SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคมะเร็งกระดูก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 น.ส. อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส. อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 43
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคมะเร็งกระดูก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Malignant bone tumor
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. อัญชลี จันทร์นวล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ที่มาโรคมะเร็งกระดูก (Bone cancer หรือ Malignant bone tumor) เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อย สามารถเกิด ได้
กับคนทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุต่ ากว่า 35 ปี พบได้มากที่สุดในช่วงอายุ 1020
ปี (ในเด็กโต วัยรุ่น และคนวัยหนุ่มสาว) และพบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเล็กน้อย ซึ่งโรคมะเรง็กระดูกนี้จะพบได้
เพียงประมาณ 6% ของโรคมะเร็งในเด็กทั้งหมด ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยใหม่เป็นโรคนี้เพียงประมาณปีละ 650-700
ราย ทั้งนี้พบได้มากกว่าในเด็กหญิงประมาณ 23 เท่า ส่วนในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2544-2546 พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้
ในเพศชาย 1.1 รายต่อประชากรชาย 100,000 คนต่อปี และพบในเพศหญิง 0.8 รายต่อประชากรหญิง 100,000 คน
ต่อปี วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท าโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคมะเร็งกระดูก 2.เพื่อศึกษา
อาการโรคมะเร็งกระดูก 3.เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ถึงอันตรายและสาเหตุของมะเร็งกระดูก 4.เพื่อให้ทุกคนรู้จักป้องกัน
และรับมือ
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
ทราบถึงสาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก
รู้จักโทษของมะเร็งกระดูก
อาการของมะเร็งกระดูก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ทาการศึกษา เรื่องมะเร็งกระดูก และผลกระทบที่ได้รับ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ชนิดของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่ต้นเหตุเกิดใน
กระดูก) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ค่อนข้าง น้อย และชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่เกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งจากที่อื่น) ซึ่ง
เป็นชนิดที่พบได้เป็นส่วนใหญ่
โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (Primary bone cancer) คือ โรคมะเร็งที่เกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อกระดูก
เอง โดย มักจะเกิดในอวัยวะพวกรยางค์แขนขา ซึ่งตาแหน่งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นใกล้กับข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก
ข้อไหล่ เป็นต้น โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้เป็นกลุ่มมะเร็งที่พบได้ค่อนข้างน้อย (จากสถิติของสถาบันมะเร็ง
แห่งชาติพบ อุบัติการณ์ของโรคประมาณ 0.8 รายต่อประชากร 100,000 คน) พบเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบในวัย
เด็ก ค่อนข้างมาก ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมินี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่พบได้บ่อย ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 3
ชนิด คือ ชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูก” เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด มัก
พบในเด็ก และวัยหนุ่มสาว โดยเฉพาะในช่วงอายุประมาณ 10-20 ปี ชนิดคอนโดรซาร์โคมา (Chondrosarcoma)
หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูกอ่อน” เป็นชนิดที่พบได้ในคนอายุ มากกว่า 50 ปี ชนิดอีวิง (Ewing’s sarcoma)
เป็นชนิดที่พบได้มากในเด็กและคนอายุน้อยกว่า 30 ปี ส่วนชนิดอื่น ๆ ที่พบได้น้อย คือ ชนิดคอร์โดมา (Chordoma)
ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่มักเกิดบริเวณกระดูกสันหลัง ส่วนล่าง นอกจากนี้ยังมีชนิด Malignant fibrous histiocytoma
(MFH) และชนิดไฟโบรซาร์โคมา (Fibrosarcoma) ซึ่งเป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่ออ่อนที่เกิดขึ้นในกระดูกซึ่งพบได้น้อย
มาก โดยชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) ส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ใหญ่ บริเวณที่พบบ่อยคือ แขนและ
ขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเข่า ส่วนชนิดไฟโบรซาร์โค มา (Fibrosarcoma) จะพบได้บ่อยในผู้ใหญ่วัยกลางคนและมัก
พบที่ต้นขา โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (Secondary bone cancer) หรือเรียกว่า “โรคมะเร็งแพร่กระจายเข้าสู่
กระดูก” คือ โรคมะเร็งกระดูกที่เกิดจากโรคมะเร็งอื่น ๆ ที่แพร่กระจายมาที่กระดูก ซึ่งประมาณ 30-40% ของมะเร็ง
ที่กระจายมา จะพบที่แขนขา และประมาณ 50-60% จะกระจายมาตรงส่วนกลางของร่างกาย เช่น กะโหลกศีรษะ
กระดูกซี่โครง กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน เป็นต้น (เซลล์มะเร็งจะแพร่กระจายทางเลือดไปยังระบบน้าเหลืองและ
ไปยังอวัยวะ ต่าง ๆ ซึ่งตาแหน่งที่พบการแพร่กระจายได้บ่อย คือ กระดูก ตับ และปอด) โรคมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่
กระดูกมีได้เกือบทุกชนิดและมักจะกระจายมาที่กระดูกในช่วงระยะท้าย ๆ ของโรค แต่ จะมีโรคมะเร็งเพียง 5 ชนิดที่
กระจายมาที่กระดูกตั้งแต่ในระยะแรกของโรค ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็ง ต่อมลูกหมาก มะเร็งต่อม
4
ไทรอยด์ และมะเร็งไต โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมินี้จึงเป็นกลุ่มที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็งที่เป็นอยู่ จากสถิติของ
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ 30,000 คนต่อปี และมะเร็งได้แพร่กระจายไปที่
กระดูกประมาณ 20% ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะท้าย ๆ ของโรค โรคมะเร็งกระดูกเกิดได้กับกระดูกส่วน
ใดบ้าง
โรคมะเร็งกระดูกสามารถพบเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย แต่โดยส่วนใหญ่มักเกิดกับกระดูกเพียงชิ้น
เดียว แต่ สามารถแพร่กระจายทางกระแสเลือดไปสู่กระดูกชิ้นอื่น ๆ ได้ในลักษณะเดียวกับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้
โอกาสเกิด ในด้านซ้ายและด้านขวามีใกล้เคียงกัน โดยโรคมะเร็งกระดูกแต่ละชนิดก็พบเกิดได้แตกต่างกันไป เช่น
โรคมะเร็งออสตี โอซาร์โคมา (Osteosarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขน โดยเฉพาะบริเวณใกล้ ๆ กับข้อ
กระดูก โดยจะพบ เกิดกับ กระดูกต้นขาประมาณ 50% กระดูกขาส่วนล่างประมาณ 30% กระดูกต้นแขนประมาณ
10% กระดูกลาตัว (สะโพกหรือกระดูกซี่โครง) ประมาณ 5% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วน
อื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 2% โรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขนได้มากกว่า
กระดูกส่วนอื่น ๆ เช่นกัน แต่มักเกิด ตรงกลางของท่อนกระดูก นอกจากนั้นจะพบเกิดกับกระดูกของลาตัวได้สูง โดย
จะพบเกิดกับ กระดูกลาตัวประมาณ 50% กระดูกต้นขาและกระดูกขาประมาณ 30% กระดูกต้นแขนและกระดูกแขน
ประมาณ 15% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 5-10%
สาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูก
ชนิดปฐมภูมิ คือ ความผิดปกติ ทางพันธุกรรม เพราะพบโรคนี้ได้สูงขึ้นในผู้ที่มีพันธุกรรมผิดปกติบางชนิด การเป็น
โรคมะเร็งบางชนิดมาก่อน เช่น โรคมะเร็งจอตาในเด็ก (Retinoblastoma) ซึ่งเด็กที่เป็นโรคมะเร็งชนิดนี้จะมี โอกาส
เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ได้สูงกว่าคนทั่วไป (ส่วนผู้ที่มีประวัติคนใน ครอบครัว
เป็นโรคมะเร็งจอตาในเด็กมาก่อนก็มีความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งชนิดนี้ด้วยเช่นกัน) เชื้อชาติ เพราะพบโรคนี้ได้สูงในคน
ผิวขาวและผิวดามากกว่าคนเอเชียประมาณ 2 เท่า เกิดจากการรักษาในปัจจุบัน เช่น การให้ยาเคมีบาบัด การให้รังสี
รักษา ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดโรคมะเร็งได้ง่าย โดยเฉพาะโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา
(Osteosarcoma) เช่น ในผู้ที่มีประวัติที่กระดูกเคยได้รับรังสีบาง ชนิดในปริมาณสูงในวัยเด็กจากการฉายรังสีรักษา
มะเร็งชนิดอื่น ๆ เนื้องอกชนิดไม่ลุกลามหรือโรคของกระดูกอื่น ๆ เช่น Paget’s disease และ Fibrousdysplasia จะ
เพิ่มความเสี่ยงใน การเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) การกระตุ้นโดยสิ่งแวดล้อม เช่น
สารเคมี ยาฆ่าแมลง สารรังสี เป็นต้น ซึ่งคนที่ทางานที่อยู่กับสารเคมีหรือทางานใน โรงงานที่เกี่ยวข้องกับรังสีหรือทาง
การแพทย์ จะทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งได้
การเปลี่ยนแปลงทางโลกาภิวัตน์ อาจทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกได้สูงขึ้น เพราะในปัจจุบันเราพบผู้ป่วยที่เป็น
โรคนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิด และในอนาคตข้างหน้าอาจจะมีการเพิ่มของโรคมากขึ้น
กว่าเดิม ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ ฯลฯ ก็จัดเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งกระดูก
ด้วย เช่นกัน ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิก็คือ ปัจจัยเสี่ยงใด ๆ ก็ตามที่ก่อให้เกิด
โรคมะเร็ง เช่น การ สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การขาดการออกก าลังกาย
ภาวะดื่ม เป็นต้น (ปัจจัยข้างต้นนี้มีส่วนในการก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้สูงถึง 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็ง ในขณะที่ปัจจัย
ทางพันธุกรรมมีผล เพียง 5-10%) ซึ่งโรคมะเร็งแต่ละชนิดก็มีปัจจัยเสี่ยงที่จาเพาะแตกต่างกันไป เช่น การสูบบุหรี่ทา
ให้เกิดมะเร็งปอด เป็นต้น ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่กระดูกได้นั้นยังไม่ทราบสาเหตุที่
5
แน่ชัด แต่พบว่า ผู้ป่วย 2 รายที่เป็นมะเร็งชนิดเดียวกัน ผู้ป่วยรายที่มีเนื้องอกมะเร็งที่ใหญ่กว่าและมีการแพร่กระจาย
ไปยังต่อม น้าเหลืองจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปที่กระดูกได้มากกว่า และสาหรับโรคมะเร็งบางชนิดและ
โรคมะเร็งที่มี ระดับความรุนแรงสูงจะมีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปยังกระดูกได้มากกว่า
สาเหตุที่ทาให้โรคมะเร็งบางชนิดมีการแพร่กระจายมาที่กระดูก เนื่องจากเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดจะมี
ความสามารถใน การเกาะยึดกับเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน มะเร็งที่มักเกิดการแพร่กระจายมาที่กระดูกจะมีความสามารถ
ในการจับกับเซลล์ กระดูกได้ดี นอกจากนี้เซลล์กระดูกยังมีการสร้างสารทาให้มะเร็งเจริญได้ดีอีกด้วย อาการของ
โรคมะเร็งกระดูก อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการปวดและบวม ซึ่งการปวดอาจ
เป็น ๆ หาย ๆ ใน ระยะแรก (ส่วนใหญ่จะปวดในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน) และจะค่อย ๆ ปวดมากขึ้นและปวด
ตลอดเวลาใน ระยะเวลาต่อมา (อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายหรือต้องใช้แขนหรือขา)
เมื่อก้อนมะเร็งโตขึ้นผู้ป่วยจะคลาได้ก้อนแข็งหรือปุ่มยื่นออกมาจากกระดูกตรงกระดูกส่วนที่เป็นโรค ซึ่งส่วนใหญ่จะ
พบที่กระดูกขา (บริเวณรอบ ๆ เข่า) และกระดูกแขน มีส่วนน้อยที่พบที่บริเวณอื่น ๆ ถ้าเกิดใกล้บริเวณข้อจะส่งผลให้
เกิดอาการข้อบวม เจ็บ เกิดการติดขัดของการใช้ข้อหรือข้อยึดติด ส่วนกระดูกแตกหรือหักจะพบได้ในระยะท้าย ๆ
ของโรค (กระดูกหักเป็นผลสืบเนื่องมาจากโรค ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งกระดูก) ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจมาพบ
แพทย์ด้วยอาการกระดูกแตกหักจากการกระทบกระแทกเล็กน้อยหรือเดินแล้วหัก และเข้าใจผิดคิดว่าเป็นกระดูก
แตกหักจากอุบัติเหตุทั่วไปได้
นอกจากนี้ยังอาจพบอาการอื่น ๆ เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ซีด น้าหนักตัวลดลง เป็นต้น เมื่อโรคลุกลาม อาจ
ส่งผลให้ก้อนเนื้อแตกเป็นแผลเลือดออกเรื้อรัง หรือโรคแพร่กระจายไปที่ปอดทาให้มีอาการหอบ เหนื่อย หรือ
แพร่กระจายเข้าไขกระดูกก่อให้เกิดภาวะซีดและอ่อนเพลีย บางครั้งอาจมีไข้ต่า ๆ เมื่อโรคลุกลาม ส่วนอีก อาการที่
อาจพบได้ คือ คลาพบต่อมน้าเหลืองข้อพับที่ใกล้กับกระดูกที่เกิดโรคโต แต่ไม่เจ็บ เช่น ต่อมน้าเหลืองที่ขา หนีบโตเมื่อ
โรคเกิดกับกระดูกต้นขา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกบางรายอาจมีรอยโรคเกิดขึ้นแต่ไม่มีอาการก็ได้
และแพทย์มักตรวจพบจากการที่ ผู้ป่วยมาตรวจสุขภาพประจาปี หรือเกิดอุบัติเหตุ เล่นกีฬา และมาตรวจเอกซเรย์
แล้วพบ ซึ่งปัจจุบันมักจะพบลักษณะ นี้มากขึ้น อาการมะเร็งกระดูก
อาการของมะเร็งกระดูก อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ เมื่อมะเร็งแพร่กระจายมาที่กระดูกจะทาให้กระดูกอ่อน
ลงและหักง่าย ทั้งนี้เป็น เพราะเซลล์มะเร็งจะสร้างสารท าลายกระดูก เมื่อกระดูกสลายก็จะทาให้แคลเซียมเข้าสู่
กระแสเลือดและก่อให้เกิด ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงตามมา ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยหมดสติหรือชักได้ นอกจากนี้ในบาง
กรณียังพบว่า เซลล์มะเร็ง สามารถทาให้กระดูกหนาขึ้นผิดปกติ (Osteoblastic) ซึ่งพบได้น้อยกว่าแบบที่สลายกระดูก
( Osteolytic ) อย่างไรก็ ตาม ทั้งสองแบบก็สามารถทาให้เกิดอาการปวดกระดูกได้ทั้งคู่ สาหรับอาการและอาการ
แสดงของมะเร็งกระดูกชนิด ทุติยภูมิ คือ ปวดกระดูก ส่วนมากจะพบเป็นอาการแรก การปวดช่วงแรก ๆ มักจะเป็น ๆ
หาย ๆ ปวดมากในตอนกลางคืน ถ้ามี การเคลื่อนไหวจะดีขึ้น หลังจากนั้นอาการปวดจะเป็นบ่อยขึ้นและอาจแย่ลงถ้า
มีการเคลื่อนไหวร่างกาย กระดูกหัก ซึ่งมักเกิดจากการหกล้ม ยกของ อุบัติเหตุ หรือแม้กระทั่งในขณะที่กาลังทา
กิจวัตรประจาวันตามปกติ โดย ตาแหน่งที่พบได้บ่อย ๆ คือ กระดูกขา กระดูกแขน และกระดูกสันหลัง เมื่อกระดูกหัก
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดอย่าง รุนแรงขึ้นมาอย่างกะทันหันและไม่สามารถเคลื่อนไหวส่วนที่หักได้ การกดทับไขสันหลัง
ผู้ป่วยจะมีอาการชา อ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือมีปัญหาเรื่องการปัสสาวะ ภาวะแคลเซียมในเลือด
สูง ผู้ป่วยจะมีอาการท้องผูก คลื่นไส้ เบื่ออาหาร กระหายน้า ปัสสาวะบ่อย ร่างกายขาดน้า สับสน ง่วงซึม หมดสติ
6
เห็นก้อนไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นข้อแตกต่างกับมะเร็งชั้นดิปฐมภูมิที่จะเด่นเรื่องก้อน ส่วนมะเร็งชนิดนี้จะไม่เด่นเรื่องก้อน แต่
จะมีภาวการณ์เป็นอัมพาตหรือการอ่อนแรงเกิดขึ้นได้ ระยะของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมิแบ่ง
ออกเป็น 4 ระยะเช่นเดียวกับโรคมะเร็งอื่น ๆ และบางระยะยังแบ่งย่อยได้อีก แต่ที่ แตกต่างจากโรคมะเร็งชนิดอื่น คือ
ระยะของโรคจะขึ้นอยู่กับการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ เซลล์มะเร็งแบ่งตัวสูง และ
เซลล์มะเร็งแบ่งตัวต่ า ซึ่งทั้ง 4 ระยะของโรค คือ
ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่จุดเดียวในกระดูกและเป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวต่า ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็ง
ลุกลามจุดเดียวในกระดูก แต่เป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวสูง ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งลุกลามหลายจุดในกระดูก หรือ
ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงกระดูก ระยะที่ 4 โรคมะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้าเหลือง หรือแพร่กระจายเข้าสู่
กระแสเลือด ซึ่งมักแพร่กระจายไปสู่กระดูก ชนิดอื่น ๆ ปอด และไขกระดูก
การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคมะเร็งกระดูก การดูแลตนเองจะเหมือนกับโรคมะเร็งอื่น ๆ ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไปในเรื่อง การ
ดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคมะเร็ง, การ ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง, การดูแลตนเองและการดูแลผู้ป่วยเคมีบาบัด
ผลการรักษาโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกเป็นโรคที่มีความรุนแรง ผลการรักษาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่
ระยะของโรค, ชนิดของ เซลล์มะเร็ง (เช่น ชนิดอีวิงจะมีอัตรารอดชีวิตที่ 5 ปี ต่ากว่าชนิดอื่น), ขนาดของก้อนมะเร็ง
(ยิ่งก้อนโตความรุนแรง ของโรคยิ่งสูงขึ้น), การตอบสนองของโรคต่อยาเคมีบาบัด, การผ่าตัด (ถ้าผ่าตัดไม่ได้ เพราะ
ตาแหน่งของโรคหรือผู้ป่วย มีสุขภาพไม่ดี ความรุนแรงของโรคก็จะสูงขึ้น) รวมถึงอายุและสุขภาพของผู้ป่วย โดย
ในโรคมะเร็งออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 75-80% ระยะที่ 2
ประมาณ 60-75% ระยะที่ 3 ประมาณ 30-50% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-10% ในโรคมะเร็ง
อีวิง (Ewing’s sarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 70% ระยะที่ 2 ประมาณ 60-70% ระยะที่ 3
ประมาณ 20-40% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-5%
ผลข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งกระดูก ผลข้างเคียงจากการรักษาจะขึ้นอยู่กับวิธีรักษา ผลข้างเคียงจะสูงขึ้นเมื่อ
ใช้วิธีรักษาหลายวิธีร่วมกัน ในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค
ไขมันในเลือดสูง และโรคที่ก่อให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เช่น โรคภูมิต้านตนเอง หรือ Autoimmune
disease) การผ่าตัด เช่น การเสียเลือด การสูญเสียเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ แผลผ่าตัดติดเชื้อ และเสี่ยงต่อการดมยาสลบ
ยาเคมีบาบัด คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ผมร่วง ภาวะเลือดออกง่ายจากการมีเกล็ด
เลือดต่า ภาวะซีด และเพิ่มโอกาสการติดเชื้อจากภาวะเม็ดเลือดขาวต่า แต่ผลข้างเคียงเหล่านี้จะหมดไปเมื่อการรักษา
สิ้นสุด รังสีรักษา คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ผลข้างเคียงต่อผิวหนัง และเพิ่มโอกาสทาให้กระดูกหักในส่วนที่ได้รับรังสี ยา
รักษาตรงเป้า ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ คือ การเกิดสิวขึ้นทั่วตัวรวมทั้งใบหน้า และยาบางชนิดอาจก่อให้เกิดภาวะ
เลือดออกได้ง่าย เมื่อเกิดบาดแผลจะทาให้แผลติดยาก และอาจเป็นสาเหตุทาให้ผนังลาไส้ทะลุได้ วิธีป้องกันโรคมะเร็ง
กระดูก เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีวิธีในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิตั้งแต่ยังไม่มีอาการได้ อีกทั้ง
ปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มักเป็นปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น จึงยังไม่มีวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็งกระดูก
ได้ แต่ที่ พอทาได้ก็คือ การสังเกตตนเอง เมื่อพบว่ามีอาการผิดปกติดังกล่าวเกิดขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจ
วินิจฉัยและ รับการรักษาโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ปกครองเองก็ควรเอาใจใส่และคอยสังเกตดูบุตรหลานอยู่เสมอ
(เพราะโรคมะเร็ง กระดูกปฐมภูมิมักเกิดกับคนในช่วงอายุ 10-20 ปี) ถ้าพบว่าบุตรหลานไม่สบายมีอาการเจ็บที่แขนขา
7
ควรรีบไปพบ แพทย์ อย่ารอให้เป็นมากแล้วจึงค่อยพาไป และการไปพบแพทย์ควรไปพบแพทย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านนี้
โดยตรง เนื่องจากผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกจาเป็นต้องได้รับการติดตามในระยะยาว ส่วนการป้องกันโรคมะเร็งชนิดทุติย
ภูมิ คือ การตรวจพบมะเร็งตั้งแต่เริ่มต้นก่อนที่จะแพร่กระจายและรักษาด้วยการ ผ่าตัด ยาเคมีบาบัด หรือรังสีรักษา
ซึ่งในปัจจุบันแพทย์แนะนาให้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ และมะเร็ง ปากมดลูก แต่หากผู้ป่วยมีอาการ
ดังต่อไปนี้ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ได้แก่ ปวดหลัง (อาจมีอาการปวดหลังร้าวลง ขา), ชาที่ขาหรือช่วงท้อง, ขาอ่อน
แรงหรือมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว หรือไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ หรือมีปัญหา เรื่องการปัสสาวะ ซึ่งอาการเหล่านี้
จัดเป็นภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูก หากไม่ได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงทีอาจทาให้
เกิดอัมพาตได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้รับความรู้ใหม่ๆเรื่องโรคมะเร็งกระดูก
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0
%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/
http://www.moderncancerthai.com/cancer-topics/bone-cancer/
http://med.mahidol.ac.th/cancer_center/th/knowledge/bone_cancer

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่
Ice Ice
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser6a3b56
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
kruoyl ppk
 

What's hot (8)

บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 

Similar to 101245

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
insecgo
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
0910797083
 
Project com
Project comProject com
Project com
WuLizhu
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
Dduang07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
Dduang07
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
asirwa04
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
พีพี ปฐพี
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
Sirirat Raiwklang
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Sirada Thipdararat
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Sirada Thipdararat
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian food
krong555
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Chanika Panyana
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 

Similar to 101245 (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Job
JobJob
Job
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian food
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 

101245

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคมะเร็งกระดูก ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 น.ส. อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส. อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 43 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคมะเร็งกระดูก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Malignant bone tumor ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. อัญชลี จันทร์นวล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ที่มาโรคมะเร็งกระดูก (Bone cancer หรือ Malignant bone tumor) เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อย สามารถเกิด ได้ กับคนทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุต่ ากว่า 35 ปี พบได้มากที่สุดในช่วงอายุ 1020 ปี (ในเด็กโต วัยรุ่น และคนวัยหนุ่มสาว) และพบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเล็กน้อย ซึ่งโรคมะเรง็กระดูกนี้จะพบได้ เพียงประมาณ 6% ของโรคมะเร็งในเด็กทั้งหมด ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยใหม่เป็นโรคนี้เพียงประมาณปีละ 650-700 ราย ทั้งนี้พบได้มากกว่าในเด็กหญิงประมาณ 23 เท่า ส่วนในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2544-2546 พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ ในเพศชาย 1.1 รายต่อประชากรชาย 100,000 คนต่อปี และพบในเพศหญิง 0.8 รายต่อประชากรหญิง 100,000 คน ต่อปี วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท าโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคมะเร็งกระดูก 2.เพื่อศึกษา อาการโรคมะเร็งกระดูก 3.เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ถึงอันตรายและสาเหตุของมะเร็งกระดูก 4.เพื่อให้ทุกคนรู้จักป้องกัน และรับมือ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) ทราบถึงสาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก รู้จักโทษของมะเร็งกระดูก อาการของมะเร็งกระดูก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ทาการศึกษา เรื่องมะเร็งกระดูก และผลกระทบที่ได้รับ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ชนิดของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่ต้นเหตุเกิดใน กระดูก) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ค่อนข้าง น้อย และชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่เกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งจากที่อื่น) ซึ่ง เป็นชนิดที่พบได้เป็นส่วนใหญ่ โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (Primary bone cancer) คือ โรคมะเร็งที่เกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อกระดูก เอง โดย มักจะเกิดในอวัยวะพวกรยางค์แขนขา ซึ่งตาแหน่งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นใกล้กับข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อไหล่ เป็นต้น โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้เป็นกลุ่มมะเร็งที่พบได้ค่อนข้างน้อย (จากสถิติของสถาบันมะเร็ง แห่งชาติพบ อุบัติการณ์ของโรคประมาณ 0.8 รายต่อประชากร 100,000 คน) พบเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบในวัย เด็ก ค่อนข้างมาก ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมินี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่พบได้บ่อย ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ ชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูก” เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด มัก พบในเด็ก และวัยหนุ่มสาว โดยเฉพาะในช่วงอายุประมาณ 10-20 ปี ชนิดคอนโดรซาร์โคมา (Chondrosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูกอ่อน” เป็นชนิดที่พบได้ในคนอายุ มากกว่า 50 ปี ชนิดอีวิง (Ewing’s sarcoma) เป็นชนิดที่พบได้มากในเด็กและคนอายุน้อยกว่า 30 ปี ส่วนชนิดอื่น ๆ ที่พบได้น้อย คือ ชนิดคอร์โดมา (Chordoma) ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่มักเกิดบริเวณกระดูกสันหลัง ส่วนล่าง นอกจากนี้ยังมีชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) และชนิดไฟโบรซาร์โคมา (Fibrosarcoma) ซึ่งเป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่ออ่อนที่เกิดขึ้นในกระดูกซึ่งพบได้น้อย มาก โดยชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) ส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ใหญ่ บริเวณที่พบบ่อยคือ แขนและ ขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเข่า ส่วนชนิดไฟโบรซาร์โค มา (Fibrosarcoma) จะพบได้บ่อยในผู้ใหญ่วัยกลางคนและมัก พบที่ต้นขา โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (Secondary bone cancer) หรือเรียกว่า “โรคมะเร็งแพร่กระจายเข้าสู่ กระดูก” คือ โรคมะเร็งกระดูกที่เกิดจากโรคมะเร็งอื่น ๆ ที่แพร่กระจายมาที่กระดูก ซึ่งประมาณ 30-40% ของมะเร็ง ที่กระจายมา จะพบที่แขนขา และประมาณ 50-60% จะกระจายมาตรงส่วนกลางของร่างกาย เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน เป็นต้น (เซลล์มะเร็งจะแพร่กระจายทางเลือดไปยังระบบน้าเหลืองและ ไปยังอวัยวะ ต่าง ๆ ซึ่งตาแหน่งที่พบการแพร่กระจายได้บ่อย คือ กระดูก ตับ และปอด) โรคมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่ กระดูกมีได้เกือบทุกชนิดและมักจะกระจายมาที่กระดูกในช่วงระยะท้าย ๆ ของโรค แต่ จะมีโรคมะเร็งเพียง 5 ชนิดที่ กระจายมาที่กระดูกตั้งแต่ในระยะแรกของโรค ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็ง ต่อมลูกหมาก มะเร็งต่อม
  • 4. 4 ไทรอยด์ และมะเร็งไต โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมินี้จึงเป็นกลุ่มที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็งที่เป็นอยู่ จากสถิติของ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ 30,000 คนต่อปี และมะเร็งได้แพร่กระจายไปที่ กระดูกประมาณ 20% ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะท้าย ๆ ของโรค โรคมะเร็งกระดูกเกิดได้กับกระดูกส่วน ใดบ้าง โรคมะเร็งกระดูกสามารถพบเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย แต่โดยส่วนใหญ่มักเกิดกับกระดูกเพียงชิ้น เดียว แต่ สามารถแพร่กระจายทางกระแสเลือดไปสู่กระดูกชิ้นอื่น ๆ ได้ในลักษณะเดียวกับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้ โอกาสเกิด ในด้านซ้ายและด้านขวามีใกล้เคียงกัน โดยโรคมะเร็งกระดูกแต่ละชนิดก็พบเกิดได้แตกต่างกันไป เช่น โรคมะเร็งออสตี โอซาร์โคมา (Osteosarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขน โดยเฉพาะบริเวณใกล้ ๆ กับข้อ กระดูก โดยจะพบ เกิดกับ กระดูกต้นขาประมาณ 50% กระดูกขาส่วนล่างประมาณ 30% กระดูกต้นแขนประมาณ 10% กระดูกลาตัว (สะโพกหรือกระดูกซี่โครง) ประมาณ 5% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วน อื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 2% โรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขนได้มากกว่า กระดูกส่วนอื่น ๆ เช่นกัน แต่มักเกิด ตรงกลางของท่อนกระดูก นอกจากนั้นจะพบเกิดกับกระดูกของลาตัวได้สูง โดย จะพบเกิดกับ กระดูกลาตัวประมาณ 50% กระดูกต้นขาและกระดูกขาประมาณ 30% กระดูกต้นแขนและกระดูกแขน ประมาณ 15% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 5-10% สาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูก ชนิดปฐมภูมิ คือ ความผิดปกติ ทางพันธุกรรม เพราะพบโรคนี้ได้สูงขึ้นในผู้ที่มีพันธุกรรมผิดปกติบางชนิด การเป็น โรคมะเร็งบางชนิดมาก่อน เช่น โรคมะเร็งจอตาในเด็ก (Retinoblastoma) ซึ่งเด็กที่เป็นโรคมะเร็งชนิดนี้จะมี โอกาส เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ได้สูงกว่าคนทั่วไป (ส่วนผู้ที่มีประวัติคนใน ครอบครัว เป็นโรคมะเร็งจอตาในเด็กมาก่อนก็มีความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งชนิดนี้ด้วยเช่นกัน) เชื้อชาติ เพราะพบโรคนี้ได้สูงในคน ผิวขาวและผิวดามากกว่าคนเอเชียประมาณ 2 เท่า เกิดจากการรักษาในปัจจุบัน เช่น การให้ยาเคมีบาบัด การให้รังสี รักษา ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดโรคมะเร็งได้ง่าย โดยเฉพาะโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) เช่น ในผู้ที่มีประวัติที่กระดูกเคยได้รับรังสีบาง ชนิดในปริมาณสูงในวัยเด็กจากการฉายรังสีรักษา มะเร็งชนิดอื่น ๆ เนื้องอกชนิดไม่ลุกลามหรือโรคของกระดูกอื่น ๆ เช่น Paget’s disease และ Fibrousdysplasia จะ เพิ่มความเสี่ยงใน การเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) การกระตุ้นโดยสิ่งแวดล้อม เช่น สารเคมี ยาฆ่าแมลง สารรังสี เป็นต้น ซึ่งคนที่ทางานที่อยู่กับสารเคมีหรือทางานใน โรงงานที่เกี่ยวข้องกับรังสีหรือทาง การแพทย์ จะทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งได้ การเปลี่ยนแปลงทางโลกาภิวัตน์ อาจทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกได้สูงขึ้น เพราะในปัจจุบันเราพบผู้ป่วยที่เป็น โรคนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิด และในอนาคตข้างหน้าอาจจะมีการเพิ่มของโรคมากขึ้น กว่าเดิม ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ ฯลฯ ก็จัดเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งกระดูก ด้วย เช่นกัน ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิก็คือ ปัจจัยเสี่ยงใด ๆ ก็ตามที่ก่อให้เกิด โรคมะเร็ง เช่น การ สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การขาดการออกก าลังกาย ภาวะดื่ม เป็นต้น (ปัจจัยข้างต้นนี้มีส่วนในการก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้สูงถึง 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็ง ในขณะที่ปัจจัย ทางพันธุกรรมมีผล เพียง 5-10%) ซึ่งโรคมะเร็งแต่ละชนิดก็มีปัจจัยเสี่ยงที่จาเพาะแตกต่างกันไป เช่น การสูบบุหรี่ทา ให้เกิดมะเร็งปอด เป็นต้น ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่กระดูกได้นั้นยังไม่ทราบสาเหตุที่
  • 5. 5 แน่ชัด แต่พบว่า ผู้ป่วย 2 รายที่เป็นมะเร็งชนิดเดียวกัน ผู้ป่วยรายที่มีเนื้องอกมะเร็งที่ใหญ่กว่าและมีการแพร่กระจาย ไปยังต่อม น้าเหลืองจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปที่กระดูกได้มากกว่า และสาหรับโรคมะเร็งบางชนิดและ โรคมะเร็งที่มี ระดับความรุนแรงสูงจะมีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปยังกระดูกได้มากกว่า สาเหตุที่ทาให้โรคมะเร็งบางชนิดมีการแพร่กระจายมาที่กระดูก เนื่องจากเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดจะมี ความสามารถใน การเกาะยึดกับเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน มะเร็งที่มักเกิดการแพร่กระจายมาที่กระดูกจะมีความสามารถ ในการจับกับเซลล์ กระดูกได้ดี นอกจากนี้เซลล์กระดูกยังมีการสร้างสารทาให้มะเร็งเจริญได้ดีอีกด้วย อาการของ โรคมะเร็งกระดูก อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการปวดและบวม ซึ่งการปวดอาจ เป็น ๆ หาย ๆ ใน ระยะแรก (ส่วนใหญ่จะปวดในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน) และจะค่อย ๆ ปวดมากขึ้นและปวด ตลอดเวลาใน ระยะเวลาต่อมา (อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายหรือต้องใช้แขนหรือขา) เมื่อก้อนมะเร็งโตขึ้นผู้ป่วยจะคลาได้ก้อนแข็งหรือปุ่มยื่นออกมาจากกระดูกตรงกระดูกส่วนที่เป็นโรค ซึ่งส่วนใหญ่จะ พบที่กระดูกขา (บริเวณรอบ ๆ เข่า) และกระดูกแขน มีส่วนน้อยที่พบที่บริเวณอื่น ๆ ถ้าเกิดใกล้บริเวณข้อจะส่งผลให้ เกิดอาการข้อบวม เจ็บ เกิดการติดขัดของการใช้ข้อหรือข้อยึดติด ส่วนกระดูกแตกหรือหักจะพบได้ในระยะท้าย ๆ ของโรค (กระดูกหักเป็นผลสืบเนื่องมาจากโรค ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งกระดูก) ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจมาพบ แพทย์ด้วยอาการกระดูกแตกหักจากการกระทบกระแทกเล็กน้อยหรือเดินแล้วหัก และเข้าใจผิดคิดว่าเป็นกระดูก แตกหักจากอุบัติเหตุทั่วไปได้ นอกจากนี้ยังอาจพบอาการอื่น ๆ เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ซีด น้าหนักตัวลดลง เป็นต้น เมื่อโรคลุกลาม อาจ ส่งผลให้ก้อนเนื้อแตกเป็นแผลเลือดออกเรื้อรัง หรือโรคแพร่กระจายไปที่ปอดทาให้มีอาการหอบ เหนื่อย หรือ แพร่กระจายเข้าไขกระดูกก่อให้เกิดภาวะซีดและอ่อนเพลีย บางครั้งอาจมีไข้ต่า ๆ เมื่อโรคลุกลาม ส่วนอีก อาการที่ อาจพบได้ คือ คลาพบต่อมน้าเหลืองข้อพับที่ใกล้กับกระดูกที่เกิดโรคโต แต่ไม่เจ็บ เช่น ต่อมน้าเหลืองที่ขา หนีบโตเมื่อ โรคเกิดกับกระดูกต้นขา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกบางรายอาจมีรอยโรคเกิดขึ้นแต่ไม่มีอาการก็ได้ และแพทย์มักตรวจพบจากการที่ ผู้ป่วยมาตรวจสุขภาพประจาปี หรือเกิดอุบัติเหตุ เล่นกีฬา และมาตรวจเอกซเรย์ แล้วพบ ซึ่งปัจจุบันมักจะพบลักษณะ นี้มากขึ้น อาการมะเร็งกระดูก อาการของมะเร็งกระดูก อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ เมื่อมะเร็งแพร่กระจายมาที่กระดูกจะทาให้กระดูกอ่อน ลงและหักง่าย ทั้งนี้เป็น เพราะเซลล์มะเร็งจะสร้างสารท าลายกระดูก เมื่อกระดูกสลายก็จะทาให้แคลเซียมเข้าสู่ กระแสเลือดและก่อให้เกิด ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงตามมา ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยหมดสติหรือชักได้ นอกจากนี้ในบาง กรณียังพบว่า เซลล์มะเร็ง สามารถทาให้กระดูกหนาขึ้นผิดปกติ (Osteoblastic) ซึ่งพบได้น้อยกว่าแบบที่สลายกระดูก ( Osteolytic ) อย่างไรก็ ตาม ทั้งสองแบบก็สามารถทาให้เกิดอาการปวดกระดูกได้ทั้งคู่ สาหรับอาการและอาการ แสดงของมะเร็งกระดูกชนิด ทุติยภูมิ คือ ปวดกระดูก ส่วนมากจะพบเป็นอาการแรก การปวดช่วงแรก ๆ มักจะเป็น ๆ หาย ๆ ปวดมากในตอนกลางคืน ถ้ามี การเคลื่อนไหวจะดีขึ้น หลังจากนั้นอาการปวดจะเป็นบ่อยขึ้นและอาจแย่ลงถ้า มีการเคลื่อนไหวร่างกาย กระดูกหัก ซึ่งมักเกิดจากการหกล้ม ยกของ อุบัติเหตุ หรือแม้กระทั่งในขณะที่กาลังทา กิจวัตรประจาวันตามปกติ โดย ตาแหน่งที่พบได้บ่อย ๆ คือ กระดูกขา กระดูกแขน และกระดูกสันหลัง เมื่อกระดูกหัก ผู้ป่วยจะมีอาการปวดอย่าง รุนแรงขึ้นมาอย่างกะทันหันและไม่สามารถเคลื่อนไหวส่วนที่หักได้ การกดทับไขสันหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการชา อ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือมีปัญหาเรื่องการปัสสาวะ ภาวะแคลเซียมในเลือด สูง ผู้ป่วยจะมีอาการท้องผูก คลื่นไส้ เบื่ออาหาร กระหายน้า ปัสสาวะบ่อย ร่างกายขาดน้า สับสน ง่วงซึม หมดสติ
  • 6. 6 เห็นก้อนไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นข้อแตกต่างกับมะเร็งชั้นดิปฐมภูมิที่จะเด่นเรื่องก้อน ส่วนมะเร็งชนิดนี้จะไม่เด่นเรื่องก้อน แต่ จะมีภาวการณ์เป็นอัมพาตหรือการอ่อนแรงเกิดขึ้นได้ ระยะของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมิแบ่ง ออกเป็น 4 ระยะเช่นเดียวกับโรคมะเร็งอื่น ๆ และบางระยะยังแบ่งย่อยได้อีก แต่ที่ แตกต่างจากโรคมะเร็งชนิดอื่น คือ ระยะของโรคจะขึ้นอยู่กับการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ เซลล์มะเร็งแบ่งตัวสูง และ เซลล์มะเร็งแบ่งตัวต่ า ซึ่งทั้ง 4 ระยะของโรค คือ ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่จุดเดียวในกระดูกและเป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวต่า ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็ง ลุกลามจุดเดียวในกระดูก แต่เป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวสูง ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งลุกลามหลายจุดในกระดูก หรือ ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงกระดูก ระยะที่ 4 โรคมะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้าเหลือง หรือแพร่กระจายเข้าสู่ กระแสเลือด ซึ่งมักแพร่กระจายไปสู่กระดูก ชนิดอื่น ๆ ปอด และไขกระดูก การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคมะเร็งกระดูก การดูแลตนเองจะเหมือนกับโรคมะเร็งอื่น ๆ ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไปในเรื่อง การ ดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคมะเร็ง, การ ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง, การดูแลตนเองและการดูแลผู้ป่วยเคมีบาบัด ผลการรักษาโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกเป็นโรคที่มีความรุนแรง ผลการรักษาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระยะของโรค, ชนิดของ เซลล์มะเร็ง (เช่น ชนิดอีวิงจะมีอัตรารอดชีวิตที่ 5 ปี ต่ากว่าชนิดอื่น), ขนาดของก้อนมะเร็ง (ยิ่งก้อนโตความรุนแรง ของโรคยิ่งสูงขึ้น), การตอบสนองของโรคต่อยาเคมีบาบัด, การผ่าตัด (ถ้าผ่าตัดไม่ได้ เพราะ ตาแหน่งของโรคหรือผู้ป่วย มีสุขภาพไม่ดี ความรุนแรงของโรคก็จะสูงขึ้น) รวมถึงอายุและสุขภาพของผู้ป่วย โดย ในโรคมะเร็งออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 75-80% ระยะที่ 2 ประมาณ 60-75% ระยะที่ 3 ประมาณ 30-50% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-10% ในโรคมะเร็ง อีวิง (Ewing’s sarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 70% ระยะที่ 2 ประมาณ 60-70% ระยะที่ 3 ประมาณ 20-40% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-5% ผลข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งกระดูก ผลข้างเคียงจากการรักษาจะขึ้นอยู่กับวิธีรักษา ผลข้างเคียงจะสูงขึ้นเมื่อ ใช้วิธีรักษาหลายวิธีร่วมกัน ในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค ไขมันในเลือดสูง และโรคที่ก่อให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เช่น โรคภูมิต้านตนเอง หรือ Autoimmune disease) การผ่าตัด เช่น การเสียเลือด การสูญเสียเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ แผลผ่าตัดติดเชื้อ และเสี่ยงต่อการดมยาสลบ ยาเคมีบาบัด คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ผมร่วง ภาวะเลือดออกง่ายจากการมีเกล็ด เลือดต่า ภาวะซีด และเพิ่มโอกาสการติดเชื้อจากภาวะเม็ดเลือดขาวต่า แต่ผลข้างเคียงเหล่านี้จะหมดไปเมื่อการรักษา สิ้นสุด รังสีรักษา คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ผลข้างเคียงต่อผิวหนัง และเพิ่มโอกาสทาให้กระดูกหักในส่วนที่ได้รับรังสี ยา รักษาตรงเป้า ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ คือ การเกิดสิวขึ้นทั่วตัวรวมทั้งใบหน้า และยาบางชนิดอาจก่อให้เกิดภาวะ เลือดออกได้ง่าย เมื่อเกิดบาดแผลจะทาให้แผลติดยาก และอาจเป็นสาเหตุทาให้ผนังลาไส้ทะลุได้ วิธีป้องกันโรคมะเร็ง กระดูก เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีวิธีในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิตั้งแต่ยังไม่มีอาการได้ อีกทั้ง ปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มักเป็นปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น จึงยังไม่มีวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็งกระดูก ได้ แต่ที่ พอทาได้ก็คือ การสังเกตตนเอง เมื่อพบว่ามีอาการผิดปกติดังกล่าวเกิดขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจ วินิจฉัยและ รับการรักษาโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ปกครองเองก็ควรเอาใจใส่และคอยสังเกตดูบุตรหลานอยู่เสมอ (เพราะโรคมะเร็ง กระดูกปฐมภูมิมักเกิดกับคนในช่วงอายุ 10-20 ปี) ถ้าพบว่าบุตรหลานไม่สบายมีอาการเจ็บที่แขนขา
  • 7. 7 ควรรีบไปพบ แพทย์ อย่ารอให้เป็นมากแล้วจึงค่อยพาไป และการไปพบแพทย์ควรไปพบแพทย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านนี้ โดยตรง เนื่องจากผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกจาเป็นต้องได้รับการติดตามในระยะยาว ส่วนการป้องกันโรคมะเร็งชนิดทุติย ภูมิ คือ การตรวจพบมะเร็งตั้งแต่เริ่มต้นก่อนที่จะแพร่กระจายและรักษาด้วยการ ผ่าตัด ยาเคมีบาบัด หรือรังสีรักษา ซึ่งในปัจจุบันแพทย์แนะนาให้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ และมะเร็ง ปากมดลูก แต่หากผู้ป่วยมีอาการ ดังต่อไปนี้ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ได้แก่ ปวดหลัง (อาจมีอาการปวดหลังร้าวลง ขา), ชาที่ขาหรือช่วงท้อง, ขาอ่อน แรงหรือมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว หรือไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ หรือมีปัญหา เรื่องการปัสสาวะ ซึ่งอาการเหล่านี้ จัดเป็นภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูก หากไม่ได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงทีอาจทาให้ เกิดอัมพาตได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้รับความรู้ใหม่ๆเรื่องโรคมะเร็งกระดูก สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0 %B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/ http://www.moderncancerthai.com/cancer-topics/bone-cancer/ http://med.mahidol.ac.th/cancer_center/th/knowledge/bone_cancer