SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ แผนกสามัญหญิง สามพราน นครปฐม
ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4. มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย
3. ตัวกลางการสื่อสาร
2. ทิศทางการส่งข้อมูล
1. ชนิดของสัญญาณข้อมูล
7. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์
6. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสื่อสาร
8. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
การสื่อสารข้อมูล (DataCommunication)
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)คือ การส่ง
ข้อมูลหรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทางที่อยู่
ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสารเพื่อเป็ นสื่อกลางในการ
ส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็ นแบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้
ส่วนข้อมูลหรือข่าวสารนั้นอาจจะเป็ นข้อความ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็ นมัลติมีเดียก็ได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer Network)คือ การนา
เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเพื่อใช้ใน
การสื่อสารข้อมูล ระหว่างคอมฯกับคอมฯ และคอมฯกับ
อุปกรณ์
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
แบบจาลอง SMCR Model ของเบอร์โล(Berlo)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
ข่าวสาร (Message) คือ ชุดของข้อมูลข่าวสาร (Information) ที่
ต้องการสื่อสาร
ผู้ส่ง/แหล่งกาเนิดข่าวสาร (Sender/Source) เป็ นสิ่งที่ทาหน้าที่ส่ง
ข้อมูลข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็ นบุคคล
หรืออุปกรณ์ทาหน้าที่ ส่งข่าวสาร เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องวิดีโอ
โทรศัพท์
ผู้รับ/จุดหมายปลายทาง (Receiver/Destination)เป็ นสิ่งที่ทาหน้าที่
รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งส่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ ซึ่งอาจเป็ น
บุคคลหรืออุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ
เป็ นต้น
ในปัจจุบัน จะมีองค์ประกอบ 6 ประการ
คือ
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
Medium (Channel)หมายถึง ตัวกลางที่ข่าวสารใช้ในการเดินทาง
ระหว่าง อุปกรณ์รับ-ส่ง เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ดาวเทียม ไวไฟ
บลูทูธ อากาศ สายโทรศัพท์ สายแลน ฯลฯ
Protocol หมายถึง ชุดของกฎหรือข้อตกลง ที่ควบคุมการสื่อสารข้อมูล
โดยที่ทั้งอุปกรณ์ รับและส่งจะต้องเข้าใจตรงกัน
Softwareหมายถึง โปรแกรมสาหรับดาเนินการ
และควบคุมการส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้
ข้อมูลตามที่กาหนดไว้
ในปัจจุบัน จะมีองค์ประกอบ 6 ประการ
คือ
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
6 Software
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Modulate Demodulate
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ประโยชน์ของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
สามารถย่นระยะเวลาการทางาน (CompressingTime): ทาให้ส่งผ่าน
ข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้เร็วขึ้น ทาให้งานต่าง ๆ เสร็จเร็ว
ยิ่งขึ้น เช่น การซื้อขายหุ้นหลาย ๆ ตัวในเวลาที่จากัดผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
 การเอาชนะข้อจากัดทางภูมิศาสตร์ (OvercomingGeographical
Restrictions):ช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ที่อยู่กระจัดกระจายกันมาอยู่
รวมกันเสมือนว่าอยู่ ณ ที่เดียวกัน เช่น ร้าน 7-11
บริษัทแม่สามารถทราบยอดขายของแต่ละร้านได้
แม้กระทั้งสินค้าคงคลังของแต่ละร้านเป็ นต้น
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ประโยชน์ของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
การรื้อปรับโครงสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ (Restructuring
BusinessRelationships):ระบบการสื่อสารด้านการตลาดทาให้
ลูกค้าติดต่อโดยตรงกับระบบ,การประมวลผลการเปลี่ยนแปลงแบบ
onlineทาให้ฐานข้อมูลของบริษัท Update ตลอดเวลา
การร่วมมือกาหนดกลยุทธ์ (StrategicAlliances): หลาย ๆ บริษัท
ร่วมกันสร้างกลยุทธ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้เปรียบในการแข่งขัน
เช่น 7-11 ร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ ทา
Counter Services เพื่อรับชาระค่าสินค้า
และบริการ
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
สัญญาณอนาล็อก (Analog
Signal)
คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบของคลื่น
(Waveform) ที่มีความต่อเนื่องกัน
(Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับ
ของสัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของ
สัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่
(Frequency)ที่เรียกว่า Hertz (Hz)
ตัวอย่างของสัญญาณอนาล็อก เช่น
เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้ าสลับ
แรงดันของน้า ค่าของอุณหภูมิ หรือ
สัญญาณข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ดิจิตอล (digital Signal)
สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณ
พัลซ์(Pulse Signal)” สัญญาณที่มี
ระบบของสัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูง
และต่า การเปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มี
ความต่อเนื่องกัน (Discrete) โดยปกติ
แล้วระดับสูงจะแทนด้วยตัวเลข 1 และ
ระดับต่าจะแทนด้วย 0
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล เรียกว่า
Bit rate โดยนับจานวน bit ที่ส่งได้
ในช่วง 1 วินาที เช่น ส่งข้อมูลได้ 14,400
bps (bit perseconds)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ชนิดของสัญญาณข้อมูล (ศัพท์ที่ควรรู้)
Hertz (Hz) :หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ
Analog โดยนับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1
วินาที (รอบ/วินาที)
Bit Rate : อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วัด
จานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา1 วินาที มีหน่วยเป็น
Bit Per Second (bps)
Bandwidth: ระยะความถี่ที่สามารถส่งสัญญาณผ่าน
ระบบสื่อสารระบบหนึ่ง ๆ ได้
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
แบบทิศทางเดียว (SimplexTransmission)
ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูล
ตอบกลับมาได้ เช่น การกระจายเสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทาง
โทรทัศน์ เป็นต้น
แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplexTransmission)
แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถทาได้ในเวลา
เดียวกันเช่น การใช้วิทยุสื่อสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web
board) อีเมล์ เป็นต้น
แบบสองทิศทาง (Full-duplexTransmission)
สามารถรับส่ง – ข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การคุย
โทรศัพท์ การสนทนาออนไลน์ในห้องสนทนา (ChatRoom) เป็นต้น
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
แบบทิศทางเดียว (SimplexTransmission)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplexTransmission)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
แบบสองทิศทาง (Full-duplexTransmission)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ประเภทของการ รับ –ส่ง สัญญาณข้อมูล
แบบขนาน (Parallel Transmission)
• รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน
• จานวนของสายสื่อสารเท่ากับจานวนบิตของ
ข้อมูลที่ ต้องการส่งไปแบบขนานกัน
• เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่งข้อมูลแบบ
อนุกรม
•ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่ไกล ๆ ได้เนื่องจาก
ข้อมูลแต่ละบิตอาจจะไปถึงปลายทางไม่พร้อมกัน
เร็วกว่าการส่งแบบอนุกรม
• นิยมใช้ในการรับส่งเพียงใกล้ ๆ เช่นการส่งข้อมูล
ออกไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์เป็นต้น
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ
ประเภทของการ รับ –ส่ง สัญญาณข้อมูล
แบบอนุกรม (Serial Transmission)
• รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียงตามลาดับกันไป
• ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเท่านั้น
• สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่ไกล ๆ
• นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง
สายโทรศัพท์ เมาส์ และ COM Port
สื่อกลางนาส่งข้อมูล (TransmissionMedia)
สื่อกลางนาส่งข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท
 ชนิดใช้สาย (Wire)
 ชนิดไร้สาย (Wireless)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายคู่ตีเกลียว (Twistedpairs cable)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
 สายคู่บิดเกลียวที่พบเห็นโดยทั่วไป
คือ สายโทรศัพท์
 มีฉนวนหุ้มจับคู่พันเป็นเกลียว เพื่อ
ลดสัญญาณรบกวน
 ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น
(สายคู่ตีเกลียว 1คู่ จะแทนการ
สื่อสารได้ 1 ช่องทางสื่อสาร
(Channel)
สายคู่ตีเกลียว (Twistedpairs cable)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายคู่บิดเกลียวที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ เป็น
สายทองแดง 8 เส้น 4 คู่ และเชื่อมต่อด้วย
คอนเน็กเตอร์ RJ-45
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายคู่ตีเกลียว (Twisted pairs cable)
สายคู่บิดเกลียว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
 สายคู่บิดเกลียวไม่หุ้มฉนวน
(Unshield Twisted Pair :UTP)
 สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shielded
Twisted pair :STP)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายคู่ตีเกลียว (Twisted pairs cable)
สายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวน (UnshieldTwisted Pair : UTP)
สายแบบ UTP เป็นสายที่มีราคาถูกและหาง่ายแต่ป้ องกัน
สัญญาณรบกวนจากอานาจแม่เหล็กได้ไม่ดีเท่าสายแบบ STP
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (ShieldedTwisted pair :STP)
สายแบบ STP เป็นสายแบบมีฉนวนป้ องกัน (ฉนวนโลหะ)
สัญญาณรบกวนที่ความถี่สูงได้ ราคาจะแพงกว่าสาย UTP
มาก สามารถเดินสายได้ยาวกว่าสาย UTP
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) 31
ประกอบด้วยแกนทองแดงหุ้มด้วยฉนวน ภายนอก
ฉนวนจะถูกหุ้มด้วยโลหะอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้ องกัน
สนามไฟฟ้ ารบกวนจากภายนอก และสายดิน (ลักษณะ
เป็นฝอย) แล้วหุ้มด้วยฉนวนบางอีกหนึ่งชั้น
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
รองรับความเร็วสูงสุดในการรับ-ส่งข้อมูลที่ 10 Mbps
สายนาสัญญาณแบบนี้จะใช้ Connector เฉพาะใน
การเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และจุดต่างๆ
ภายในเครือข่าย
ปัจจุบันได้เปลี่ยนสายดินจากลวดทองแดงเป็นลวดเงิน
ทั้งนี้เพื่อ ป้ องกันอาการรบกวนที่เกิดจากสายสัญญาณ
ข้างเคียง
สายโคแอกเชียล (Coaxial cable)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable)
เป็นสายนาสัญญาณที่ใช้รูปแบบของแสงในการรับ-ส่งข้อมูล
อุปกรณ์ทั้งสองตัวมีหน้าที่แปลงสัญญาณแสงให้เป็น
สัญญาณที่เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จัก (ดิจิตอล)
สายใยแก้วนาแสงมีประสิทธิภาพ ในการรับส่งข้อมูลที่เร็ว
ที่สุดเมื่อเทียบกับสายนาสัญญาณชนิดอื่น
รองรับความเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูลสูง 565-1300 Mbps
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable)
ข้อดีของใยแก้วนาแสง
1. ทนทานต่อคลื่นรบกวนด้วยฉนวน
ชั้นนอก
2. สัญญาณคงที่ในการส่งข้อมูลแม้ใน
ระยะทางไกลๆ ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์
เพิ่มสัญญาณหรือทวนสัญญาณ
3. แบนด์วิดท์สูง รองรับความเร็วใน
การส่งข้อมูลประมาณ 500 Mbps ขึ้น
ไป
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable)
ข้อจากัดของใยแก้วนาแสง
1. มีราคาแพงเนื่องจากต้นทุนการ
ผลิต
2. การติดตั้งและการบารุงรักษา
3. ความเปราะและแตกหักง่าย
ระบบไมโครเวฟ (MicrowaveSystem)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ไมโครเวฟ คือ ช่วงสัญญาณคลื่นวิทยุ นามาใช้ในการรับส่งข้อมูลด้วย
ความเร็วสูงทั้งสัญญาณเสียงและข้อมูล
มีจานส่งและรับข้อมูลตั้งอยู่บนเสาสูง ยอดตึก หรือภูเขา
ส่งสัญญาณเป็นเส้นตรง
และจะไม่มีอะไรมาขวางกั้น
(แต่มีการลดทอนของสัญญาณ)
ระยะทางของจานรับ/ส่ง
ประมาณ 30-50 กม.
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ระบบดาวเทียม (Satellite System)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ดาวเทียม มีหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล, รับ
และส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมภาคพื้นโลก
ดาวเทียมอยู่ห่างจากพื้นโลกประมาณ 36,000 ก.ม.
การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า
“สัญญาณอัป-ลิงค์” (Uplink)
การส่งสัญญาณข้อมูลกลับมายังพื้นโลกเรียกว่า
“สัญญาณดาวน์-ลิงค์” (Downlink)
ระบบดาวเทียม (Satellite System)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
36,000 km
ระบบดาวเทียม (Satellite System)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุ
โดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูปแบบของ
คลื่นไฟฟ้ า
การส่งวิทยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายส่งข้อมูล
ส่งคลื่นสัญญาณไปได้ระยะไกล อยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง
104 -109 เฮิรตซ์
เครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่องความถี่ให้กับคลื่นวิทยุที่ส่งมา
ทาให้สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจน
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
อินฟราเรด (Infrared)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 1011–1014
เฮิรตซ์ หรือความยาวคลื่น 10-3 – 10-6 เมตร เรียกว่า รังสี
อินฟราเรด หรือ คลื่นความถี่สั้น (Millimeterwaves)
ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุษย์สามารถรับรังสี
อินฟราเรด
ลาแสงอินฟราเรดเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถผ่านวัตถุ
ทึบแสง และสามารถสะท้อนแสงในวัสดุผิวเรียบได้เหมือนกับ
แสงทั่วไปใช้มากในการสื่อสารระยะใกล้
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
อินฟราเรด (Infrared)
มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
บลูทูธ (Bluetooth) บลูทธเป็นชื่อ
ที่เรียกสาหรับมาตรฐานเรือข่าย
แบบ 802.15 บลูทูธเป็นเทคโนโลยีไร้สาย
ที่ใช้การส่งข้อมูลทางคลื่นวิทยุ (Universal
Radio Interface) เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1998
สาหรับการเชื่อมโยงสื่อสารไร้สายในแถบ
ความถี่ 2.45 GHz ซึ่งเป็นอุปการณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ถือเคลื่อนย้ายได้
สามารถติดต่อเชื่อมโยงสื่อสารแบบไร้สาย
ระหว่างกันในช่วงระยะห่างสั้น ๆ ได้
มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ไว-ไฟ (Wi-Fi) ไว-ไฟ ย่อมาจากคาว่า
Wireless Fidelity คือมาตรฐานที่รับรองว่าอุป
กาณ์ไวร์เลว (Wireless LAN) สามารถทางาน
ร่วมกันได้ และสนับสนุนมาตรฐาน
IEEE802.11b
ไว-ไฟ เป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้
สายความเร็วสูงที่นิยมใช้ที่สุดในโลก ใช้
สัญญาณวิทยุในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูง
ผ่านเครือข่ายไร้สายจากบริเวณที่มีการติดตั้ง
Access Point ไปยังอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ เช่น
โทรศัพท์มือถือ พีดีเอและโนตบุ๊คเป็นต้น
มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols)
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ไว-แมกซ์(Wi-MAX)เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่าจะ
ถูกนามาใช้งานที่ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในอนาคตอันใกล้นี้(ตอนนี้มีแอบทดสอบ
WiMAX กันหลายที่ในต่างจังหวัดแล้ว เช่น ที่เชียงใหม่) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ ไร้
สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ตัวนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐานที่เรียกเป็นทางการว่า IEEE
802.16
ซึ่งต่อมาก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE802.16a (เหมือนกับมาตรฐานสากลตัวแรก
แต่มี a ต่อท้าย) ขึ้น โดยได้อนุมัติโดย IEEEมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 ซึ่ง IEEEที่ว่า ก็คือ
สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือชื่อเต็มๆก็คือ Institute of Electricaland
Electronics Engineers โดยเจ้าระบบ WiMAX นี้มีซึ่งมีรัศมีทาการไกลสูงสุดที่ 30 ไมล์
หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร (คนล่ะโลกกับ WiFiที่เรารู้จักกันเลยทีเดียว)และ
โนตบุ๊คเป็นต้น
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
2. โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology)
3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
4. โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology)
5. โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology)
6. โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology)
โทโปโลยี (Topology) คืออะไร
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. ตรวจสอบหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยากมา
2. ระบบจะมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมากถ้ามี
การจราจรของข้อมูลสูง
3. ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเกิดปัญหา จะส่งผลต่อทั้ง
เครือข่าย
ข้อดี
1. เป็นระบบที่ง่าย ไม่ซับซ้อน
2. ประหยัดสายสัญญาณ เพราะใช้แค่เส้นเดียว
3. ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย
4. สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย
5. มีความเชื่อถือได้สูงเนื่องจากเป็นรูปแบบง่าย
ที่สุด
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
2. โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
.
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. ต้องใช้สายเท่ากับจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์
2. หากฮับหรือสวิตช์มีปัญหา จะรับส่งข้อมูลกัน
ไม่ได้
3. เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้
เป็นเครื่องศูนย์กลาง
ข้อดี
1. เพิ่มจานวนคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ง่าย
2. ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเกิดปัญหา จะไม่ส่งผลต่อ
เครือข่าย
3. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทา ได้ง่าย
4. หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถ
ตรวจสอบได้ง่าย
5. ศูนย์กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออก
จากการสื่อสารโดยไม่มีผลกระทบกับระบบ
เครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. หากจุดใดในเครือข่ายขัดข้อง จะส่งผลทั้ง
เครือข่าย
2. เสียเวลาในการตรวจสอบข้อมูลของตนเอง
3. มีความปลอดภัยต่า
ข้อดี
1. มีความเร็วสูงกว่าแบบบัส
2. ข้อมูลไม่มีการชนกัน
3. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายมีโอกาสที่จะ
ส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
4. การส่งข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่
เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่
ส่งออกไป
5. ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ
เครื่องพร้อม ๆ กัน
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
4. โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. หากเกิดความเสียหายจุดใด จะทาให้ระบบไม่
สามารถติดต่อกันได้จนกว่าจะนาจุดที่เสียหาย
ออกจากระบบ
2. ยากต่อการตรวจสอบหาข้อผิดพลาด เพราะอาจ
ต้องหาทีละจุด
3. การจัดโครงสร้างใหม่ค่อนข้างยุ่งยาก เมื่อต้อง
ต้องการเพิ่มจุดสถานีใหม่ถ้าจะทาต้องตัดสายใหม่
ข้อดี
1.ใช้สายส่งข้อมูลน้อย เมื่อเทียบกับระบบสตาร์
2.ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
5. โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. มีราคาแพงเพราะต้องเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้า
กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่าย
2. ยากต่อการเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใน
เครือข่าย
3. มีข้อจากัดในการนาไปต่อกับ Topology อื่น ๆ
ข้อดี
1. สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับ
ระบบได้ดีที่สุด
2. เมื่อสายส่งข้อมูลขาดหรือชารุดก็สามารถส่ง
ข้อมูลไปอีกเส้นทางหนึ่งได้
3. ลดปัญหาการจราจรภายในเครือข่าย เนื่องจาก
ไม่ต้องใช้สื่อร่วมกัน
4. มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากระบบจะส่งข้อมูล
ไปให้โดยตรง
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
6. โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology)
Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
1. เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้
เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB
2. ต้องใช้สายเคเบิลจานวนมาก
3. การเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทาให้มีโอกาสที่
ระบบเครือข่าย จะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย
ข้อดี
1. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทา ได้ง่าย
2. หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถ
ตรวจสอบได้ง่าย
3. เปลี่ยนรูปแบบการวางสายได้ง่าย
4. สามารถเพิ่ม node ได้ง่าย
5. ตรวจสอบจุดที่เป็นปัญหาได้ง่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
1. เซิร์ฟเวอร์(Server) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ
โดยเครือข่ายต่าง ๆ สามารถมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์กี่เครื่องก็ได้ตามต้องการ
2. เวิร์กสเตชั่น (Workstation)เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปที่สามารถ
ทาการประมวลผลข้อมูล ต่าง ๆ ได้
3. ไคลเอนต์ (Client) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเรียกใช้ข้อมูลจาก
เซิร์ฟเวอร์
4. เทอร์มินัล (Terminal)เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยจอภาพ แป้ นพิมพ์
และอื่น ๆ เทอร์มินัลไม่สารถประมวลผลข้อมูลได้ด้วยตัวเองแต่ใช้การสื่อสาร
ข้อมูลกับเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้เซิร์ฟเวอร์ประมวลผลพร้อมทั้งแสดงผลที่จอ
เทอร์มินอล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
เซิร์ฟเวอร์ (Server) ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์
ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ทาหน้าที่ในการจัดเก็บไฟล์
จะเสมือนฮาร์ดดิสก์รวมศูนย์ (Centerized disk storage) เสมือนว่าผู้ใช้งาน
ทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยู่ที่เดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสารองข้อมูล
โดยการ Restore ง่าย
พรินต์เซิร์ฟเวอร์ Print Server หนึ่งเหตุผลที่จะต้องมี PrintServer ก็คือ
เพื่อแบ่งให้พรินเตอร์ราคาแพงบางรุ่นที่ออกแบบมาใช้สาหรับการทางานมาก
ๆ เช่น HPLaser 5000 พิมพ์ได้ถึง 10 – 24 แผ่นต่อนาที พรินเตอร์สาหรับ
ประเภทนี้ ความสามารถในการทางานที่จะสูง
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
เซิร์ฟเวอร์ (Server)ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์
แอพพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ (Application Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รันโปรแกรม
ประยุกต์ได้โดยการทางานสอดคล้องกับไคลเอ็นต์เช่น MailServer (รัน MS
ExchangeServer) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรือ Web Server (รัน
Web Server Program เช่น Xitami,Apache’)
อินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนั้นมี
ผลกระทบกับเครือข่ายในปัจจุบันเป็นอย่างมาก อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มี
ขนาดใหญ่มากและมีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทาให้อินเทอร์เน็ตเป็น
ที่นิยมก็คือ เว็บ และอีเมล์ เพราะทั้งสองแอพพลิเคชั่นทาให้ผู้ใช้สามารถ
แลกเปลี่ยนข้อมูลและสื่อสารกันได้ง่ายและมีรวดเร็ว
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
เซิร์ฟเวอร์ (Server)ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์
เว็บเซิร์ฟเวอร์ (WebServer) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบ
HTML(Hyper text Markup Language)
เมล์เซิร์ฟเวอร์ (MailServer) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการรับ–ส่ง จัดเก็บ
และจัดการเกี่ยวกับอีเมล์ของผู้ใช้
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
1. เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย
เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)
Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย
เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN)
Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย
เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) คืออะไร
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1. Switched-WAN
เป็นระบบแวนที่เชื่อมต่อกับระบบปลายทาง ซึ่งโดยปกติมักหมายถึงอุปกรณ์
เร้าเตอร์ (Router) ที่นาไปใช้สาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้สามารถ
เชื่อมโยงไปยังเครือข่ายอื่นๆ อย่างเครือข่ายแลนหรือเครือข่ายแวน
3.2. Point-to-Point WAN
เป็นระบบแวนที่ใช้สายสื่อสารจากระบบโทรศัพท์ หรือเคเบิลทีวีที่เชื่อมต่อกับ
คอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือเครือข่ายแลนขนาดเล็กเพื่อไปยังบริษัทผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ต (Interne Service Provider : ISP)ซึ่งแวนชนิดนี้บ่อยครั้งที่นามาใช้เพื่อ
การถึงอินเทอร์เน็ต
Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ของเครือข่าย(อุปกรณ์พื้นฐาน)
69
 การ์ดเชื่อมโยงเครือข่าย (Network interface card)
 ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch)
 เราเตอร์ (Router)
 โมเด็ม (Modem)
 AccessPoint
 Wireless Card
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
ม.วรรณพร เจริญแสน
สวย

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Khunakon Thanatee
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network001
Network001Network001
Network001
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 

Similar to การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายxsitezaa
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์pikaply
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารPeerapat Thungsuk
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 

Similar to การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 2. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย 3. ตัวกลางการสื่อสาร 2. ทิศทางการส่งข้อมูล 1. ชนิดของสัญญาณข้อมูล 7. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย 5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 6. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสาร 8. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 3. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ การสื่อสารข้อมูล (DataCommunication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)คือ การส่ง ข้อมูลหรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทางที่อยู่ ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสารเพื่อเป็ นสื่อกลางในการ ส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็ นแบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรือข่าวสารนั้นอาจจะเป็ นข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็ นมัลติมีเดียก็ได้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer Network)คือ การนา เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเพื่อใช้ใน การสื่อสารข้อมูล ระหว่างคอมฯกับคอมฯ และคอมฯกับ อุปกรณ์
  • 4. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents) แบบจาลอง SMCR Model ของเบอร์โล(Berlo)
  • 5. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents) ข่าวสาร (Message) คือ ชุดของข้อมูลข่าวสาร (Information) ที่ ต้องการสื่อสาร ผู้ส่ง/แหล่งกาเนิดข่าวสาร (Sender/Source) เป็ นสิ่งที่ทาหน้าที่ส่ง ข้อมูลข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็ นบุคคล หรืออุปกรณ์ทาหน้าที่ ส่งข่าวสาร เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องวิดีโอ โทรศัพท์ ผู้รับ/จุดหมายปลายทาง (Receiver/Destination)เป็ นสิ่งที่ทาหน้าที่ รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งส่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ ซึ่งอาจเป็ น บุคคลหรืออุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ เป็ นต้น ในปัจจุบัน จะมีองค์ประกอบ 6 ประการ คือ
  • 6. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents) Medium (Channel)หมายถึง ตัวกลางที่ข่าวสารใช้ในการเดินทาง ระหว่าง อุปกรณ์รับ-ส่ง เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ดาวเทียม ไวไฟ บลูทูธ อากาศ สายโทรศัพท์ สายแลน ฯลฯ Protocol หมายถึง ชุดของกฎหรือข้อตกลง ที่ควบคุมการสื่อสารข้อมูล โดยที่ทั้งอุปกรณ์ รับและส่งจะต้องเข้าใจตรงกัน Softwareหมายถึง โปรแกรมสาหรับดาเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ ข้อมูลตามที่กาหนดไว้ ในปัจจุบัน จะมีองค์ประกอบ 6 ประการ คือ
  • 7. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents) 6 Software
  • 8. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ องค์ประกอบของการสื่อสาร (CommunicationComponents)
  • 9. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ Modulate Demodulate
  • 10. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
  • 11. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ประโยชน์ของการสื่อสาร (CommunicationComponents) สามารถย่นระยะเวลาการทางาน (CompressingTime): ทาให้ส่งผ่าน ข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้เร็วขึ้น ทาให้งานต่าง ๆ เสร็จเร็ว ยิ่งขึ้น เช่น การซื้อขายหุ้นหลาย ๆ ตัวในเวลาที่จากัดผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์  การเอาชนะข้อจากัดทางภูมิศาสตร์ (OvercomingGeographical Restrictions):ช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ที่อยู่กระจัดกระจายกันมาอยู่ รวมกันเสมือนว่าอยู่ ณ ที่เดียวกัน เช่น ร้าน 7-11 บริษัทแม่สามารถทราบยอดขายของแต่ละร้านได้ แม้กระทั้งสินค้าคงคลังของแต่ละร้านเป็ นต้น
  • 12. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ประโยชน์ของการสื่อสาร (CommunicationComponents) การรื้อปรับโครงสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ (Restructuring BusinessRelationships):ระบบการสื่อสารด้านการตลาดทาให้ ลูกค้าติดต่อโดยตรงกับระบบ,การประมวลผลการเปลี่ยนแปลงแบบ onlineทาให้ฐานข้อมูลของบริษัท Update ตลอดเวลา การร่วมมือกาหนดกลยุทธ์ (StrategicAlliances): หลาย ๆ บริษัท ร่วมกันสร้างกลยุทธ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น 7-11 ร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ ทา Counter Services เพื่อรับชาระค่าสินค้า และบริการ
  • 13. ชนิดของสัญญาณข้อมูล สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบของคลื่น (Waveform) ที่มีความต่อเนื่องกัน (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับ ของสัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของ สัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่ (Frequency)ที่เรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณอนาล็อก เช่น เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้ าสลับ แรงดันของน้า ค่าของอุณหภูมิ หรือ สัญญาณข้อมูล ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ดิจิตอล (digital Signal) สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณ พัลซ์(Pulse Signal)” สัญญาณที่มี ระบบของสัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูง และต่า การเปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มี ความต่อเนื่องกัน (Discrete) โดยปกติ แล้วระดับสูงจะแทนด้วยตัวเลข 1 และ ระดับต่าจะแทนด้วย 0 อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล เรียกว่า Bit rate โดยนับจานวน bit ที่ส่งได้ ในช่วง 1 วินาที เช่น ส่งข้อมูลได้ 14,400 bps (bit perseconds)
  • 14. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ชนิดของสัญญาณข้อมูล
  • 15. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ชนิดของสัญญาณข้อมูล
  • 16. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ชนิดของสัญญาณข้อมูล (ศัพท์ที่ควรรู้) Hertz (Hz) :หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ Analog โดยนับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที (รอบ/วินาที) Bit Rate : อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วัด จานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา1 วินาที มีหน่วยเป็น Bit Per Second (bps) Bandwidth: ระยะความถี่ที่สามารถส่งสัญญาณผ่าน ระบบสื่อสารระบบหนึ่ง ๆ ได้
  • 17. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode) แบบทิศทางเดียว (SimplexTransmission) ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูล ตอบกลับมาได้ เช่น การกระจายเสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทาง โทรทัศน์ เป็นต้น แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplexTransmission) แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถทาได้ในเวลา เดียวกันเช่น การใช้วิทยุสื่อสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นต้น แบบสองทิศทาง (Full-duplexTransmission) สามารถรับส่ง – ข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การคุย โทรศัพท์ การสนทนาออนไลน์ในห้องสนทนา (ChatRoom) เป็นต้น
  • 18. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode) แบบทิศทางเดียว (SimplexTransmission)
  • 19. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode) แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplexTransmission)
  • 20. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode) แบบสองทิศทาง (Full-duplexTransmission)
  • 21. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ทิศทางการสื่อสารข้อมูล(TransmissionMode)
  • 22. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ประเภทของการ รับ –ส่ง สัญญาณข้อมูล แบบขนาน (Parallel Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน • จานวนของสายสื่อสารเท่ากับจานวนบิตของ ข้อมูลที่ ต้องการส่งไปแบบขนานกัน • เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่งข้อมูลแบบ อนุกรม •ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่ไกล ๆ ได้เนื่องจาก ข้อมูลแต่ละบิตอาจจะไปถึงปลายทางไม่พร้อมกัน เร็วกว่าการส่งแบบอนุกรม • นิยมใช้ในการรับส่งเพียงใกล้ ๆ เช่นการส่งข้อมูล ออกไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์เป็นต้น
  • 23. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.4 | ม.วรรณพร เจริญ ประเภทของการ รับ –ส่ง สัญญาณข้อมูล แบบอนุกรม (Serial Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียงตามลาดับกันไป • ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเท่านั้น • สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่ไกล ๆ • นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง สายโทรศัพท์ เมาส์ และ COM Port
  • 24. สื่อกลางนาส่งข้อมูล (TransmissionMedia) สื่อกลางนาส่งข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท  ชนิดใช้สาย (Wire)  ชนิดไร้สาย (Wireless) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 26.  สายคู่บิดเกลียวที่พบเห็นโดยทั่วไป คือ สายโทรศัพท์  มีฉนวนหุ้มจับคู่พันเป็นเกลียว เพื่อ ลดสัญญาณรบกวน  ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น (สายคู่ตีเกลียว 1คู่ จะแทนการ สื่อสารได้ 1 ช่องทางสื่อสาร (Channel) สายคู่ตีเกลียว (Twistedpairs cable) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 27. สายคู่บิดเกลียวที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ เป็น สายทองแดง 8 เส้น 4 คู่ และเชื่อมต่อด้วย คอนเน็กเตอร์ RJ-45 ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย สายคู่ตีเกลียว (Twisted pairs cable)
  • 28. สายคู่บิดเกลียว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด  สายคู่บิดเกลียวไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair :UTP)  สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shielded Twisted pair :STP) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย สายคู่ตีเกลียว (Twisted pairs cable)
  • 29. สายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวน (UnshieldTwisted Pair : UTP) สายแบบ UTP เป็นสายที่มีราคาถูกและหาง่ายแต่ป้ องกัน สัญญาณรบกวนจากอานาจแม่เหล็กได้ไม่ดีเท่าสายแบบ STP ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 30. สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (ShieldedTwisted pair :STP) สายแบบ STP เป็นสายแบบมีฉนวนป้ องกัน (ฉนวนโลหะ) สัญญาณรบกวนที่ความถี่สูงได้ ราคาจะแพงกว่าสาย UTP มาก สามารถเดินสายได้ยาวกว่าสาย UTP ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 31. สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) 31 ประกอบด้วยแกนทองแดงหุ้มด้วยฉนวน ภายนอก ฉนวนจะถูกหุ้มด้วยโลหะอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้ องกัน สนามไฟฟ้ ารบกวนจากภายนอก และสายดิน (ลักษณะ เป็นฝอย) แล้วหุ้มด้วยฉนวนบางอีกหนึ่งชั้น ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 32. รองรับความเร็วสูงสุดในการรับ-ส่งข้อมูลที่ 10 Mbps สายนาสัญญาณแบบนี้จะใช้ Connector เฉพาะใน การเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และจุดต่างๆ ภายในเครือข่าย ปัจจุบันได้เปลี่ยนสายดินจากลวดทองแดงเป็นลวดเงิน ทั้งนี้เพื่อ ป้ องกันอาการรบกวนที่เกิดจากสายสัญญาณ ข้างเคียง สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 33. สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) เป็นสายนาสัญญาณที่ใช้รูปแบบของแสงในการรับ-ส่งข้อมูล อุปกรณ์ทั้งสองตัวมีหน้าที่แปลงสัญญาณแสงให้เป็น สัญญาณที่เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จัก (ดิจิตอล) สายใยแก้วนาแสงมีประสิทธิภาพ ในการรับส่งข้อมูลที่เร็ว ที่สุดเมื่อเทียบกับสายนาสัญญาณชนิดอื่น รองรับความเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูลสูง 565-1300 Mbps ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 34. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) ข้อดีของใยแก้วนาแสง 1. ทนทานต่อคลื่นรบกวนด้วยฉนวน ชั้นนอก 2. สัญญาณคงที่ในการส่งข้อมูลแม้ใน ระยะทางไกลๆ ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ เพิ่มสัญญาณหรือทวนสัญญาณ 3. แบนด์วิดท์สูง รองรับความเร็วใน การส่งข้อมูลประมาณ 500 Mbps ขึ้น ไป
  • 35. ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) ข้อจากัดของใยแก้วนาแสง 1. มีราคาแพงเนื่องจากต้นทุนการ ผลิต 2. การติดตั้งและการบารุงรักษา 3. ความเปราะและแตกหักง่าย
  • 36. ระบบไมโครเวฟ (MicrowaveSystem) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ไมโครเวฟ คือ ช่วงสัญญาณคลื่นวิทยุ นามาใช้ในการรับส่งข้อมูลด้วย ความเร็วสูงทั้งสัญญาณเสียงและข้อมูล มีจานส่งและรับข้อมูลตั้งอยู่บนเสาสูง ยอดตึก หรือภูเขา ส่งสัญญาณเป็นเส้นตรง และจะไม่มีอะไรมาขวางกั้น (แต่มีการลดทอนของสัญญาณ) ระยะทางของจานรับ/ส่ง ประมาณ 30-50 กม.
  • 39. ดาวเทียม มีหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล, รับ และส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมภาคพื้นโลก ดาวเทียมอยู่ห่างจากพื้นโลกประมาณ 36,000 ก.ม. การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า “สัญญาณอัป-ลิงค์” (Uplink) การส่งสัญญาณข้อมูลกลับมายังพื้นโลกเรียกว่า “สัญญาณดาวน์-ลิงค์” (Downlink) ระบบดาวเทียม (Satellite System) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 40. 36,000 km ระบบดาวเทียม (Satellite System) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 42. จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุ โดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูปแบบของ คลื่นไฟฟ้ า การส่งวิทยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายส่งข้อมูล ส่งคลื่นสัญญาณไปได้ระยะไกล อยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 104 -109 เฮิรตซ์ เครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่องความถี่ให้กับคลื่นวิทยุที่ส่งมา ทาให้สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจน ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
  • 44. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 1011–1014 เฮิรตซ์ หรือความยาวคลื่น 10-3 – 10-6 เมตร เรียกว่า รังสี อินฟราเรด หรือ คลื่นความถี่สั้น (Millimeterwaves) ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุษย์สามารถรับรังสี อินฟราเรด ลาแสงอินฟราเรดเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถผ่านวัตถุ ทึบแสง และสามารถสะท้อนแสงในวัสดุผิวเรียบได้เหมือนกับ แสงทั่วไปใช้มากในการสื่อสารระยะใกล้ ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย อินฟราเรด (Infrared)
  • 45. มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย บลูทูธ (Bluetooth) บลูทธเป็นชื่อ ที่เรียกสาหรับมาตรฐานเรือข่าย แบบ 802.15 บลูทูธเป็นเทคโนโลยีไร้สาย ที่ใช้การส่งข้อมูลทางคลื่นวิทยุ (Universal Radio Interface) เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1998 สาหรับการเชื่อมโยงสื่อสารไร้สายในแถบ ความถี่ 2.45 GHz ซึ่งเป็นอุปการณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ถือเคลื่อนย้ายได้ สามารถติดต่อเชื่อมโยงสื่อสารแบบไร้สาย ระหว่างกันในช่วงระยะห่างสั้น ๆ ได้
  • 46. มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ไว-ไฟ (Wi-Fi) ไว-ไฟ ย่อมาจากคาว่า Wireless Fidelity คือมาตรฐานที่รับรองว่าอุป กาณ์ไวร์เลว (Wireless LAN) สามารถทางาน ร่วมกันได้ และสนับสนุนมาตรฐาน IEEE802.11b ไว-ไฟ เป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้ สายความเร็วสูงที่นิยมใช้ที่สุดในโลก ใช้ สัญญาณวิทยุในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูง ผ่านเครือข่ายไร้สายจากบริเวณที่มีการติดตั้ง Access Point ไปยังอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ เช่น โทรศัพท์มือถือ พีดีเอและโนตบุ๊คเป็นต้น
  • 47. มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless NetworkingProtocols) ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ไว-แมกซ์(Wi-MAX)เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่าจะ ถูกนามาใช้งานที่ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในอนาคตอันใกล้นี้(ตอนนี้มีแอบทดสอบ WiMAX กันหลายที่ในต่างจังหวัดแล้ว เช่น ที่เชียงใหม่) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ ไร้ สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ตัวนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐานที่เรียกเป็นทางการว่า IEEE 802.16 ซึ่งต่อมาก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE802.16a (เหมือนกับมาตรฐานสากลตัวแรก แต่มี a ต่อท้าย) ขึ้น โดยได้อนุมัติโดย IEEEมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 ซึ่ง IEEEที่ว่า ก็คือ สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือชื่อเต็มๆก็คือ Institute of Electricaland Electronics Engineers โดยเจ้าระบบ WiMAX นี้มีซึ่งมีรัศมีทาการไกลสูงสุดที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร (คนล่ะโลกกับ WiFiที่เรารู้จักกันเลยทีเดียว)และ โนตบุ๊คเป็นต้น
  • 48. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology) 1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) 2. โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology) 3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) 4. โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology) 5. โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology) 6. โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) โทโปโลยี (Topology) คืออะไร Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย
  • 49. 1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 50. ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. ตรวจสอบหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยากมา 2. ระบบจะมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมากถ้ามี การจราจรของข้อมูลสูง 3. ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเกิดปัญหา จะส่งผลต่อทั้ง เครือข่าย ข้อดี 1. เป็นระบบที่ง่าย ไม่ซับซ้อน 2. ประหยัดสายสัญญาณ เพราะใช้แค่เส้นเดียว 3. ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย 4. สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย 5. มีความเชื่อถือได้สูงเนื่องจากเป็นรูปแบบง่าย ที่สุด ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 51. 2. โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 52. . ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบสตาร์ (Star Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. ต้องใช้สายเท่ากับจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. หากฮับหรือสวิตช์มีปัญหา จะรับส่งข้อมูลกัน ไม่ได้ 3. เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้ เป็นเครื่องศูนย์กลาง ข้อดี 1. เพิ่มจานวนคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ง่าย 2. ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเกิดปัญหา จะไม่ส่งผลต่อ เครือข่าย 3. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทา ได้ง่าย 4. หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถ ตรวจสอบได้ง่าย 5. ศูนย์กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออก จากการสื่อสารโดยไม่มีผลกระทบกับระบบ เครือข่าย ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 53. 3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 54. ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. หากจุดใดในเครือข่ายขัดข้อง จะส่งผลทั้ง เครือข่าย 2. เสียเวลาในการตรวจสอบข้อมูลของตนเอง 3. มีความปลอดภัยต่า ข้อดี 1. มีความเร็วสูงกว่าแบบบัส 2. ข้อมูลไม่มีการชนกัน 3. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายมีโอกาสที่จะ ส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน 4. การส่งข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่ เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ ส่งออกไป 5. ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 55. 4. โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 56. ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบผสมผสาน (Hybrid Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. หากเกิดความเสียหายจุดใด จะทาให้ระบบไม่ สามารถติดต่อกันได้จนกว่าจะนาจุดที่เสียหาย ออกจากระบบ 2. ยากต่อการตรวจสอบหาข้อผิดพลาด เพราะอาจ ต้องหาทีละจุด 3. การจัดโครงสร้างใหม่ค่อนข้างยุ่งยาก เมื่อต้อง ต้องการเพิ่มจุดสถานีใหม่ถ้าจะทาต้องตัดสายใหม่ ข้อดี 1.ใช้สายส่งข้อมูลน้อย เมื่อเทียบกับระบบสตาร์ 2.ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 57. 5. โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 58. ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. มีราคาแพงเพราะต้องเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่าย 2. ยากต่อการเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใน เครือข่าย 3. มีข้อจากัดในการนาไปต่อกับ Topology อื่น ๆ ข้อดี 1. สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับ ระบบได้ดีที่สุด 2. เมื่อสายส่งข้อมูลขาดหรือชารุดก็สามารถส่ง ข้อมูลไปอีกเส้นทางหนึ่งได้ 3. ลดปัญหาการจราจรภายในเครือข่าย เนื่องจาก ไม่ต้องใช้สื่อร่วมกัน 4. มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากระบบจะส่งข้อมูล ไปให้โดยตรง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 59. 6. โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 60. ข้อดีและข้อเสีย โทโปโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) Topology : โทโปโลยีระบบเครือข่าย ข้อเสีย 1. เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้ เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB 2. ต้องใช้สายเคเบิลจานวนมาก 3. การเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทาให้มีโอกาสที่ ระบบเครือข่าย จะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย ข้อดี 1. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทา ได้ง่าย 2. หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถ ตรวจสอบได้ง่าย 3. เปลี่ยนรูปแบบการวางสายได้ง่าย 4. สามารถเพิ่ม node ได้ง่าย 5. ตรวจสอบจุดที่เป็นปัญหาได้ง่าย ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology)
  • 61. 1. เซิร์ฟเวอร์(Server) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ โดยเครือข่ายต่าง ๆ สามารถมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์กี่เครื่องก็ได้ตามต้องการ 2. เวิร์กสเตชั่น (Workstation)เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปที่สามารถ ทาการประมวลผลข้อมูล ต่าง ๆ ได้ 3. ไคลเอนต์ (Client) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเรียกใช้ข้อมูลจาก เซิร์ฟเวอร์ 4. เทอร์มินัล (Terminal)เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยจอภาพ แป้ นพิมพ์ และอื่น ๆ เทอร์มินัลไม่สารถประมวลผลข้อมูลได้ด้วยตัวเองแต่ใช้การสื่อสาร ข้อมูลกับเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้เซิร์ฟเวอร์ประมวลผลพร้อมทั้งแสดงผลที่จอ เทอร์มินอล ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
  • 62. เซิร์ฟเวอร์ (Server) ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ทาหน้าที่ในการจัดเก็บไฟล์ จะเสมือนฮาร์ดดิสก์รวมศูนย์ (Centerized disk storage) เสมือนว่าผู้ใช้งาน ทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยู่ที่เดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสารองข้อมูล โดยการ Restore ง่าย พรินต์เซิร์ฟเวอร์ Print Server หนึ่งเหตุผลที่จะต้องมี PrintServer ก็คือ เพื่อแบ่งให้พรินเตอร์ราคาแพงบางรุ่นที่ออกแบบมาใช้สาหรับการทางานมาก ๆ เช่น HPLaser 5000 พิมพ์ได้ถึง 10 – 24 แผ่นต่อนาที พรินเตอร์สาหรับ ประเภทนี้ ความสามารถในการทางานที่จะสูง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
  • 63. เซิร์ฟเวอร์ (Server)ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ แอพพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ (Application Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รันโปรแกรม ประยุกต์ได้โดยการทางานสอดคล้องกับไคลเอ็นต์เช่น MailServer (รัน MS ExchangeServer) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรือ Web Server (รัน Web Server Program เช่น Xitami,Apache’) อินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนั้นมี ผลกระทบกับเครือข่ายในปัจจุบันเป็นอย่างมาก อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มี ขนาดใหญ่มากและมีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทาให้อินเทอร์เน็ตเป็น ที่นิยมก็คือ เว็บ และอีเมล์ เพราะทั้งสองแอพพลิเคชั่นทาให้ผู้ใช้สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลและสื่อสารกันได้ง่ายและมีรวดเร็ว ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
  • 64. เซิร์ฟเวอร์ (Server)ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (WebServer) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบ HTML(Hyper text Markup Language) เมล์เซิร์ฟเวอร์ (MailServer) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการรับ–ส่ง จัดเก็บ และจัดการเกี่ยวกับอีเมล์ของผู้ใช้ ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
  • 65. 1. เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 66. 2. เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 67. 3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) คืออะไร ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 68. 3.1. Switched-WAN เป็นระบบแวนที่เชื่อมต่อกับระบบปลายทาง ซึ่งโดยปกติมักหมายถึงอุปกรณ์ เร้าเตอร์ (Router) ที่นาไปใช้สาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้สามารถ เชื่อมโยงไปยังเครือข่ายอื่นๆ อย่างเครือข่ายแลนหรือเครือข่ายแวน 3.2. Point-to-Point WAN เป็นระบบแวนที่ใช้สายสื่อสารจากระบบโทรศัพท์ หรือเคเบิลทีวีที่เชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือเครือข่ายแลนขนาดเล็กเพื่อไปยังบริษัทผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต (Interne Service Provider : ISP)ซึ่งแวนชนิดนี้บ่อยครั้งที่นามาใช้เพื่อ การถึงอินเทอร์เน็ต Categories of Networks : ประเภทของเครือข่าย ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 69. ฮาร์ดแวร์ของเครือข่าย(อุปกรณ์พื้นฐาน) 69  การ์ดเชื่อมโยงเครือข่าย (Network interface card)  ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch)  เราเตอร์ (Router)  โมเด็ม (Modem)  AccessPoint  Wireless Card ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นม.4 | ม.วรรณพร เจริญแสนสวย