap) อยู่
ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุดๆเมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูล
ขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่
ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูล
จะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่ง
ข้อมูลแบบไม่ประสาน
จังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกา
เป็นตัวบอก
จังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง( gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุดและไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุดการส่งข้อมูล
แบบประสานจังหวะนิยมใช้กับการส่งข้อมูล ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีการส่งข้อมูล ปริมาณมากๆ ด้วยความเร็วสูง
อ้างอิง
จาก……
http://school.obec.go.th/prathueang/network/communication_system.htm
http://www.chakkham.ac.th/technology/network/datacommu.html
http://napassarastamp1.blogspot.com/

More Related Content

What's hot

รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูล

เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์RattiyakornKeawrap26
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ BMontita Kongmuang
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์SoawakonJujailum
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Sun ZaZa
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูล (20)

เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

ระบบสื่อสารข้อมูล

  • 1. รายงาน เรื่อง…..การสื่อสารข้อมูล เสนอ ครูจุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาวทิพย์สุมล กรุณกิจ เลขที่ 25 ม.4/2 รหัสวิชา ง 31102 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนรัษฏานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาวิชาคอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ผู้จัดทาได้ฝึกการศึกษาค้นคว้า และนาสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้างเป็นชิ้นงานเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนของตนเองต่อไป ทั้งนี้ เนื้อหาได้รวบรวมมาจากอินเตอร์เน็ต ขอขอบพระคุณอาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ อย่างสูงที่กรุณาตรวจ ให้คาแนะนา เพื่อแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะตลอดการทางาน ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นาไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามความคาดหวัง ถ้าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ จัดทาโดย นางสาวทิพย์สุมล กรุณกิจ
  • 4. ระบบการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ ผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ เกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน ) จากผู้ส่งไปยังผู้รับข้อมูล การสื่อสารทุกรูปแบบจะมีองค์ประกอบในการสื่อสาร ( Component of Communication) ดังนี้ 1.ผู้ส่งข้อมูล (Sender) คือสิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดที่ต้องการ 2.ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาจากผู้ส่ง 3.ข้อมูล (Data) คือสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ ซึ่งอาจเป็นข้อความ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว 4.สื่อนาข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการนาข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น คน อากาศ และสายเคเบิล 5.โพรโทคอล (Protocol) คือ กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือวิธีการในการสื่อสารข้อมูลซึ่งผู้ส่งและผู้รับจะต้องตกลงวิธีการ สื่อสารให้เข้าใจตรงกัน เพื่อที่จะส่งและรับข้อมูลได้ถูกต้อง
  • 5. ทิศทางการสื่อสาร แบ่งการสื่อสารข้อมูลตามทิศทางการส่งข้อมูล ( Transmission Mode) ได้ 3 รูปแบบ ดังนี้ 1.การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว ( Simplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้ เดียว และผู้รับทาหน้าที่ รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว เช่น การส่งอีเมล การใช้บริการรับฝากข้อความ ข้อดีคือ ไม่มีข้อจากัด ทางด้านเวลา แต่ผลเสียคือผู้รับข้อมูลอาจ ไม่ได้รับข้อมูลที่ส่งไป และผู้ส่งข้อมูลจะไม่ทราบว่าผู้รับได้รับหรือไม่ ตัวอย่าง การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว เช่น การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ และการฟังเสียงประกาศ 2.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน ( Half-Duplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้สื่อสารจะผลัดกันเป็น ผู้รับและผู้ส่งข้อมูล โดยในขณะที่มีการสื่อสารข้อมูล ผู้รับข้อมูลจะต้องรอให้ผู้ส่งส่งข้อมูลเสร็จสิ้นก่อนจึงจะสามารถส่ง ข้อมูลได้ การสื่อสารข้อมูลประเภทนี้ นิยมใช้ในเฉพาะกลุ่ม ได้แก่วิทยุสื่อสาร ( Radio Communication) 3.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน ( Full-Duplex Transmission) ผู้สื่อสารสามารถส่งข้อมูลโต้ตอบกันได้ทันทีโดย ไม่ต้องรอให้ผู้ส่งข้อมูล เสร็จก่อน ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การคุยโทรศัพท์ การแชท
  • 6. ชนิดของสัญญาณ สัญญาณข้อมูล(Data Signal) แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่องในรูปแบบคลื่น สามารถแทนลักษณะของ สัญญาณได้ด้วยรูปกราฟคลื่นไซน์ (Sine Wave) ตัวอย่างของสัญญาณแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์และสัญญาณเสียงจากสถานีวิทยุ 2.สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องในรูปแบบกราฟสี่เหลี่ยม ( Square Graph) มี คุณภาพและแม่นยากว่า สัญญาณแอ นะล็อก ตัวกลาง (Media) เป็นองค์ประกอบสาคัญของการถ่ายโอนและการสื่อสารข้อมูล ( Communication Media) มี 2ประเภทคือ แบบมีสาย และไร้สาย ตัวอย่างตัวกลางที่มีการใช้ในปัจจุบันมีดังนี้ 1. สายคู่บิดเกลียว ( Twisted Pair Cable) ประกอบด้วยสายทองแดงพันเป็นเกลียวคู่โดยแต่ละเส้นจะมีพลาสติกแผ่น บางๆหุ้มอยู่ สายคู่บิดเกลียวมีทั้งแบบที่มีชั้นโลหะห่อและแบบหุ้มไม่มีชั้นโลหะหุ้มซึ่งนิยมใช้เพราะราคาถูก รองรับความเร็ว ได้สูงถึงกิกะบิต 2. สายตัวนาร่วมแกนหรือสายโคแอกเชียล ( Coaxial Cable) มีลักษณะคล้ายสายเคเบิลทีวีที่เชื่อมต่อระหว่างเครื่องรับ โทรทัศน์กับเสาอากาศ มีราคาแพงกว่าสายคู่บิดเกลียว แต่ส่งข้อมูลได้ระยะทางไกล และส่งข้อมูลได้เร็วกว่า 3. สายใยแก้วนาแสง ( Optical Fiber Cable) ส่งข้อมูลได้เร็วเท่ากับความเร็วแสง ส่งข้อมูลได้ระยะไกล แต่มีราคาสูง ติดตั้งและดูแลรักษายากกว่าสายอื่นๆ
  • 7. 4. อินฟราเรด (Infrared) มีความถี่สั้น นิยมใช้สื่อสารระยะทางใกล้ๆ เช่น การใช้แสงอินฟราเรดจากรีโมตคอนโทรลไปยัง เครื่องรับวิทยุ และโทรทัศน์ 5. สัญญาณวิทยุ (Radio Wave) สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะทางไกลๆหรือในสถานที่ที่ไม่สามารถใช้สายส่งได้ 6. ไมโครเวฟ ( Microwave) เป็นการสื่อสารไร้สาที่เป็นคลื่นวิทยุที่มีความถี่ในระดับกิกะเฮิรตซ์ โดยจะส่งสัญญาณเป็น คลื่นจาก เสาไมโครเวฟต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งที่ไกลออกไปในทิศทางที่เป็นเส้นตรง 7. ดาวเทียม ( Satellite Communication) โดยพื้นโลกจะมีสถานีส่งสัญญาณ ไปยังดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก สามารถรับและส่งสัญญาณ ได้ตลอดเวลา เหมาะกับการสื่อสารระยะทางไกลมากๆเช่นการสื่อสารระหว่างประเทศ ระบบบัส (System Bus) คือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่รับ ส่งสัญญาณข้อมูลระหว่างฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์ เพื่อ ถ่ายโอนข้อมูลและติดต่อสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะใช้ระบบบัสนี้เป็นหลัก
  • 8. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเครือข่ายแบ่งตามลักษณะของการทางาน เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเครื่องไคลเอนต์ โดยทาการเชื่อมต่อกันได้หลายรูปแบบ เช่น เครือข่ายแบบบัส เครือข่ายแบบดาว เครือข่ายแบบวงแหวน และเครือข่ายตาข่าย ซึ่งสามารถจาแนกชนิดของเครือข่ายตามพื้นที่ที่ทางานเป็น 4ชนิด ได้แก่ เครือข่ายแบบส่วนบุคคล เครือข่ายแบบท้องถิ่น เครือข่ายแบบเชื่อมโยงภายในเมืองเดียวกัน และเครือข่ายแบบระะ ทางไกล
  • 9. องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร( source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควัน ไฟ หรือท่าทางต่างๆก็นับว่าเป็นแหล่งกาเนิดข่าวสารจัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน 2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ( sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับ สารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผู้รับสาร หรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดง ว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอ ง 3. ช่องสัญญาณ(channel)หมายถึง สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็นอากาศ สายนาสัญญาณ ต่างๆหรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้า น้ามัน เป็นต้น ปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่ง หนึง ่ 4. การเข้ารหัส(encoding)เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมี ความจาเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปใน สื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้ 5. การถอดรหัส(decoding)หมายถึง การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจาก ผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน 6. สัญญาณรบกวน(noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และ ช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ตาแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับ ข่าวสาร ในทางปฎิบัติ มักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อย ดาเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
  • 10. ระบบการสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสาร มีหน้าที่เตรียมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ง 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นปลายทางของการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ผู้จัดส่งมาให้ 3. สื่อกลาง (Medium) เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยัง – ปลายทางสื่อกลางการ สื่อสารนี้อาจเป็นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นต่าง ๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ 4. ข่าวสาร ( Message) เป็นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่อกลาง แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ คือ - เสียง (Voice) อาจเป็นเสียงของคนหรือเสียงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่างๆ สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณที่กระจัด กระจายมีรูปแบบไม่แน่นอน ดังนั้นการส่งสัญญาณเสียงจึงต้อง ส่งด้วยความเร็วต่า - ข้อมูล (Data) ส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่งสัญญาณข้อมูลจึงสามารถส่งด้วย ความเร็วสูง - ข้อมูล (Text) ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปแบบของอักขระหรือเอกสารมีรูปแบบ ไม่แน่นอนการส่งสัญญาณข้อความจะส่งด้วย ความเร็วปานกลาง - รูปภาพ (Image) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของกราฟฟิกต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวิดีโอใช้ปริมาณเนื้อหาที่มาก การส่ง สัญญาณรูปภาพต้องส่งด้วยความเร็วสูง 5. โพรโตคอล (Protocol) หมายถึงกฎระเบียบหรือข้อตกลงที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจ หรือพูดคุยกันได้
  • 11. ข่ายการสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูล หรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยระบบการส่งข้อมูลทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า ข่ายการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication Networks) องค์ประกอบพื้นฐาน 1. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit) 2. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit) 3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel) วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย 1. เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ 2. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล 3. เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว 4. เพื่อลดเวลาการทางาน 5. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร 6. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
  • 12. ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล 1. การจัดเก็บข้อมูลได้ง่าย และสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ใน แผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่ง สามารถ บันทึกข้อมูล ได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการ สื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้วจะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซ้าใหม่อีก 2. ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูล ให้ถูกต้องได้ 3. ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่ง ข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็ว ของระบบทาให้ผู้ใช้สะดวกสบายยิ่งขึ้นเช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที 4. ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคาต้นทุนของการใช้ ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
  • 13. ชนิดของการสื่อสารข้อมูล วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATA TRANSMISSION) ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม ( serial data transmission) และการสื่อสารแบบ ขนาน (parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission) เป็นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กับสื่อนาข้อมูลที่มีเพียง1 ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการ สื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูล ได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต . การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน ( parallel data transmission) เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีนี้จะเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่า การส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรูป เป็นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่ง ข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน รูปแบบการสื่อสารข้อมูล ( MODES OF DATA TRANSMISSION) รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ ( asynchronous transmission) เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุดๆมีช่องว่าง ( gap) อยู่ ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุดๆเมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูล ขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูล จะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่ง ข้อมูลแบบไม่ประสาน
  • 14. จังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น 2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกา เป็นตัวบอก จังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง( gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุดและไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุดการส่งข้อมูล แบบประสานจังหวะนิยมใช้กับการส่งข้อมูล ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีการส่งข้อมูล ปริมาณมากๆ ด้วยความเร็วสูง