SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงานโลกใต้ทะเลลึก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่38 ชั้น ม.6 ห้อง5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที38
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โลกใต้ทะเลลึก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Deep sea
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศรุตา สัพโส
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เป็นชั้นของระดับน้าที่มีความลึกตั้งแต่200เมตรลงไปซึ่งนับเป็น 70% ของน้าในมหาสมุทรทั่วโลกเป็นที่ๆมีแสง
น้อยจนถึงไม่มีแสงเลยสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรีย์หรือซากศพจากทะเลด้านบนด้วยเหตุนี้ทาให้
นักวิทยาศาสตร์เคยสันนิษฐานว่าจะชีวิตจานวนน้อยมากในมหาสมุทรลึก แต่จากการตรวจสอบนั้นได้เปิดเผยว่า
มันเป็นอะไรตรงกันข้ามกับการสันนิฐานนั้นเพราะมันมีสิ่งมีชีวิตมากมายในทะเลลึกลึกนอกจากนี้ยังสามารถเห็น
การพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ในการดารงชีวิตอยู่อีกทั้งยังมีห่วงโซ่อาหารและ
ขยะหรือจากซากสัตว์ แบคทีเรียต่างๆตั้งแต่อดีตจนถึงประมาณปลายศตวรรษที่19 มนุษย์เชื่อว่าใต้ทะเลลึกนั้นไม่
มีสิ่งมีชีวิตอยู่ จนกระทั้งช่วงปีค.ศ.1872-1876เรือขุดเจาะและเรือลากได้นาสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกมากมายขึ้มมาให้
ได้เห็นกันแต่ถึงอย่างนั้นนักวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่20ก็ยังคิดว่าสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกนั้นเป็นเรื่องเหลวไหลและ
งมงาย เพราะทะเลลึกเป็นสถานที่ๆมืดมิดแรงกดดันของน้ามหาศาลและมีอุณหภูมิหนาวเย็นจึงทาให้พวกเขาคิด
เช่นนั้น แต่สิ่งที่เป็นจริงนั้นกับตรงกันข้ามเพราะแหล่งที่อยู่อาศัยของสายพันธุ์ทะเลส่วนมากในมหาสมุทรอยู่ที่
ระดับความลึกที่ต่ากว่า200เมตรลงไปขณะนี้มีเพียงประมาณ 1% ของท้องทะเลลึกทั้งหมดทีมนุษย์เคยสารวจ
โดยเมื่อเทียบกับการศึกษาจักรวาลแล้วเรายังรู้จักจักรวาลและดวงจันทร์ดีกว่าทะเลลึกเสียอีกผู้จัดทาจึงมีความ
สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกใต้ท้องทะเล
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาโลกใต้ทะเลลึก
2. เพื่อศึกษาสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเลลึก
3. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกใต้ทะเลลึก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ลักษณะทั่วไปในใต้ทะเลลึกลักษณะสิ่งมีชีวิตในใต้ทะเลลึก
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทะเลลึก(อังกฤษ: Deep sea) เป็นชั้นของระดับน้าที่มีความลึกตั้งแต่200เมตรลงไปซึ่งนับเป็น 70% ของน้า
ในมหาสมุทรทั่วโลกเป็นที่ๆมีแสงน้อยจนถึงไม่มีแสงเลยสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรีย์หรือซากศพจาก
ทะเลด้านบนด้วยเหตุนี้ทาให้นักวิทยาศาสตร์เคยสันนิษฐานว่าจะชีวิตจานวนน้อยมากในมหาสมุทรลึก แต่จาก
การตรวจสอบนั้นได้เปิดเผยว่ามันเป็นอะไรตรงกันข้ามกับการสันนิฐานนั้นเพราะมันมีสิ่งมีชีวิตมากมายในทะเลลึก
ลึกนอกจากนี้ยังสามารถเห็นการพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ในการดารงชีวิตอยู่อีก
ทั้งยังมีห่วงโซ่อาหารและขยะหรือจากซากสัตว์ แบคทีเรียต่างๆ
ตั้งแต่อดีตจนถึงประมาณปลายศตวรรษที่19 มนุษย์เชื่อว่าใต้ทะเลลึกนั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่ จนกระทั้งช่วงปีค.ศ.
1872-1876เรือขุดเจาะและเรือลากได้นาสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกมากมายขึ้มมาให้ได้เห็นกันแต่ถึงอย่างนั้น
นักวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่20ก็ยังคิดว่าสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกนั้นเป็นเรื่องเหลวไหลและงมงาย เพราะทะเลลึกเป็น
สถานที่ๆมืดมิดแรงกดดันของน้ามหาศาลและมีอุณหภูมิหนาวเย็นจึงทาให้พวกเขาคิดเช่นนั้น แต่สิ่งที่เป็นจริงนั้น
กับตรงกันข้ามเพราะแหล่งที่อยู่อาศัยของสายพันธุ์ทะเลส่วนมากในมหาสมุทรอยู่ที่ระดับความลึกที่ต่ากว่า200
เมตรลงไป
ในปี1960(พ.ศ.2503)ยานสารวจน้าลึกตรีเอสเตได้ลงไปสารวจที่ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาทางใต้ของหมู่เกาะมา
เรียนาใกล้กับเกาะกวมในระดับความลึก 10,911 เมตร (35,797 ฟุต 6.780 ไมล์)ซึ่งลึกที่สุดในโลกซึ่งถ้านามาวัด
กับยอดเขาเอเวอเรสต์ยอดของมันจะจมอยู่ใต้น้าถึง1ไมล์ และเมือยานสารวจน้าลึกตรีเอสเตถึงความลึก 10,911
เมตรมันได้ปล่อยยานสารวจน้าลึกไคโกะเพื่อทาการสารวจเพิ่มเติมและเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และในเดือน
พฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ.2552 ก็ได้นายานสารวจน้าลึกนีรีอัสกลับไปสารวจที่แชลเลนเจอร์ดีปอีกครั้งเพื่อทา
การดาน้าสามครั้งให้มีระดับความลึกมากกว่า10,900เมตร
ขณะนี้มีเพียงประมาณ 1% ของท้องทะเลลึกทั้งหมดทีมนุษย์เคยสารวจ โดยเมื่อเทียบกับการศึกษาจักรวาลแล้ว
เรายังรู้จักจักรวาลและดวงจันทร์ดีกว่าทะเลลึกเสียอีกเนื่องจากไม่มีใครรู้เรื่องของอายุขัยบนพื้นมหาสมุทรลึกหรือ
การค้นพบโคโลนีที่เจริญเติบโตของกุ้งและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ รอบ ๆปล่องแบบน้าร้อนในช่วงปลายทศวรรษ1970 ซึ่ง
ก่อนที่จะมีการค้นพบปล่องแบบน้าร้อนนั้นนักวิทยาศาสตร์ได้มีการยอมรับว่าทุกสิ่งมีชีวิตบนโลกได้รับพลังงาน
ที่มาจากดวงอาทิตย์ ซึ่งจาการค้นพบปล่องแบบน้าร้อนนี้ทาให้พบว่าสิ่งมีชีวิตทะเลลึกได้รับสารอาหารและ
พลังงานโดยตรงจากแหล่งความร้อนและปฏิกิริยาทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของแร่ ซึ่งสิ่งมีชีวิต
เหล่านี้เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีแสงและใช้ออกซิเจนในน้าเกลือที่มีอุณหภูมิ 300 ° F (150 ° C)
และพวกมันยังได้รับการยังชีพของพวกมันโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ซึ่งเป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก
4
การค้นพบสิ่งมีชีวิตที่ทรหดและอยู่ในสถานที่ๆเลวร้ายเหล่านี้ทาให้นักวิทยาศาสตร์ต้องเปลี่ยนความคิดของพวก
เขาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการกาเนิดสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในที่อื่นๆของจักรวาลทาให้กวิ
ทยาศาสตร์คาดการณ์ว่ายูโรปา (ดาวบริวาร)ซึ่งเป็นดวงจันทร์ดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดีอาจจะสามารถรองรับ
ชีวิตใต้พื้นผิวน้าแข็งได้โดยอาจมีสภาพเหมือนกันกับใต้ทะเลลึกของโลก
ระดับชั้นทะเลลึก
ทะเลจะแบ่งเป็น4ชั้นคือ
1.เขตที่แสงส่องถึง(ความลึก0-200เมตร)
2.เขตที่มีแสงเข้ม(200-1,000เมตร)
3.เขตแสงสลัว(1,000-4,000เมตร)
4.เขตที่แสงส่องไม่ถึง(4,000-6,000เมตร)หรือมากกว่าโดยเขตที่มีแสงเข้ม(200-1,000เมตร),เขตแสง
สลัว(1,000-4,000เมตร)และเขตที่แสงส่องไม่ถึง(4,000-6,000เมตร)นั้นจะถือว่าเป็นทะเลลึก
ลักษณะสิ่งแวดล้อม
ทะเลลึกคือเขตของน้าทะเลที่แสงไม่สามารถส่องถึงได้และจะมีสิ่งมีชีวิตและปลาทะเลลึกที่ปรับตัวแล้วเท่านั้นที่จะ
สามารถอาศัยอยู่ได้
ในทะเลลึกหิมะทะเลเป็นสิ่งสาคัญมากเพราะมันเป็นแหล่งอาหารอย่างหนึ่งของสิ่งมีชีวิตในทะเลลึก ซึ่งหิมะทะเล
จะมาจากทะเลด้านบน โดยหิมะทะเลนั้นจะมาจากแพลงก์ตอนที่ตายแล้ว,ไดอะตอม, อุจจาระ, ทราย, เขม่าและ
ฝุ่นอนินทรีอื่น ๆเกล็ดของหิมะทะเลอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางหลายเซนติเมตรและมันใช้เวลาหลายสัปดาห์กว่าจะ
ตกลงถึงก้นสมุทรอย่างไรก็ตามส่วนประกอบอินทรีย์ส่วนใหญ่ของหิมะทะเลจะถูกกินโดยจุลินทรีย์แพลงค์ตอนและ
สัตว์อื่นๆ ด้วยเหตุนี้หิมะทะเลจึงได้รับการพิจารณาว่าเป็นรากฐานของระบบนิเวศในทะเลและสัตว์หน้าดินที่
อาศัยอยู่ในทะเลลึกเนื่องจากแสงแดดที่ไม่สามารถเข้าถึงได้สิ่งมีชีวิตในทะเลลึกส่วยใหญ่จึงอาศัยน้าหิมะเป็น
แหล่งพลังงาน
ความดันไฮโดรสแตติกจะเพิ่มขึ้น 1 บรรยากาศทุกๆ 10 เมตรซึ่งสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกนั้นมีการปรับตัวให้ความ
กดดันภายในร่างกายเหมือนกันกับสภาพภายนอกดังนั้นพวกมันจึงไม่ถูกบดขยี้ด้วยแรงกดดันอันมหาสารของ
ทะเลลึก ความดันภายในที่สูงทาให้มีการไหลของเยื่อลดลงเนื่องจากโมเลกุลถูกบีบเข้าด้วยกันและการการที่จะ
เพิ่มประสิทธิภาพทางชีวภาพให้อาศัยอยู่ในทะเลลึกได้ดีและสาคัญที่สุดคือการผลิตโปรตีนเพื่อให้สิ่งมีชีวิตได้
ปรับตัวเข้ากับสถานที่ที่มีแรงดันอันมหาศาลนี้โดยการเพิ่มสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวในไขมันของเยื่อหุ้มเซลล์
และนอกเหลือจากการปรับตัวเรืองความดันแล้วยังมีก่รพัฒนาปฏิกิริยาการเผาผลาญของพวกมันอีกด้วย
เนื่องจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีจะมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรซึ่งถ้าผลของปฏิกิริยาส่งผลให้ปริมาณ
เพิ่มขึ้นก็จะถูกยับยั้งด้วยแรงกดดันที่มีความสัมพันธุ์กัน ซึ่งหมายความว่ากระบวนการเผาผลาญอาหารของพวก
มักก็ต้องลดปริมาณของสิ่งมีชีวิตลงด้วยในระดับหนึ่ง
อุณหภูมิ
กราฟแสดงการเปลียนแปลงอุณหภูมิ
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอย่างฉับพลันนั้นส่วนมากมีอยู่สองพื้นที่ส่วนใหญ่ซึ่งก็คือ
5
1.การเปลี่ยนแปลงระหว่างน้าผิวดินกับน้าในทะเลลึกซึ่งการเปลียนแปลนี้จะขึ้นอยู่กับระดับความลึกโดยทะเลเขต
ที่มีแสงส่องถึงอุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 20องศาเซลเซียส พอลึงลงไป100เมตร อุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 5-6
องศาเซลเซียส และค่อนลดลงไปพอึง 3000-4000เมตรอุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 0-3 องศาเซลเซียส ซึ่งน้าเย็น
เหล่านี้เกิดจากพวกมันไม่โดยแสงแดดและการจมของมวลน้าเย็นที่ละลายมาจากขั้วโลกทั้ง2ขั้ว
2.การเปลี่ยนแปลงระหว่างน้ามหาสมุทรกับน้าร้อนของปล่องไฮโดรเทอร์มอล โดยอุณหภูมิของน้าบริเวณปล่อง
แบบน้าร้อนจะอยู่ที่ประมาณ 400องศาเซลเซียส แต่น้าที่อยู่ห่างจากบริเวณปล่องไฮโดรเทอร์มอลประมาณ2-3
เมตรจะมีอุณหภูมิอยู่ที่ประมาณ 2-4องศาเซลเซียสเท่านั้น
แสง
แสงจากดวงอาทิตย์จะไม่สมารถทะลุผ่านมหาสมุทรลึกได้ยกเว้นเขตที่แสงส่องถึงจึงทาให้ไม่มีการสังเคราะห์แสง
ดังนั้นพืชจึงไม่สามารถอาศัยอยู่ในเขตนี้ได้ เนื่องจากพืชเป็นผู้ผลิตหลักของระบบนิเวศของโลกจึงทาให้เกือบ
ทั้งหมดของชีวิตในทะเลลึกนี้ต้องขึ้นอยู่กับแหล่งพลังงานจากที่อื่น ยกเว้นบริเวณที่ใกล้กับปล่องแบบน้าร้อน โดย
จะพึงพลังงานจากวัสดุอินทรีย์หรือซากสัตว์ล่องลอยตกลงมาจากทะเลด้านบนซึ่งวัสดุอินทรีย์ที่ฝังอยู่
ประกอบด้วยอนุภาคของสาหร่ายเศษซากและรูปแบบอื่น ๆของขยะทางชีวภาพซึ่งเรียกรวมๆกันว่าหิมะทะเลก็ได้
ความดัน
ความดันในทะเลลึกนั้นอันตรายต่อมนุษย์มากซึ่งความกดดันในทะเลจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1 บรรยากาศทุกๆ 10
เมตรยิ่งมีความลึกมากความดันก็ยิ่งมาก แต่ถึงอย่างนั้นหลายปีที่ผ่านมาการศึกษาเรื่องความดันนั้นขาดข้อมูลและ
รายละเอียดเกี่ยวกับผลกระทบของแรงกดดันต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกมากที่สุดเนื่องจากตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเมือนามา
ขึ้นฝั่งเพื่อทาการศึกษานั้นพวกมันก็จะตายก่อนที่จะได้ศึกษาเนื่องจากก๊าซที่ถูกบีบอัดภายใต้แรงดันสูงจะขยายตัว
ภายใต้แรงดันต่า ด้วยเหตุนี้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จึงถูกระเบิดหากพวกมันขึ้นสู่ผิวน้า
ความเค็ม
ความเค็มเป็นที่น่าทึ่งของทะเลลึกเหราะมันคงที่ตลอดโดยมีค่าประมาณ 35 ส่วนต่อ 1000 ซึ่งถือว่ามีความต่าง
เล็กน้อย
บริเวณด้านล่างของทะเลนั้นจะแบ่งออกเป็นโซนอื่น ๆ โดยเริ่มจากเขตที่มีแสงเข้มซึ่งมีช่วงความลึกตั้งแต่ 200
ถึง 1000 เมตรจากระดับน้าทะเลซึ่งมีแสงน้อยมากที่ทะลุผ่านลงมาในเขตนี้ได้การผลิตและสังเคราะห์แสงของพืช
ในเขตนี้จึงค่อนข้างยาก ด้านล่างของเขตนี้จะประกอบด้วยบริเวณที่คล้ายบ่อมีน้าขังอยู่ลึก ๆ และมีความอุดม
สมบูรณ์ อาหารประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่ตกค้างซึ่งเรียกว่า 'หิมะทะเล' และซากที่ตกลงมาจากเขตที่แสงส่องถึง
โครงสร้างทางกายภาพ
สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลนั้นส่วนใหญ่มีการปรับตัวที่แปลกประหลาดเช่นการเรืองแสง มีปากที่ใหญ่มีฟันที่แหลมคม
โครงสร้างที่สามารถกัดกินเหยือได้โดนไม่เกี่ยงขนาด อีกทั้งพวกมันยังมีตาที่ไวต่อแสงมีช่องมองภาพที่สามารถเห็น
เงาของเหยื่อได้ แต่เหยือก็มีการปรับตัวเช่นกันด้วยการทาให้ตัวเองรีบแบนและลดเงาด้วยการเรืองแสงและการที่
มีอวัยวะเรืองแสง(photophores)ใต้ท้องเพื่อปรับแสงให้เข้ากับด้านบนตัวปลาเพื่อให้นักล่าจากด้านล่างไม่
สามารถมองเห็นมันได้อีกด้วย
การลอยตัว
6
ปลาทะเลลึกหลายสายพันธุ์มีเนื้อเหมือนวุ้นส่วนใหญ่ประกอบด้วยไกลโคสะมิโนไกลแคนเพื่อมาแทนที่ถุงลมหรือ
การใช้ก๊าซในการลอยตัวซึ่งการมีเนื้อแบบนี้จะทาให้มีความหนาแน่นต่านอกจากนี้ยังมีการค้นพบมหึกทะเลลึกที่
ใช้เนื้อเยื่อที่มีเจลาตินเข้ากับห้องลอยในตัวตัวที่เต็มไปด้วยของเหลวที่สร้างขึ้นจากของเสียจากการเผาผลาญซึ่ง
ของเหลวนั้นคือแอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งมีน้าหนักเบากว่าน้าโดยรอบ
การเผาผลาญพลังงาน
พวกมันมีการเผาผลาญอาหารที่ช้าและอาหารที่ล่ามานั้นพวกมันจะล่าแบบไม่เลือกและพวกมันชอบที่จะรอ
อาหารเหยื่อมากกว่าไล่ล่าเพราะมันว่ายน้าได้ช้าและเพื่อไม่ให้สูญเสียพลังงานมากจนเกินไป
การผสมพันธุ์
เนื่องจากใต้ทะเลลึกนั้นหาคู่ได้ยากพวกมันจึงมีการปรับตัวให้ตัวเองสามารถเปลียนแปลงเพศได้ในกรณีที่เจอเพศ
เดี่ยวกัน
อาหาร
สิ่งมีชีวิตในทะเลลึกเกือบทั้งหมดพึ่งพาการจมน้าและสารอินทรีย์ที่ตายแล้วเป็นส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในรูปของหิมะ
ทะเลประมาณ 1-3% กับซากสัตว์97-99%เช่นซากปลาหรือวาฬเป็นต้นและนอกจากนี้ยังมีFreyellidaeที่กิน
อาหารจากอนุภาคอินทรีย์โดยใช้หนวดได้อีกด้วยอีกทั้งไวรัสทะเลยังมีบทบาทสาคัญในการขับสารอาหารใน
ตะกอนในทะเลลึก (ระหว่าง 5x1012 และ 1x1013 เฟสต่อตารางเมตร) ในตะกอนของทั่วโลก
เคมีสังเคราะห์
มีหลายสายพันธุ์ที่ไม่ได้พึ่งพาอินทรียวัตถุโดยสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะอยู่บริเวณปล่องแบบน้าร้อนยกตัวอย่างเช่น
ความสัมพันธ์ทางชีวภาพระหว่างหนอนท่อและแบคทีเรียเคมีบาบัด ซึ่งปล่องแบบน้าร้อนนี้เป็นหนึ่งในระบบนิเวศ
ที่ไม่กี่แห่งบนโลกที่ไม่ต้องอาศัยแสงแดดในการจัดหาพลังงาน
การสารวจ
ทะเลลึกเป็นสภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรกับมนุษย เป็นพื้นที่ที่ได้รับการสารวจน้อยมากบนโลกและเนื่องจาก
แรงดันทาให้เรือดาน้าบางลาไม่สามารถเข้าไปสารวจได้ ดั้งนั้นการสารวจจึงมีวิธีคือ1.ยานพาหนะดาน้าที่
ดาเนินการจากระยะไกล 2.เรือดาน้าทนแรงดันสูง
สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึก
เป็นเวลานานมากที่นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าไม่มีชีวิตที่จะสามารถอาศัยอยู่ในทะเลลึกได้ แต่ในตอนนี้การวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ให้เห็นว่ามันเป็นตรงกันข้ามเลย ท้องทะเลลึกเป็นที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในความมืด
ทั้งหลายของสิ่งมีชีวิตจานวนมากแปลกประหลาดและไม่เคยพบเจอที่ไหน ทั้งนี้สัตว์ทะเลลึกมีการปรับตัวเพื่อให้
สามารถต้านทานแรงดันน้าได้ถึง 1,000 เท่าซึ้งเยอะมากกว่าความดันของอากาศบนบก ปลาบางชนิดในทะเลน้า
ลึกมันมักจะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและปลาอื่น ๆ อีกทั้งพวกมันมีขากรรไกรขนาดใหญ่และยาวที่ยืนอยู่ด้านหลัง
ฟันโดยทุกอย่างที่แหวกว่ายอยู่จะถูกพวกมันคว้าและกลืน ปลาบางชนิดมีการขยายท้องเพื่อให้พวกมันสามารถที่
จะกินเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวเองได้ ที่ใต้ทะเลลึกนั้นสิ่งชีวิตส่วนมากเป็นดอกไม้ทะเล, เวิร์ม , ปลิงทะเล, ดาว
เปราะปู , กุ้งและอื่น ๆ
ส่วนใหญ่ของปลาที่อาศัยอยู่ที่นี่จะมีการเรืองแสงโดยพวกมันสร้างแสงของตัวเองผ่านปฏิกิริยาทางเคมีในร่างกาย
ของพวกมันบางชนิดที่อาศัยอยู่ที่นี่ ชนิดที่แตกต่างกันของทะเลดอกไม้ทะเล
7
ใต้ทะเลลึกนั้นสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตินั้นจะน้อยลงมีแรงดันน้ามหาศาลออกซิเจนน้อยสภาพน้านั้นเย็นยะ
เยือกเป็นจุดเยือกแข็งและบางส่วนมี่อุณหภูมิสูงถึง400 °C จนทาให้คิดได้ว่ายากที่จะมีสิ่งมีชีวิตอยู่ แต่กลับ
กลายเป็นว่าใต้ทะเลลึกแห่งนี้มีปลาหลากหลายสายพันธุ์ชนิดมากมายโดยมีการค้นพบน้อบมากเพียง2%จากการ
ค้นพบปลาในทะเลทั้งหมดซึ่งอาจมีสายพันธ์ที่เรายังไม่ค้นพบอีกเป็นจานวนหนึ่งโดยพวกมันนั้นมีการวิวัฒนาการ
แปลกๆเพื่อให้พวกมันปรับสภาพเพื่อที่จะสามารถดารงชวิติอยู่ในสภาพที่สุดขั้วในสถานที่แห่งนี้ได้ แหล่งอาหาร
ของพวกมันส่วยใหญ่ก็จะเป็นซากศพที่ตายแล้วตกลงมาเบื้องล่างหรือการล่า ทั้งนี้ก็มีปลาสายพันธ์ต่างๆมากมาย
เช่นปลาฉลามครุย ปลาไหลกัลเปอร์ และอื่นๆอีกมากมาย
ปลาทะเลลึก ( Deep sea fish) คือปลาที่พบได้ในทะเลที่ลึกและแสงแดดส่องไม่ถึงจากการสารวจปลาทะเลลึก
นั้นจะมีจานวนคิดเป็น2%จากสายพันธ์และสิ่งมีชีวิตในทะเลทั้งหมดโดยพวกมันจะอาศัยอยู่ในก้นสมุทรที่มืดมิด
โดยทั่วไปปลาทะเลลึกจะพบอยู่ได้ตั้งแต่ความลึก1,000-4,000เมตรหรือบางชนิดอาจอยู่ได้ลึกถึง4,000-6,000
เมตรส่วนปลาที่สามารถเรืองแสงได้ส่วนใหญ่นั้นจะพบได้ในระดับความลึกประมาณ 200-1,000เมตรส่วนระดับ
ความลึกที่มีออกซิเจนน้อยมากจะอยู่ที่ระดับ700-1,000เมตรแต่ก็ขึ้นอยู่กับสถานที่นั้นด้วยว่ามีแหล่งผลิต
ออกซิเจนหรือไม่ ซึ่งจากความลึกของสถานที่แห่งนั้นมีทั้งความมืดมิดและหนาวเย็นถึง3 องศาเซลเซียส (37.4
องศาฟาเรนไฮต์) จนถึง-1.8 องศาเซลเซียส (28.76 องศาฟาเรนไฮท) อีกทั้งยังมีแรงกดดันของน้าจานวนมหา
สารขนาดความดันระหว่าง 20 ถึง 1,000 เท่าของบรรยากาศ (ระหว่าง 2 ถึง 100 megapascals)จึงเป็น
สถานที่ๆยากต่อการสารวจ
ปลาทะเลลึกนั้นจะมีการปรับตัวให้ใช้พลังงานน้อยลง ขนาดเล็กลง มีปากและกระเพาะขนาดใหญ่ มีการเรืองแสง
เพื่อหลอกล่อเหยือซึ่งแตกต่างจากปลาผิวน้าแต่ถึงอย่างนั้น โดยโครงสร้างทางกายภาพเช่นการหายใจ ขับน้า
การหายใจยังคงเหมือนปลาทะเลแต่จะมีการวิวัฒนาการแปลกๆเพื่อให้พวกมันสามารถดารงชีวิตอยู่ได้แต่ถึงอย่าง
นั้นทะเลลึกก็ยังมี่แหล่งอาหารจากปล่องแบบน้าร้อนและซากสัตย์จากทะเลด้านบน
ลักษณะทั่วไป
ปลาทะเลลึกนั้นมีรูปร่างเหมือนสัตว์ประหลาดพบเห็นได้ยากแต่ก็มีความน่าสนใจเพราะมีนิทานหลายเรื่องที่
กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดปกติมากมายและยังไม่ได้รับการศึกษาในสมัยนั้นเนื่องจากพวกมันอยู่ในทะเลลึกที่มืดมิดซึ่ง
อาจจะโดนจาได้แค่ตอนเกยตื้นหรือกลายเป็นซากศพปลาทะเลลึกโดยทั่วไปนั้นจะพึงพาความรู้สึกมากกว่าการ
มองเห็นเนื่องจากแสงสว่างใต้ทะเลลึกนั้นมีไม่มากพอจึงไม่สามารถพึงพาการมองเห็นในการล่าเหยือหรือลีกหนี
การไล่ล่าได้โดยมันจะพึงพาการเปลียนแปลงความดันและกลิ่นแทนแต่ถึงอย่างนั้นปลาบางชนิดมีตาที่ไวต่อแสง
กว่ามนุษย์ถึง100เท่า นอกจากนี้มันยังมีสีที่เข้มเพื่อหลีกหนีการล่าของวาฬและนักล่าอื่นๆอีกด้วยปลาทะเลลึก
หลายชนิดเป็นสารเรืองแสงที่มีดวงตาที่ใหญ่มากเหมาะกับความมืด ปลาที่เรืองแสงมีความสามารถในการผลิต
แสงทางชีวภาพผ่านการกระเจิงของโมเลกุลของลูซิเพอลีน (luciferin) ซึ่งทาให้เกิดแสง โดยกระบวนการนี้ต้อง
ใช่ออกซิเจนด้วย ปลาเรืองแสงมากกว่า 50%พวกนี้ส่วนมากอยู่ตรงบริเวณไหล่ทวีปที่ระดับความลึกประมาณ
200เมตรและ 80%ของกุ้งและปลาหมึกก็มีความสามารถในการเรืองแสงด้วยเช่นกัน โดยตรงที่เรืองแสงได้
เรียกว่าอัวยวะเรืองแสง (photophores) ซึ่งผลิดมาจากเซลล์ที่มีแบคทีเรียโดยอวัยวัเรืองแสงเหล่านี้มีเซลล์ที่
คล้ายกับเลนส์ที่เหมือนกับที่อยู่ในดวงตาของมนุษย์เพื่อใช้ในการทาให้แสงกระจ่ายตัวอีกด้วย การเรืองแสงเหล่านี้
ใช้พลังงานเพียง1%ของพลังงานทั้งหมดแต่มีจุดประสงค์มากมายเช่นใช้ค้นหาอาหาร,สื่อสาร,หาคู่ผสมพันธุ์และ
8
ดึงดูดเหยื่อเช่นปลาตกเบ็ดนอกจากนี้พวกมันยังลวงตานักล่าด้วยการปรับแสงให้ตรงกับความเข้มข้มของแสงจาก
ด้านบนได้อีกด้วย
วงจรชีวิตของปลาทะเลน้าลึกส่วนใหญ่จะเป็นไข่และตัวอ่อนตรงน้าตื้นและลงน้าลึกเมื่อโตเต็มวัย โดยไข่อาจจะ
ลอยเป็นแพลงค์ตอนหรือวางไว้ในหลุมก็ได้แล้วแต่ชนิดของปลาเมื่อพวกมันโตเต็มที่พวกมันจะมีการดัดแปลง
ร่างกายเนื่องจากพวกมันนั้นลอยน้าไดเนืองจากความหนาแน่นของน้าทาให้เกิดการลอยตัวของได้ พวกมันจึงเพิ่ม
ความหนาแน่นของตัวมันให้มากกว่าน้ารอบ ๆ จึงทาให้เนื้อเยื่อสัตว์ส่วนใหญ่มีความหนาแน่นมากกว่าน้าและมี
ลักษณะเนื้อเหลวๆเหมือวุ้นเพื่อหาสมดุลนั้นเองสิ่งมีชีวิตส่วนมากใต้ทะเลลึกนี้พัฒนาถุงลมของพวกมันแต่
เนื่องจากความดันที่สูงมากของสภาพแวดล้อมนี้ปลาทะเลลึกจึงมักจะไม่ได้มีอวัยวะนี้ แต่ถึงอย่างนั้นปลาทะเลลึก
ที่อยู่ลึกมากๆลงไปอีกนั้นจะกล้ามเนื้อที่เหมือนวุ้นของมันจะมีโครงสร้างกระดูกน้อยเนืองจากพวกมันลดความ
หนาแน่นของเนื้อเยื่อของพวกโดยเพิ่มไขมันสูงและลดน้าหนักโครงกระดูก -เพื่อลดขนาดความหนา,ปริมาณแร่
และการสะสมน้าจึงทาให้พวกมันช้าและคล่องตัวน้อยกว่าปลาบนผิวน้า
เนืองจากความลึกนี้ทาให้การสังเคราะห์แสงน้อยทาให้ทะเลลึกปลาส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาการจมของซากศพและ
สารอินทรีย์จากทะเลด้านบนแต่บางที่พวกมันก็มีแหล่งอาหารอยู่เช่นบริเวณปล่องแบบน้าร้อนแต่ถึงอย่างนั้นทะเล
ลึกนี้ก็เป็นสถานที่ๆหาอาหารได้ยากดังนั้นพวกมันจึงมีการปรับตัวเพื่องให้ดารงชีวิตได้ง่ายขึ้นเช่นยืดหด
ขากรรไกรได้เช่นปลาฉลามก็อบลิน,มี่ติ่งเนื้อเรืองแสงที่คล้ายเบ็ดตกปลาเช่นปลาตกเบ็ด,มีปากที่ใหญ่เช่นปลาไหล
กัลเปอร์,และมีกระเพาะขนาดใหญ่เช่นปลาแบล็คสวอลโลและอื่นๆ
ปลาที่อยู่ในทะเลน้าลึกมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดทางโครงสร้างทางกายภาพและพฤติกรรมซึ่งเกิดจาก
โซนที่อยู่อาศัยการอพยพการล่าและอื่นๆนั้นเองครีบก้นและครีบหางเป็นของที่หาได้ยากในหมู่ปลาทะเลน้าลึกซึ่ง
แสดงให้เห็นว่าปลาทะเลน้าลึกมีความเก่าแก่และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของมันได้ดีทาให้การ
รุกรานของปลาชนิดอื่นๆนั้นไม่ประสบความสาเร็จครีบส่วนใหญ่จะเป็นของปลาแบบโบราณ ปลาทะเลลึกคง
รูปร่างเดิมตั้งแต่อดีตจึงเป็นแบบอย่างของวิวัฒนาการที่ยาวนานในอดีตเมือหลายร้อนล้านปีที่ผ่านมาได้เป็นอย่าง
ดี ซึ่งต่างจากปลาผิวบนและปลาน้าจืดที่มีการวิวฒนาการเรือยมา
ปลาไหลกัลเปอร์หนึ่งในปลาน้าลึกรูปร่างประหลาด
ปัจจุบันเรารู้จักปลาทะเลลึกเพียง2%จากสายพันธุ์ปลาทะเลทั้งหมดเนื่องจากพวกมันสามารถพบเห็นและจับมา
ศึกษาได้ยากทาให้ได้ศึกษาเพียงซากศพที่ถูกกระแสน้าพัดพามาเกยตื้นส่วนที่นักวิทยาศาสตร์สามารถจับได้ก็
อาศัยอยู่ได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงก็จะตายลงเนื่องจากปลาทะเลลึกส่วนใหญ่ที่มีการพัฒนาในสภาพแวดล้อมที่มีแรงดัน
มหาศาลและนี้ทาให้พวกมันไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพห้องปฏิบัติการและด้วยความพยายามที่จะเก็บพวก
มันไว้ในกรงขังนั้นจะทาให้พวกมันตายเพราะสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกมีช่องว่างที่เต็มไปด้วยแก๊สvacuoles ซึ่งก๊าซ
นั้นจะถูกบีบอัดภายใต้แรงดันสูงและจะขยายตัวภายใต้แรงดันต่าด้วยเหตุนี้เองทาให้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกระเบิดหาก
พวกมันขึ้นมาสู่ผิวน้า
สรีรวิทยา
การที่ทะเลลึกไม่มีแสงแดด,แรงกดดันมหาศาล,อุณหภูมิต่า,ออกซิเจนมีไม่มาก,และความหนาแน่นต่าอินทรียวัตถุ
ทั้งหมดนี่มีผลกับลักษณะทางสิ่งแวดล้อมของปลาทะเลลึกจึงได้มีการปรับตัวหลายอย่างดังนี้
9
กล้ามเนื้อและกระดูก
น้าหนักของโครงกระดูกและโปรตีนที่มีอยู่ในร่างกายของปลามักจะเป็นสิ่งที่สาคัญมากในน้าเค็ม แต่เนื่องจากใต้
ทะเลนั้นขาดแคลนอาหารจึงต้องทาให้ประหยัดพลังงานมากที่สุด ดังนั้นจึงทาให้ความหนาแน่นของกล้ามเนื้อและ
กระดูกของปลาทะเลลึกนั้นที่มีขนาดเล็กลงแต่ก็มีการทดแทนโดยที่ร่างกายของปลาทะเลลึกนั้นมีน้าและไขมัน
จานวนมากจึงทาให้พวกมันพยุงตัวได้ดีเงี่ยงและครีบของปลาทะเลลึกมีน้าหนักเบา แต่การที่กล้ามเนื้อมีน้าและ
ไขมันเยอะจึงทาให้กล้ามเนื้อของปลามีลักษณะคล้ายวุ้นซึ้งจะทาให้การเคลื่อนที่ของมันช้าลงไปด้วย
ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนมากปลาทะเลลึกจะมีปากขนาดใหญ่และประเพาะขนาดใหญ่เนื่องจากทะเลลึกนั้นเป็นสถานที่ที่ขาดแคลน
อาหารยิ่งลึกก็ยิ่งหาเหยื่อยากจึงทาให้ปลาทะเลลึกนั้นจับทุกอย่างที่พวกมันพบถึงแม้ว่าเหยื่อจะมีขนาดใหญ่เพื่อ
จะไม่ต้องใช้พลังงานมากเกินไปในการแสวงหาเหยือรายต่อไปเช่นปลาไหลกัลเปอร์ที่มีปากขนาดใหญ่และปลา
แบล็คสวอลโลที่มีกระเพาะขนาดใหญ่
การปรับเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพ
ปลาทะเลลึกนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลลักษณะทางกายภาพของตัวมันเองเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่มันอาศัยอยู่
เช่นการมีดวงตาที่ใหญ่โต่ขึ้นเนื่องจากใช่เพื่อประสิทธิภาพในการรับแสงในใต้ทะเลอันมืดมิด
การมองเห็น
ทะเลลึกนั้นไม่มีแสงสว่างส่องผ่านลงไปถึงจึงทาให้ปลาทะเลลึกบางชนิดนั้นมีการปรับตัว2รูบแบบคือทาให้ดวงตา
ใหญ่กว่าปกติเพื่อเพิ่มการรับแสง,กับอีกบางชนิดนั้นเป็นปลาที่ตาบอด
การเรืองแสง
ปลาที่อาศัยอยู่ในความมืดของทะเลลึกนั้นมีสปีชีส์ 65% จากการสุ่มตรวจนั้นสามารถที่จะเรืองแสงได้โดนจะมี
อวัยวะเรืองแสงซึ่งสร้างขึ้นโดยปฏิกิริยาทางเคมีของแสงหรือมีการใช่แบคทีเรีย โดยอวัยวะเรืองแสงเหล่านี้จะมี
หน้าที่ต่างกันออกไปตามชนิดของปลาและสภาพแวดล้อม เช่นใช้หาคู่หรือเอาไว้ใช่ล่อเหยื่อ
การให้กาเนิด
เนื่องจากความหนาแน่นของประชากรที่ต่าจึงทาให้ความน่าจะเป็นของการที่เพศชายและหญิงมาเจอกันเป็นไปได้
ยากจึงทาให้เพศชายมีการเปลี่ยนแปลงร่างกายของตัวเองให้เล็กลงและทาตัวเองให้ติดไปกับเพศเมียเมื่อเจอกัน
จากนั้นจะค่อยๆรวมกันแล้วรับสารอาหารจากกระแสเลือดของเพศเมียเหมือเป็นปรสิตและรวมกันจนเหลือแต่
อวัยวะสืบพันธุ์เพื่อใช่ในการสืบพันธุ์
ตัวอย่างปลาใต้ทะเลลึก
ปลาอีรี
เจ้าปลาที่มีฟันแหลมคมเต็มปากนี้ได้กลายมาเป็นปีศาจแห่งฝันร้ายตัวใหม่สาหรับเด็กๆหลังจากที่ภาพยนตร์ดิสนีย์
เรื่อง"Finding Nemo" เข้าฉาย (ตอนที่พ่อนีโมกับดอรี่ร่วงไปในทะเลลึกพร้อมกับหน้ากาดาน้าและก็เจอแสงไฟ
จากเจ้านี้หลอกเอาอ่ะ) เจ้าปลาหน้ากลัวนี้ล่อเหยื่อให้เข้ามาใกล้โดยใช้แสงจาก "คันเบ็ด" ที่งอกออกมาจากหัว
เหยื่อล่อของปลาที่จริงแล้วก็คือส่วนหนึ่งของกระดูกสันหลังที่เต็มไปด้วยแบคทีเรียเรืองแสง
10
ทากทะเลสั่นประสาท
ทากทะเลที่อาศัยอยู่ตามพื้นทะเลนั้นมีมากมายหลายสีสันยังกะสีรุ้ง ซึ่งสีเหล่านี้รวมถึงสีแดงเลือดพร้อมด้วย
ลายสีฟ้านีออนที่ทาให้เจ้ามอลลัสก์นี้ดูเหมือนกาลังลุกไหม้อยู่ ทากทะลาส่วนใหญ่นั้นเป็นสัตว์กินเนื้อที่มี
ขากรรไกรเต็มไปด้วยฟันแหลมๆเรียกว่า เรดุลล่า ฟันเหล่านี้ถูกใช้เพื่อแทะเอาเนื้อออกมาจากปลาโชคร้ายที่ว่าย
น้าผ่านไป ถึงแม้ว่าทากทะเลส่วนใหญ่นั้นมีความยาวน้อยกว่า 5 ซม. บางสปีชีส์นั้นก็สามารถยาวได้ถึง 30.5
ซม.
ปลาไวเปอร์เขี้ยวดาบ
เจ้าปลาไวเปอร์นี้มีฟันรูปร่างเหมือนเข็มยาวๆและขากรรไกรล่างที่เปิด-ปิดเหมือนบางพับ เจ้าสัตว์ประหลาด
แห่งทะเลลึกเหล่านี้ชอบอยู่ในน่านน้าอุ่นๆเขตร้อนซึ่งเป็นที่ๆพวกมันจะฝังเขี้ยวลึกลงไปในร่างกายของเหยื่อเพื่อ
หยุดการเคลื่อนไหว
เม่นทะเลหนามแหลม
เจ้าสัตว์กลมๆตัวเล็กเต็มไปด้วยหนามนี้มีหนามแหลมเพื่อปกป้องร่างกายจากนักล่า พวกมันมีสีดา, น้าตาล,
ม่วง, แดงหรือเขียวมะกอก
ฉลามเมก้าเมาธ์
ฉลามเมก้าเมาธ์นั้นคือฉลามน้าลึกหายากที่จะว่ายน้าไปด้วยปากเปิดเพื่อกรองเอาปลาและคริลกิน ปากใหญ่
เว่อร์ของมันนั้นกว้างไปเลยหลังตาและเต็มไปด้วยฟันแหลมเล็กๆ 50 แถว
แตงกวาทะเลร้ายกาจ
ถึงแม้ว่าเจ้าแตงกวาทะเละเหมือนสัตว์ที่ใช้ชีวิตง่ายๆคลานไปทั่วพื้นทะเลอย่างช้าๆ เจ้านี้ก็มีความลับดามืดอยู่
อย่างนึงซึ่งก็คือการปล่อยสารเคมีพิษชื่อโฮโลธูรินออกมาเมื่อโดนรบกวนหรือทาร้าย ซึ่งสารเคมีนี้สามารถฆ่า
หรือทาให้สัตว์แถวนั้นขยับร่างกายไม่ได้
ปลามังกรดา
เจ้าสัตว์เรืองแสงที่หากินตามท้องทะเลนี้มีอวัยวะปล่อยแสงที่ตั้งอยู่ตามพุงซึ่งถูกเอาไว้ใช้หลอกนักล่าโดยการ
เปลี่ยนภาพเงาของตัวเอง นอกจากนี้ เจ้าปลาน่าสยองขวัญก็ยังมี "ไฟฉาย" ตั้งอยู่ตรงตาทั้ง 2 ซึ่งถูกใช้ในการ
มองหาเหยื่อหรือส่งสัญญาณให้เพศตรงข้าม ปลามังกรดานี้เป็นปลาฟันแหลมซะขนาดที่ลิ้นก็มีฟันแหลมๆด้วย
สตาร์เกซเซอร์น่ากลัว
เจ้าปลาน่ากลัวนี้มีชื่อว่าสตาร์เกซเซอร์ (แปลได้ว่านักดูดาว) เพราะความที่มันมีลูกตาอยู่บนหัว เจ้าปลานี้จะฝัง
ร่างกายแบนๆของมันไว้ใต้ทรายและใช้ตาบนหัวทั้ง 2 ส่องดูรอบๆ เจ้านี้จะฝังตัวอยู่ในทรายจนเวลาที่เหยื่อผ่าน
เข้ามา
ปลาไหลมอเรย์
เจ้าปลาหน้ากลัวมีฟันแหลมเต็มปากนั้นเหมาะสมที่เป็นเจ้าตัววายร้ายลูกสมุนของเออร์ซิลล่าในเรื่อง "Little
Mermaid" จริงๆ
ซีโรบินติดเกราะ
11
เจ้าปลาซีโรบินสีแดงๆนี้สามารถพบได้ในน่านน้าเขตร้อนลึกๆทั่วโลก พวกมันมีเกล็ดแข็งๆและหนวดตรงคางเพื่อ
เอาไว้หลอกเหยื่อ
ปลาแฟงค์ทูธน่าสะพรึงกลัว
เจ้านี้ได้ชื่อมาจากฟันยาวๆเหมือนฟันแวมไพร์ มันเป็นปลาน้าลึกมากๆที่พบได้ในมหาสมุทร เจ้านี้คือปลาที่มี
ฟันที่ใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับขนาดร่างกาย ถึงแม้ว่าปลาแฟงค์ทูธจะดูน่ากลัว เจ้าปลาใกล้สูญพันธุ์นี้ก็มีความ
ยาวแค่ 16 ซม.เท่านั้น
กุ้งฮาลโลวีน
เจ้ากุ้งพาราไซส์ที่เกาะติดแตงกวาทะเลและทากทะลานี้มีชื่อว่า Periclimenes imperator มันมีสีส้มและม่วงที่
มองดูแล้วเหมือนฟักทองในวันฮาลโลวีน
หมึกแวมไพร์
ถึงแม้ว่าเจ้านี้จะมีชื่อน่ากลัว มันก็เป็นสัตว์ตัวกระจิ๋วที่ยาวแค่ 15.4 ซม.เท่านั้น หมึกแวมไพร์นั้นได้ชื่อมาจาก
ลูกเรืองแสงสีแดงและหนวดติดพังพืดที่ดูเหมือนผ้าคลุมผีดูดเลือด เจ้านี้อาจจะดูเหมือนหมึกยักษ์และหมึกกล้วย
รวมกัน แต่ที่จริงแล้วมันคือฟอซซิลมีชีวิตที่แยกออกมาต่างหาก เจ้านี้มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า
Vampyroteuthis infernalis ซึ่งแปลได้ว่า "หมึกแวมไพร์จากนรก"
ไอโซพอดยักษ์
เจ้าสัตว์ทะเลลึกนี้ไม่ใช่สัตว์สาหรับคนที่กลัวแมลงอย่างแน่นอน ไอโซพอดยักษ์นั้นคือสัตว์มีกระดองญาติของกุ้ง,
ปูและแมลงตามสวนอื่นๆที่อาศัยอยู่ตามพื้นสมุทร เจ้านี้สามารถโตได้ถึง 40.6 ซม.
ปลาโลงศพ
เจ้าปลานี้มีสีสันสวยงามเหมือนใบไม้แห่งฤดูใบไม้ร่วงมากกว่าจะเป็นโลงศพ พวกมันสามารถพบได้ตามพื้นทะเล
และมักจะพักผ่อนโดยใช้ครีบเล็กเป็นขาตั้ง
แมงกระพรุนโครงกระดูก
แมงกระพรุนคริสตัลหรือ Aequorea นี้มีร่างกายใสแจ๋วและหนวดยาว 30.5 ซม.ที่ทาให้มันดูเหมือนผีลอยได้
แมงกระพรุนสีแดงเลือด
แมงกระพรุนสีแดงเลือดหรือ Atolla wyvillei เป็นสัตว์น้าลึกที่สามารถปล่อยแสงสีฟ้าน่าสะพรึงกลัวออกมาได้
เมื่อโดนรบกวน แสงที่เจ้านี้ปล่อยออกมาจากเป็นเหมือนวงล้อรอบร่างกาย
ปลาตีนลายจุด
ปลาตีนลายจุดหรือ Brachionichthys hirsutus คือปลาน้าลึกใกล้สูญพันธุ์และหายากแห่งออสเตรเลย มันมี
ครีบหน้าอกที่เหมือนกับแขนสั้นๆติดมือ เจ้านี้สามารถว่ายน้าหรือเดินไปตามพื้นทะเลได้ด้วยครีบเหล่านี้ แต่
มันชอบที่จะเดินมากกว่า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
12
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
13
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
THXB
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Kalyarat Kanyano
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
Stamprsn
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
thitichaya2442
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
จิณณรัตน์ จอมอูป
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
achirayaRchi
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
bank2808
 
5
55
at1
at1at1
Computer
ComputerComputer
Computer
WrnPloy
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
Nuttida Meepo
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
NuntarikarUtsar
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
Chonticha Maijandang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
Jirarat Cherntongchai
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
pimvipada
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
mint302544
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
pimvipada
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
09nattakarn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
N'Nat S'Sasitron
 

What's hot (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
5
55
5
 
at1
at1at1
at1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similar to 2560 project -1

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
jutamart muemsittiprae
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
jutamart muemsittiprae
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
Thanakorn Intrarat
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Nicharee Kornkaew
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
jetaimej_
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
Nattaphong Kaewtathip
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
omaha123
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Guy Prp
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Phanatcha ChimChoet
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา
Tcnk Pond
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Guy Prp
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
Nattarika Pijan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Kasichaphat Sae-tuan
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
eyecosmomo
 
พีม
พีมพีม
พีม
eyecosmomo
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
Chanin Monkai
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
Nu Beer Yrc
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
Nattarika Pijan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
cham45314
 

Similar to 2560 project -1 (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from saruta38605

2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
saruta38605
 
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
saruta38605
 
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 255802 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
saruta38605
 
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
saruta38605
 
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 255801 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
saruta38605
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act
saruta38605
 
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
saruta38605
 

More from saruta38605 (7)

2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
 
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 255802 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
 
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 255801 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act
 
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
 

2560 project -1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงานโลกใต้ทะเลลึก ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่38 ชั้น ม.6 ห้อง5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที38 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โลกใต้ทะเลลึก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Deep sea ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศรุตา สัพโส ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นชั้นของระดับน้าที่มีความลึกตั้งแต่200เมตรลงไปซึ่งนับเป็น 70% ของน้าในมหาสมุทรทั่วโลกเป็นที่ๆมีแสง น้อยจนถึงไม่มีแสงเลยสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรีย์หรือซากศพจากทะเลด้านบนด้วยเหตุนี้ทาให้ นักวิทยาศาสตร์เคยสันนิษฐานว่าจะชีวิตจานวนน้อยมากในมหาสมุทรลึก แต่จากการตรวจสอบนั้นได้เปิดเผยว่า มันเป็นอะไรตรงกันข้ามกับการสันนิฐานนั้นเพราะมันมีสิ่งมีชีวิตมากมายในทะเลลึกลึกนอกจากนี้ยังสามารถเห็น การพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ในการดารงชีวิตอยู่อีกทั้งยังมีห่วงโซ่อาหารและ ขยะหรือจากซากสัตว์ แบคทีเรียต่างๆตั้งแต่อดีตจนถึงประมาณปลายศตวรรษที่19 มนุษย์เชื่อว่าใต้ทะเลลึกนั้นไม่ มีสิ่งมีชีวิตอยู่ จนกระทั้งช่วงปีค.ศ.1872-1876เรือขุดเจาะและเรือลากได้นาสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกมากมายขึ้มมาให้ ได้เห็นกันแต่ถึงอย่างนั้นนักวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่20ก็ยังคิดว่าสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกนั้นเป็นเรื่องเหลวไหลและ งมงาย เพราะทะเลลึกเป็นสถานที่ๆมืดมิดแรงกดดันของน้ามหาศาลและมีอุณหภูมิหนาวเย็นจึงทาให้พวกเขาคิด เช่นนั้น แต่สิ่งที่เป็นจริงนั้นกับตรงกันข้ามเพราะแหล่งที่อยู่อาศัยของสายพันธุ์ทะเลส่วนมากในมหาสมุทรอยู่ที่ ระดับความลึกที่ต่ากว่า200เมตรลงไปขณะนี้มีเพียงประมาณ 1% ของท้องทะเลลึกทั้งหมดทีมนุษย์เคยสารวจ โดยเมื่อเทียบกับการศึกษาจักรวาลแล้วเรายังรู้จักจักรวาลและดวงจันทร์ดีกว่าทะเลลึกเสียอีกผู้จัดทาจึงมีความ สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกใต้ท้องทะเล
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาโลกใต้ทะเลลึก 2. เพื่อศึกษาสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเลลึก 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกใต้ทะเลลึก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ลักษณะทั่วไปในใต้ทะเลลึกลักษณะสิ่งมีชีวิตในใต้ทะเลลึก หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทะเลลึก(อังกฤษ: Deep sea) เป็นชั้นของระดับน้าที่มีความลึกตั้งแต่200เมตรลงไปซึ่งนับเป็น 70% ของน้า ในมหาสมุทรทั่วโลกเป็นที่ๆมีแสงน้อยจนถึงไม่มีแสงเลยสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรีย์หรือซากศพจาก ทะเลด้านบนด้วยเหตุนี้ทาให้นักวิทยาศาสตร์เคยสันนิษฐานว่าจะชีวิตจานวนน้อยมากในมหาสมุทรลึก แต่จาก การตรวจสอบนั้นได้เปิดเผยว่ามันเป็นอะไรตรงกันข้ามกับการสันนิฐานนั้นเพราะมันมีสิ่งมีชีวิตมากมายในทะเลลึก ลึกนอกจากนี้ยังสามารถเห็นการพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ในการดารงชีวิตอยู่อีก ทั้งยังมีห่วงโซ่อาหารและขยะหรือจากซากสัตว์ แบคทีเรียต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงประมาณปลายศตวรรษที่19 มนุษย์เชื่อว่าใต้ทะเลลึกนั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่ จนกระทั้งช่วงปีค.ศ. 1872-1876เรือขุดเจาะและเรือลากได้นาสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกมากมายขึ้มมาให้ได้เห็นกันแต่ถึงอย่างนั้น นักวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่20ก็ยังคิดว่าสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกนั้นเป็นเรื่องเหลวไหลและงมงาย เพราะทะเลลึกเป็น สถานที่ๆมืดมิดแรงกดดันของน้ามหาศาลและมีอุณหภูมิหนาวเย็นจึงทาให้พวกเขาคิดเช่นนั้น แต่สิ่งที่เป็นจริงนั้น กับตรงกันข้ามเพราะแหล่งที่อยู่อาศัยของสายพันธุ์ทะเลส่วนมากในมหาสมุทรอยู่ที่ระดับความลึกที่ต่ากว่า200 เมตรลงไป ในปี1960(พ.ศ.2503)ยานสารวจน้าลึกตรีเอสเตได้ลงไปสารวจที่ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาทางใต้ของหมู่เกาะมา เรียนาใกล้กับเกาะกวมในระดับความลึก 10,911 เมตร (35,797 ฟุต 6.780 ไมล์)ซึ่งลึกที่สุดในโลกซึ่งถ้านามาวัด กับยอดเขาเอเวอเรสต์ยอดของมันจะจมอยู่ใต้น้าถึง1ไมล์ และเมือยานสารวจน้าลึกตรีเอสเตถึงความลึก 10,911 เมตรมันได้ปล่อยยานสารวจน้าลึกไคโกะเพื่อทาการสารวจเพิ่มเติมและเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และในเดือน พฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ.2552 ก็ได้นายานสารวจน้าลึกนีรีอัสกลับไปสารวจที่แชลเลนเจอร์ดีปอีกครั้งเพื่อทา การดาน้าสามครั้งให้มีระดับความลึกมากกว่า10,900เมตร ขณะนี้มีเพียงประมาณ 1% ของท้องทะเลลึกทั้งหมดทีมนุษย์เคยสารวจ โดยเมื่อเทียบกับการศึกษาจักรวาลแล้ว เรายังรู้จักจักรวาลและดวงจันทร์ดีกว่าทะเลลึกเสียอีกเนื่องจากไม่มีใครรู้เรื่องของอายุขัยบนพื้นมหาสมุทรลึกหรือ การค้นพบโคโลนีที่เจริญเติบโตของกุ้งและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ รอบ ๆปล่องแบบน้าร้อนในช่วงปลายทศวรรษ1970 ซึ่ง ก่อนที่จะมีการค้นพบปล่องแบบน้าร้อนนั้นนักวิทยาศาสตร์ได้มีการยอมรับว่าทุกสิ่งมีชีวิตบนโลกได้รับพลังงาน ที่มาจากดวงอาทิตย์ ซึ่งจาการค้นพบปล่องแบบน้าร้อนนี้ทาให้พบว่าสิ่งมีชีวิตทะเลลึกได้รับสารอาหารและ พลังงานโดยตรงจากแหล่งความร้อนและปฏิกิริยาทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของแร่ ซึ่งสิ่งมีชีวิต เหล่านี้เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีแสงและใช้ออกซิเจนในน้าเกลือที่มีอุณหภูมิ 300 ° F (150 ° C) และพวกมันยังได้รับการยังชีพของพวกมันโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ซึ่งเป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก
  • 4. 4 การค้นพบสิ่งมีชีวิตที่ทรหดและอยู่ในสถานที่ๆเลวร้ายเหล่านี้ทาให้นักวิทยาศาสตร์ต้องเปลี่ยนความคิดของพวก เขาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการกาเนิดสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในที่อื่นๆของจักรวาลทาให้กวิ ทยาศาสตร์คาดการณ์ว่ายูโรปา (ดาวบริวาร)ซึ่งเป็นดวงจันทร์ดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดีอาจจะสามารถรองรับ ชีวิตใต้พื้นผิวน้าแข็งได้โดยอาจมีสภาพเหมือนกันกับใต้ทะเลลึกของโลก ระดับชั้นทะเลลึก ทะเลจะแบ่งเป็น4ชั้นคือ 1.เขตที่แสงส่องถึง(ความลึก0-200เมตร) 2.เขตที่มีแสงเข้ม(200-1,000เมตร) 3.เขตแสงสลัว(1,000-4,000เมตร) 4.เขตที่แสงส่องไม่ถึง(4,000-6,000เมตร)หรือมากกว่าโดยเขตที่มีแสงเข้ม(200-1,000เมตร),เขตแสง สลัว(1,000-4,000เมตร)และเขตที่แสงส่องไม่ถึง(4,000-6,000เมตร)นั้นจะถือว่าเป็นทะเลลึก ลักษณะสิ่งแวดล้อม ทะเลลึกคือเขตของน้าทะเลที่แสงไม่สามารถส่องถึงได้และจะมีสิ่งมีชีวิตและปลาทะเลลึกที่ปรับตัวแล้วเท่านั้นที่จะ สามารถอาศัยอยู่ได้ ในทะเลลึกหิมะทะเลเป็นสิ่งสาคัญมากเพราะมันเป็นแหล่งอาหารอย่างหนึ่งของสิ่งมีชีวิตในทะเลลึก ซึ่งหิมะทะเล จะมาจากทะเลด้านบน โดยหิมะทะเลนั้นจะมาจากแพลงก์ตอนที่ตายแล้ว,ไดอะตอม, อุจจาระ, ทราย, เขม่าและ ฝุ่นอนินทรีอื่น ๆเกล็ดของหิมะทะเลอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางหลายเซนติเมตรและมันใช้เวลาหลายสัปดาห์กว่าจะ ตกลงถึงก้นสมุทรอย่างไรก็ตามส่วนประกอบอินทรีย์ส่วนใหญ่ของหิมะทะเลจะถูกกินโดยจุลินทรีย์แพลงค์ตอนและ สัตว์อื่นๆ ด้วยเหตุนี้หิมะทะเลจึงได้รับการพิจารณาว่าเป็นรากฐานของระบบนิเวศในทะเลและสัตว์หน้าดินที่ อาศัยอยู่ในทะเลลึกเนื่องจากแสงแดดที่ไม่สามารถเข้าถึงได้สิ่งมีชีวิตในทะเลลึกส่วยใหญ่จึงอาศัยน้าหิมะเป็น แหล่งพลังงาน ความดันไฮโดรสแตติกจะเพิ่มขึ้น 1 บรรยากาศทุกๆ 10 เมตรซึ่งสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกนั้นมีการปรับตัวให้ความ กดดันภายในร่างกายเหมือนกันกับสภาพภายนอกดังนั้นพวกมันจึงไม่ถูกบดขยี้ด้วยแรงกดดันอันมหาสารของ ทะเลลึก ความดันภายในที่สูงทาให้มีการไหลของเยื่อลดลงเนื่องจากโมเลกุลถูกบีบเข้าด้วยกันและการการที่จะ เพิ่มประสิทธิภาพทางชีวภาพให้อาศัยอยู่ในทะเลลึกได้ดีและสาคัญที่สุดคือการผลิตโปรตีนเพื่อให้สิ่งมีชีวิตได้ ปรับตัวเข้ากับสถานที่ที่มีแรงดันอันมหาศาลนี้โดยการเพิ่มสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวในไขมันของเยื่อหุ้มเซลล์ และนอกเหลือจากการปรับตัวเรืองความดันแล้วยังมีก่รพัฒนาปฏิกิริยาการเผาผลาญของพวกมันอีกด้วย เนื่องจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีจะมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรซึ่งถ้าผลของปฏิกิริยาส่งผลให้ปริมาณ เพิ่มขึ้นก็จะถูกยับยั้งด้วยแรงกดดันที่มีความสัมพันธุ์กัน ซึ่งหมายความว่ากระบวนการเผาผลาญอาหารของพวก มักก็ต้องลดปริมาณของสิ่งมีชีวิตลงด้วยในระดับหนึ่ง อุณหภูมิ กราฟแสดงการเปลียนแปลงอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอย่างฉับพลันนั้นส่วนมากมีอยู่สองพื้นที่ส่วนใหญ่ซึ่งก็คือ
  • 5. 5 1.การเปลี่ยนแปลงระหว่างน้าผิวดินกับน้าในทะเลลึกซึ่งการเปลียนแปลนี้จะขึ้นอยู่กับระดับความลึกโดยทะเลเขต ที่มีแสงส่องถึงอุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 20องศาเซลเซียส พอลึงลงไป100เมตร อุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 5-6 องศาเซลเซียส และค่อนลดลงไปพอึง 3000-4000เมตรอุณหภูมิจะอยู่ที่ประมาณ 0-3 องศาเซลเซียส ซึ่งน้าเย็น เหล่านี้เกิดจากพวกมันไม่โดยแสงแดดและการจมของมวลน้าเย็นที่ละลายมาจากขั้วโลกทั้ง2ขั้ว 2.การเปลี่ยนแปลงระหว่างน้ามหาสมุทรกับน้าร้อนของปล่องไฮโดรเทอร์มอล โดยอุณหภูมิของน้าบริเวณปล่อง แบบน้าร้อนจะอยู่ที่ประมาณ 400องศาเซลเซียส แต่น้าที่อยู่ห่างจากบริเวณปล่องไฮโดรเทอร์มอลประมาณ2-3 เมตรจะมีอุณหภูมิอยู่ที่ประมาณ 2-4องศาเซลเซียสเท่านั้น แสง แสงจากดวงอาทิตย์จะไม่สมารถทะลุผ่านมหาสมุทรลึกได้ยกเว้นเขตที่แสงส่องถึงจึงทาให้ไม่มีการสังเคราะห์แสง ดังนั้นพืชจึงไม่สามารถอาศัยอยู่ในเขตนี้ได้ เนื่องจากพืชเป็นผู้ผลิตหลักของระบบนิเวศของโลกจึงทาให้เกือบ ทั้งหมดของชีวิตในทะเลลึกนี้ต้องขึ้นอยู่กับแหล่งพลังงานจากที่อื่น ยกเว้นบริเวณที่ใกล้กับปล่องแบบน้าร้อน โดย จะพึงพลังงานจากวัสดุอินทรีย์หรือซากสัตว์ล่องลอยตกลงมาจากทะเลด้านบนซึ่งวัสดุอินทรีย์ที่ฝังอยู่ ประกอบด้วยอนุภาคของสาหร่ายเศษซากและรูปแบบอื่น ๆของขยะทางชีวภาพซึ่งเรียกรวมๆกันว่าหิมะทะเลก็ได้ ความดัน ความดันในทะเลลึกนั้นอันตรายต่อมนุษย์มากซึ่งความกดดันในทะเลจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1 บรรยากาศทุกๆ 10 เมตรยิ่งมีความลึกมากความดันก็ยิ่งมาก แต่ถึงอย่างนั้นหลายปีที่ผ่านมาการศึกษาเรื่องความดันนั้นขาดข้อมูลและ รายละเอียดเกี่ยวกับผลกระทบของแรงกดดันต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกมากที่สุดเนื่องจากตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเมือนามา ขึ้นฝั่งเพื่อทาการศึกษานั้นพวกมันก็จะตายก่อนที่จะได้ศึกษาเนื่องจากก๊าซที่ถูกบีบอัดภายใต้แรงดันสูงจะขยายตัว ภายใต้แรงดันต่า ด้วยเหตุนี้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จึงถูกระเบิดหากพวกมันขึ้นสู่ผิวน้า ความเค็ม ความเค็มเป็นที่น่าทึ่งของทะเลลึกเหราะมันคงที่ตลอดโดยมีค่าประมาณ 35 ส่วนต่อ 1000 ซึ่งถือว่ามีความต่าง เล็กน้อย บริเวณด้านล่างของทะเลนั้นจะแบ่งออกเป็นโซนอื่น ๆ โดยเริ่มจากเขตที่มีแสงเข้มซึ่งมีช่วงความลึกตั้งแต่ 200 ถึง 1000 เมตรจากระดับน้าทะเลซึ่งมีแสงน้อยมากที่ทะลุผ่านลงมาในเขตนี้ได้การผลิตและสังเคราะห์แสงของพืช ในเขตนี้จึงค่อนข้างยาก ด้านล่างของเขตนี้จะประกอบด้วยบริเวณที่คล้ายบ่อมีน้าขังอยู่ลึก ๆ และมีความอุดม สมบูรณ์ อาหารประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่ตกค้างซึ่งเรียกว่า 'หิมะทะเล' และซากที่ตกลงมาจากเขตที่แสงส่องถึง โครงสร้างทางกายภาพ สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลนั้นส่วนใหญ่มีการปรับตัวที่แปลกประหลาดเช่นการเรืองแสง มีปากที่ใหญ่มีฟันที่แหลมคม โครงสร้างที่สามารถกัดกินเหยือได้โดนไม่เกี่ยงขนาด อีกทั้งพวกมันยังมีตาที่ไวต่อแสงมีช่องมองภาพที่สามารถเห็น เงาของเหยื่อได้ แต่เหยือก็มีการปรับตัวเช่นกันด้วยการทาให้ตัวเองรีบแบนและลดเงาด้วยการเรืองแสงและการที่ มีอวัยวะเรืองแสง(photophores)ใต้ท้องเพื่อปรับแสงให้เข้ากับด้านบนตัวปลาเพื่อให้นักล่าจากด้านล่างไม่ สามารถมองเห็นมันได้อีกด้วย การลอยตัว
  • 6. 6 ปลาทะเลลึกหลายสายพันธุ์มีเนื้อเหมือนวุ้นส่วนใหญ่ประกอบด้วยไกลโคสะมิโนไกลแคนเพื่อมาแทนที่ถุงลมหรือ การใช้ก๊าซในการลอยตัวซึ่งการมีเนื้อแบบนี้จะทาให้มีความหนาแน่นต่านอกจากนี้ยังมีการค้นพบมหึกทะเลลึกที่ ใช้เนื้อเยื่อที่มีเจลาตินเข้ากับห้องลอยในตัวตัวที่เต็มไปด้วยของเหลวที่สร้างขึ้นจากของเสียจากการเผาผลาญซึ่ง ของเหลวนั้นคือแอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งมีน้าหนักเบากว่าน้าโดยรอบ การเผาผลาญพลังงาน พวกมันมีการเผาผลาญอาหารที่ช้าและอาหารที่ล่ามานั้นพวกมันจะล่าแบบไม่เลือกและพวกมันชอบที่จะรอ อาหารเหยื่อมากกว่าไล่ล่าเพราะมันว่ายน้าได้ช้าและเพื่อไม่ให้สูญเสียพลังงานมากจนเกินไป การผสมพันธุ์ เนื่องจากใต้ทะเลลึกนั้นหาคู่ได้ยากพวกมันจึงมีการปรับตัวให้ตัวเองสามารถเปลียนแปลงเพศได้ในกรณีที่เจอเพศ เดี่ยวกัน อาหาร สิ่งมีชีวิตในทะเลลึกเกือบทั้งหมดพึ่งพาการจมน้าและสารอินทรีย์ที่ตายแล้วเป็นส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในรูปของหิมะ ทะเลประมาณ 1-3% กับซากสัตว์97-99%เช่นซากปลาหรือวาฬเป็นต้นและนอกจากนี้ยังมีFreyellidaeที่กิน อาหารจากอนุภาคอินทรีย์โดยใช้หนวดได้อีกด้วยอีกทั้งไวรัสทะเลยังมีบทบาทสาคัญในการขับสารอาหารใน ตะกอนในทะเลลึก (ระหว่าง 5x1012 และ 1x1013 เฟสต่อตารางเมตร) ในตะกอนของทั่วโลก เคมีสังเคราะห์ มีหลายสายพันธุ์ที่ไม่ได้พึ่งพาอินทรียวัตถุโดยสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะอยู่บริเวณปล่องแบบน้าร้อนยกตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ทางชีวภาพระหว่างหนอนท่อและแบคทีเรียเคมีบาบัด ซึ่งปล่องแบบน้าร้อนนี้เป็นหนึ่งในระบบนิเวศ ที่ไม่กี่แห่งบนโลกที่ไม่ต้องอาศัยแสงแดดในการจัดหาพลังงาน การสารวจ ทะเลลึกเป็นสภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรกับมนุษย เป็นพื้นที่ที่ได้รับการสารวจน้อยมากบนโลกและเนื่องจาก แรงดันทาให้เรือดาน้าบางลาไม่สามารถเข้าไปสารวจได้ ดั้งนั้นการสารวจจึงมีวิธีคือ1.ยานพาหนะดาน้าที่ ดาเนินการจากระยะไกล 2.เรือดาน้าทนแรงดันสูง สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึก เป็นเวลานานมากที่นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าไม่มีชีวิตที่จะสามารถอาศัยอยู่ในทะเลลึกได้ แต่ในตอนนี้การวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ให้เห็นว่ามันเป็นตรงกันข้ามเลย ท้องทะเลลึกเป็นที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในความมืด ทั้งหลายของสิ่งมีชีวิตจานวนมากแปลกประหลาดและไม่เคยพบเจอที่ไหน ทั้งนี้สัตว์ทะเลลึกมีการปรับตัวเพื่อให้ สามารถต้านทานแรงดันน้าได้ถึง 1,000 เท่าซึ้งเยอะมากกว่าความดันของอากาศบนบก ปลาบางชนิดในทะเลน้า ลึกมันมักจะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและปลาอื่น ๆ อีกทั้งพวกมันมีขากรรไกรขนาดใหญ่และยาวที่ยืนอยู่ด้านหลัง ฟันโดยทุกอย่างที่แหวกว่ายอยู่จะถูกพวกมันคว้าและกลืน ปลาบางชนิดมีการขยายท้องเพื่อให้พวกมันสามารถที่ จะกินเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวเองได้ ที่ใต้ทะเลลึกนั้นสิ่งชีวิตส่วนมากเป็นดอกไม้ทะเล, เวิร์ม , ปลิงทะเล, ดาว เปราะปู , กุ้งและอื่น ๆ ส่วนใหญ่ของปลาที่อาศัยอยู่ที่นี่จะมีการเรืองแสงโดยพวกมันสร้างแสงของตัวเองผ่านปฏิกิริยาทางเคมีในร่างกาย ของพวกมันบางชนิดที่อาศัยอยู่ที่นี่ ชนิดที่แตกต่างกันของทะเลดอกไม้ทะเล
  • 7. 7 ใต้ทะเลลึกนั้นสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตินั้นจะน้อยลงมีแรงดันน้ามหาศาลออกซิเจนน้อยสภาพน้านั้นเย็นยะ เยือกเป็นจุดเยือกแข็งและบางส่วนมี่อุณหภูมิสูงถึง400 °C จนทาให้คิดได้ว่ายากที่จะมีสิ่งมีชีวิตอยู่ แต่กลับ กลายเป็นว่าใต้ทะเลลึกแห่งนี้มีปลาหลากหลายสายพันธุ์ชนิดมากมายโดยมีการค้นพบน้อบมากเพียง2%จากการ ค้นพบปลาในทะเลทั้งหมดซึ่งอาจมีสายพันธ์ที่เรายังไม่ค้นพบอีกเป็นจานวนหนึ่งโดยพวกมันนั้นมีการวิวัฒนาการ แปลกๆเพื่อให้พวกมันปรับสภาพเพื่อที่จะสามารถดารงชวิติอยู่ในสภาพที่สุดขั้วในสถานที่แห่งนี้ได้ แหล่งอาหาร ของพวกมันส่วยใหญ่ก็จะเป็นซากศพที่ตายแล้วตกลงมาเบื้องล่างหรือการล่า ทั้งนี้ก็มีปลาสายพันธ์ต่างๆมากมาย เช่นปลาฉลามครุย ปลาไหลกัลเปอร์ และอื่นๆอีกมากมาย ปลาทะเลลึก ( Deep sea fish) คือปลาที่พบได้ในทะเลที่ลึกและแสงแดดส่องไม่ถึงจากการสารวจปลาทะเลลึก นั้นจะมีจานวนคิดเป็น2%จากสายพันธ์และสิ่งมีชีวิตในทะเลทั้งหมดโดยพวกมันจะอาศัยอยู่ในก้นสมุทรที่มืดมิด โดยทั่วไปปลาทะเลลึกจะพบอยู่ได้ตั้งแต่ความลึก1,000-4,000เมตรหรือบางชนิดอาจอยู่ได้ลึกถึง4,000-6,000 เมตรส่วนปลาที่สามารถเรืองแสงได้ส่วนใหญ่นั้นจะพบได้ในระดับความลึกประมาณ 200-1,000เมตรส่วนระดับ ความลึกที่มีออกซิเจนน้อยมากจะอยู่ที่ระดับ700-1,000เมตรแต่ก็ขึ้นอยู่กับสถานที่นั้นด้วยว่ามีแหล่งผลิต ออกซิเจนหรือไม่ ซึ่งจากความลึกของสถานที่แห่งนั้นมีทั้งความมืดมิดและหนาวเย็นถึง3 องศาเซลเซียส (37.4 องศาฟาเรนไฮต์) จนถึง-1.8 องศาเซลเซียส (28.76 องศาฟาเรนไฮท) อีกทั้งยังมีแรงกดดันของน้าจานวนมหา สารขนาดความดันระหว่าง 20 ถึง 1,000 เท่าของบรรยากาศ (ระหว่าง 2 ถึง 100 megapascals)จึงเป็น สถานที่ๆยากต่อการสารวจ ปลาทะเลลึกนั้นจะมีการปรับตัวให้ใช้พลังงานน้อยลง ขนาดเล็กลง มีปากและกระเพาะขนาดใหญ่ มีการเรืองแสง เพื่อหลอกล่อเหยือซึ่งแตกต่างจากปลาผิวน้าแต่ถึงอย่างนั้น โดยโครงสร้างทางกายภาพเช่นการหายใจ ขับน้า การหายใจยังคงเหมือนปลาทะเลแต่จะมีการวิวัฒนาการแปลกๆเพื่อให้พวกมันสามารถดารงชีวิตอยู่ได้แต่ถึงอย่าง นั้นทะเลลึกก็ยังมี่แหล่งอาหารจากปล่องแบบน้าร้อนและซากสัตย์จากทะเลด้านบน ลักษณะทั่วไป ปลาทะเลลึกนั้นมีรูปร่างเหมือนสัตว์ประหลาดพบเห็นได้ยากแต่ก็มีความน่าสนใจเพราะมีนิทานหลายเรื่องที่ กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดปกติมากมายและยังไม่ได้รับการศึกษาในสมัยนั้นเนื่องจากพวกมันอยู่ในทะเลลึกที่มืดมิดซึ่ง อาจจะโดนจาได้แค่ตอนเกยตื้นหรือกลายเป็นซากศพปลาทะเลลึกโดยทั่วไปนั้นจะพึงพาความรู้สึกมากกว่าการ มองเห็นเนื่องจากแสงสว่างใต้ทะเลลึกนั้นมีไม่มากพอจึงไม่สามารถพึงพาการมองเห็นในการล่าเหยือหรือลีกหนี การไล่ล่าได้โดยมันจะพึงพาการเปลียนแปลงความดันและกลิ่นแทนแต่ถึงอย่างนั้นปลาบางชนิดมีตาที่ไวต่อแสง กว่ามนุษย์ถึง100เท่า นอกจากนี้มันยังมีสีที่เข้มเพื่อหลีกหนีการล่าของวาฬและนักล่าอื่นๆอีกด้วยปลาทะเลลึก หลายชนิดเป็นสารเรืองแสงที่มีดวงตาที่ใหญ่มากเหมาะกับความมืด ปลาที่เรืองแสงมีความสามารถในการผลิต แสงทางชีวภาพผ่านการกระเจิงของโมเลกุลของลูซิเพอลีน (luciferin) ซึ่งทาให้เกิดแสง โดยกระบวนการนี้ต้อง ใช่ออกซิเจนด้วย ปลาเรืองแสงมากกว่า 50%พวกนี้ส่วนมากอยู่ตรงบริเวณไหล่ทวีปที่ระดับความลึกประมาณ 200เมตรและ 80%ของกุ้งและปลาหมึกก็มีความสามารถในการเรืองแสงด้วยเช่นกัน โดยตรงที่เรืองแสงได้ เรียกว่าอัวยวะเรืองแสง (photophores) ซึ่งผลิดมาจากเซลล์ที่มีแบคทีเรียโดยอวัยวัเรืองแสงเหล่านี้มีเซลล์ที่ คล้ายกับเลนส์ที่เหมือนกับที่อยู่ในดวงตาของมนุษย์เพื่อใช้ในการทาให้แสงกระจ่ายตัวอีกด้วย การเรืองแสงเหล่านี้ ใช้พลังงานเพียง1%ของพลังงานทั้งหมดแต่มีจุดประสงค์มากมายเช่นใช้ค้นหาอาหาร,สื่อสาร,หาคู่ผสมพันธุ์และ
  • 8. 8 ดึงดูดเหยื่อเช่นปลาตกเบ็ดนอกจากนี้พวกมันยังลวงตานักล่าด้วยการปรับแสงให้ตรงกับความเข้มข้มของแสงจาก ด้านบนได้อีกด้วย วงจรชีวิตของปลาทะเลน้าลึกส่วนใหญ่จะเป็นไข่และตัวอ่อนตรงน้าตื้นและลงน้าลึกเมื่อโตเต็มวัย โดยไข่อาจจะ ลอยเป็นแพลงค์ตอนหรือวางไว้ในหลุมก็ได้แล้วแต่ชนิดของปลาเมื่อพวกมันโตเต็มที่พวกมันจะมีการดัดแปลง ร่างกายเนื่องจากพวกมันนั้นลอยน้าไดเนืองจากความหนาแน่นของน้าทาให้เกิดการลอยตัวของได้ พวกมันจึงเพิ่ม ความหนาแน่นของตัวมันให้มากกว่าน้ารอบ ๆ จึงทาให้เนื้อเยื่อสัตว์ส่วนใหญ่มีความหนาแน่นมากกว่าน้าและมี ลักษณะเนื้อเหลวๆเหมือวุ้นเพื่อหาสมดุลนั้นเองสิ่งมีชีวิตส่วนมากใต้ทะเลลึกนี้พัฒนาถุงลมของพวกมันแต่ เนื่องจากความดันที่สูงมากของสภาพแวดล้อมนี้ปลาทะเลลึกจึงมักจะไม่ได้มีอวัยวะนี้ แต่ถึงอย่างนั้นปลาทะเลลึก ที่อยู่ลึกมากๆลงไปอีกนั้นจะกล้ามเนื้อที่เหมือนวุ้นของมันจะมีโครงสร้างกระดูกน้อยเนืองจากพวกมันลดความ หนาแน่นของเนื้อเยื่อของพวกโดยเพิ่มไขมันสูงและลดน้าหนักโครงกระดูก -เพื่อลดขนาดความหนา,ปริมาณแร่ และการสะสมน้าจึงทาให้พวกมันช้าและคล่องตัวน้อยกว่าปลาบนผิวน้า เนืองจากความลึกนี้ทาให้การสังเคราะห์แสงน้อยทาให้ทะเลลึกปลาส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาการจมของซากศพและ สารอินทรีย์จากทะเลด้านบนแต่บางที่พวกมันก็มีแหล่งอาหารอยู่เช่นบริเวณปล่องแบบน้าร้อนแต่ถึงอย่างนั้นทะเล ลึกนี้ก็เป็นสถานที่ๆหาอาหารได้ยากดังนั้นพวกมันจึงมีการปรับตัวเพื่องให้ดารงชีวิตได้ง่ายขึ้นเช่นยืดหด ขากรรไกรได้เช่นปลาฉลามก็อบลิน,มี่ติ่งเนื้อเรืองแสงที่คล้ายเบ็ดตกปลาเช่นปลาตกเบ็ด,มีปากที่ใหญ่เช่นปลาไหล กัลเปอร์,และมีกระเพาะขนาดใหญ่เช่นปลาแบล็คสวอลโลและอื่นๆ ปลาที่อยู่ในทะเลน้าลึกมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดทางโครงสร้างทางกายภาพและพฤติกรรมซึ่งเกิดจาก โซนที่อยู่อาศัยการอพยพการล่าและอื่นๆนั้นเองครีบก้นและครีบหางเป็นของที่หาได้ยากในหมู่ปลาทะเลน้าลึกซึ่ง แสดงให้เห็นว่าปลาทะเลน้าลึกมีความเก่าแก่และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของมันได้ดีทาให้การ รุกรานของปลาชนิดอื่นๆนั้นไม่ประสบความสาเร็จครีบส่วนใหญ่จะเป็นของปลาแบบโบราณ ปลาทะเลลึกคง รูปร่างเดิมตั้งแต่อดีตจึงเป็นแบบอย่างของวิวัฒนาการที่ยาวนานในอดีตเมือหลายร้อนล้านปีที่ผ่านมาได้เป็นอย่าง ดี ซึ่งต่างจากปลาผิวบนและปลาน้าจืดที่มีการวิวฒนาการเรือยมา ปลาไหลกัลเปอร์หนึ่งในปลาน้าลึกรูปร่างประหลาด ปัจจุบันเรารู้จักปลาทะเลลึกเพียง2%จากสายพันธุ์ปลาทะเลทั้งหมดเนื่องจากพวกมันสามารถพบเห็นและจับมา ศึกษาได้ยากทาให้ได้ศึกษาเพียงซากศพที่ถูกกระแสน้าพัดพามาเกยตื้นส่วนที่นักวิทยาศาสตร์สามารถจับได้ก็ อาศัยอยู่ได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงก็จะตายลงเนื่องจากปลาทะเลลึกส่วนใหญ่ที่มีการพัฒนาในสภาพแวดล้อมที่มีแรงดัน มหาศาลและนี้ทาให้พวกมันไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพห้องปฏิบัติการและด้วยความพยายามที่จะเก็บพวก มันไว้ในกรงขังนั้นจะทาให้พวกมันตายเพราะสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกมีช่องว่างที่เต็มไปด้วยแก๊สvacuoles ซึ่งก๊าซ นั้นจะถูกบีบอัดภายใต้แรงดันสูงและจะขยายตัวภายใต้แรงดันต่าด้วยเหตุนี้เองทาให้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกระเบิดหาก พวกมันขึ้นมาสู่ผิวน้า สรีรวิทยา การที่ทะเลลึกไม่มีแสงแดด,แรงกดดันมหาศาล,อุณหภูมิต่า,ออกซิเจนมีไม่มาก,และความหนาแน่นต่าอินทรียวัตถุ ทั้งหมดนี่มีผลกับลักษณะทางสิ่งแวดล้อมของปลาทะเลลึกจึงได้มีการปรับตัวหลายอย่างดังนี้
  • 9. 9 กล้ามเนื้อและกระดูก น้าหนักของโครงกระดูกและโปรตีนที่มีอยู่ในร่างกายของปลามักจะเป็นสิ่งที่สาคัญมากในน้าเค็ม แต่เนื่องจากใต้ ทะเลนั้นขาดแคลนอาหารจึงต้องทาให้ประหยัดพลังงานมากที่สุด ดังนั้นจึงทาให้ความหนาแน่นของกล้ามเนื้อและ กระดูกของปลาทะเลลึกนั้นที่มีขนาดเล็กลงแต่ก็มีการทดแทนโดยที่ร่างกายของปลาทะเลลึกนั้นมีน้าและไขมัน จานวนมากจึงทาให้พวกมันพยุงตัวได้ดีเงี่ยงและครีบของปลาทะเลลึกมีน้าหนักเบา แต่การที่กล้ามเนื้อมีน้าและ ไขมันเยอะจึงทาให้กล้ามเนื้อของปลามีลักษณะคล้ายวุ้นซึ้งจะทาให้การเคลื่อนที่ของมันช้าลงไปด้วย ระบบทางเดินอาหาร ส่วนมากปลาทะเลลึกจะมีปากขนาดใหญ่และประเพาะขนาดใหญ่เนื่องจากทะเลลึกนั้นเป็นสถานที่ที่ขาดแคลน อาหารยิ่งลึกก็ยิ่งหาเหยื่อยากจึงทาให้ปลาทะเลลึกนั้นจับทุกอย่างที่พวกมันพบถึงแม้ว่าเหยื่อจะมีขนาดใหญ่เพื่อ จะไม่ต้องใช้พลังงานมากเกินไปในการแสวงหาเหยือรายต่อไปเช่นปลาไหลกัลเปอร์ที่มีปากขนาดใหญ่และปลา แบล็คสวอลโลที่มีกระเพาะขนาดใหญ่ การปรับเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพ ปลาทะเลลึกนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลลักษณะทางกายภาพของตัวมันเองเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่มันอาศัยอยู่ เช่นการมีดวงตาที่ใหญ่โต่ขึ้นเนื่องจากใช่เพื่อประสิทธิภาพในการรับแสงในใต้ทะเลอันมืดมิด การมองเห็น ทะเลลึกนั้นไม่มีแสงสว่างส่องผ่านลงไปถึงจึงทาให้ปลาทะเลลึกบางชนิดนั้นมีการปรับตัว2รูบแบบคือทาให้ดวงตา ใหญ่กว่าปกติเพื่อเพิ่มการรับแสง,กับอีกบางชนิดนั้นเป็นปลาที่ตาบอด การเรืองแสง ปลาที่อาศัยอยู่ในความมืดของทะเลลึกนั้นมีสปีชีส์ 65% จากการสุ่มตรวจนั้นสามารถที่จะเรืองแสงได้โดนจะมี อวัยวะเรืองแสงซึ่งสร้างขึ้นโดยปฏิกิริยาทางเคมีของแสงหรือมีการใช่แบคทีเรีย โดยอวัยวะเรืองแสงเหล่านี้จะมี หน้าที่ต่างกันออกไปตามชนิดของปลาและสภาพแวดล้อม เช่นใช้หาคู่หรือเอาไว้ใช่ล่อเหยื่อ การให้กาเนิด เนื่องจากความหนาแน่นของประชากรที่ต่าจึงทาให้ความน่าจะเป็นของการที่เพศชายและหญิงมาเจอกันเป็นไปได้ ยากจึงทาให้เพศชายมีการเปลี่ยนแปลงร่างกายของตัวเองให้เล็กลงและทาตัวเองให้ติดไปกับเพศเมียเมื่อเจอกัน จากนั้นจะค่อยๆรวมกันแล้วรับสารอาหารจากกระแสเลือดของเพศเมียเหมือเป็นปรสิตและรวมกันจนเหลือแต่ อวัยวะสืบพันธุ์เพื่อใช่ในการสืบพันธุ์ ตัวอย่างปลาใต้ทะเลลึก ปลาอีรี เจ้าปลาที่มีฟันแหลมคมเต็มปากนี้ได้กลายมาเป็นปีศาจแห่งฝันร้ายตัวใหม่สาหรับเด็กๆหลังจากที่ภาพยนตร์ดิสนีย์ เรื่อง"Finding Nemo" เข้าฉาย (ตอนที่พ่อนีโมกับดอรี่ร่วงไปในทะเลลึกพร้อมกับหน้ากาดาน้าและก็เจอแสงไฟ จากเจ้านี้หลอกเอาอ่ะ) เจ้าปลาหน้ากลัวนี้ล่อเหยื่อให้เข้ามาใกล้โดยใช้แสงจาก "คันเบ็ด" ที่งอกออกมาจากหัว เหยื่อล่อของปลาที่จริงแล้วก็คือส่วนหนึ่งของกระดูกสันหลังที่เต็มไปด้วยแบคทีเรียเรืองแสง
  • 10. 10 ทากทะเลสั่นประสาท ทากทะเลที่อาศัยอยู่ตามพื้นทะเลนั้นมีมากมายหลายสีสันยังกะสีรุ้ง ซึ่งสีเหล่านี้รวมถึงสีแดงเลือดพร้อมด้วย ลายสีฟ้านีออนที่ทาให้เจ้ามอลลัสก์นี้ดูเหมือนกาลังลุกไหม้อยู่ ทากทะลาส่วนใหญ่นั้นเป็นสัตว์กินเนื้อที่มี ขากรรไกรเต็มไปด้วยฟันแหลมๆเรียกว่า เรดุลล่า ฟันเหล่านี้ถูกใช้เพื่อแทะเอาเนื้อออกมาจากปลาโชคร้ายที่ว่าย น้าผ่านไป ถึงแม้ว่าทากทะเลส่วนใหญ่นั้นมีความยาวน้อยกว่า 5 ซม. บางสปีชีส์นั้นก็สามารถยาวได้ถึง 30.5 ซม. ปลาไวเปอร์เขี้ยวดาบ เจ้าปลาไวเปอร์นี้มีฟันรูปร่างเหมือนเข็มยาวๆและขากรรไกรล่างที่เปิด-ปิดเหมือนบางพับ เจ้าสัตว์ประหลาด แห่งทะเลลึกเหล่านี้ชอบอยู่ในน่านน้าอุ่นๆเขตร้อนซึ่งเป็นที่ๆพวกมันจะฝังเขี้ยวลึกลงไปในร่างกายของเหยื่อเพื่อ หยุดการเคลื่อนไหว เม่นทะเลหนามแหลม เจ้าสัตว์กลมๆตัวเล็กเต็มไปด้วยหนามนี้มีหนามแหลมเพื่อปกป้องร่างกายจากนักล่า พวกมันมีสีดา, น้าตาล, ม่วง, แดงหรือเขียวมะกอก ฉลามเมก้าเมาธ์ ฉลามเมก้าเมาธ์นั้นคือฉลามน้าลึกหายากที่จะว่ายน้าไปด้วยปากเปิดเพื่อกรองเอาปลาและคริลกิน ปากใหญ่ เว่อร์ของมันนั้นกว้างไปเลยหลังตาและเต็มไปด้วยฟันแหลมเล็กๆ 50 แถว แตงกวาทะเลร้ายกาจ ถึงแม้ว่าเจ้าแตงกวาทะเละเหมือนสัตว์ที่ใช้ชีวิตง่ายๆคลานไปทั่วพื้นทะเลอย่างช้าๆ เจ้านี้ก็มีความลับดามืดอยู่ อย่างนึงซึ่งก็คือการปล่อยสารเคมีพิษชื่อโฮโลธูรินออกมาเมื่อโดนรบกวนหรือทาร้าย ซึ่งสารเคมีนี้สามารถฆ่า หรือทาให้สัตว์แถวนั้นขยับร่างกายไม่ได้ ปลามังกรดา เจ้าสัตว์เรืองแสงที่หากินตามท้องทะเลนี้มีอวัยวะปล่อยแสงที่ตั้งอยู่ตามพุงซึ่งถูกเอาไว้ใช้หลอกนักล่าโดยการ เปลี่ยนภาพเงาของตัวเอง นอกจากนี้ เจ้าปลาน่าสยองขวัญก็ยังมี "ไฟฉาย" ตั้งอยู่ตรงตาทั้ง 2 ซึ่งถูกใช้ในการ มองหาเหยื่อหรือส่งสัญญาณให้เพศตรงข้าม ปลามังกรดานี้เป็นปลาฟันแหลมซะขนาดที่ลิ้นก็มีฟันแหลมๆด้วย สตาร์เกซเซอร์น่ากลัว เจ้าปลาน่ากลัวนี้มีชื่อว่าสตาร์เกซเซอร์ (แปลได้ว่านักดูดาว) เพราะความที่มันมีลูกตาอยู่บนหัว เจ้าปลานี้จะฝัง ร่างกายแบนๆของมันไว้ใต้ทรายและใช้ตาบนหัวทั้ง 2 ส่องดูรอบๆ เจ้านี้จะฝังตัวอยู่ในทรายจนเวลาที่เหยื่อผ่าน เข้ามา ปลาไหลมอเรย์ เจ้าปลาหน้ากลัวมีฟันแหลมเต็มปากนั้นเหมาะสมที่เป็นเจ้าตัววายร้ายลูกสมุนของเออร์ซิลล่าในเรื่อง "Little Mermaid" จริงๆ ซีโรบินติดเกราะ
  • 11. 11 เจ้าปลาซีโรบินสีแดงๆนี้สามารถพบได้ในน่านน้าเขตร้อนลึกๆทั่วโลก พวกมันมีเกล็ดแข็งๆและหนวดตรงคางเพื่อ เอาไว้หลอกเหยื่อ ปลาแฟงค์ทูธน่าสะพรึงกลัว เจ้านี้ได้ชื่อมาจากฟันยาวๆเหมือนฟันแวมไพร์ มันเป็นปลาน้าลึกมากๆที่พบได้ในมหาสมุทร เจ้านี้คือปลาที่มี ฟันที่ใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับขนาดร่างกาย ถึงแม้ว่าปลาแฟงค์ทูธจะดูน่ากลัว เจ้าปลาใกล้สูญพันธุ์นี้ก็มีความ ยาวแค่ 16 ซม.เท่านั้น กุ้งฮาลโลวีน เจ้ากุ้งพาราไซส์ที่เกาะติดแตงกวาทะเลและทากทะลานี้มีชื่อว่า Periclimenes imperator มันมีสีส้มและม่วงที่ มองดูแล้วเหมือนฟักทองในวันฮาลโลวีน หมึกแวมไพร์ ถึงแม้ว่าเจ้านี้จะมีชื่อน่ากลัว มันก็เป็นสัตว์ตัวกระจิ๋วที่ยาวแค่ 15.4 ซม.เท่านั้น หมึกแวมไพร์นั้นได้ชื่อมาจาก ลูกเรืองแสงสีแดงและหนวดติดพังพืดที่ดูเหมือนผ้าคลุมผีดูดเลือด เจ้านี้อาจจะดูเหมือนหมึกยักษ์และหมึกกล้วย รวมกัน แต่ที่จริงแล้วมันคือฟอซซิลมีชีวิตที่แยกออกมาต่างหาก เจ้านี้มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Vampyroteuthis infernalis ซึ่งแปลได้ว่า "หมึกแวมไพร์จากนรก" ไอโซพอดยักษ์ เจ้าสัตว์ทะเลลึกนี้ไม่ใช่สัตว์สาหรับคนที่กลัวแมลงอย่างแน่นอน ไอโซพอดยักษ์นั้นคือสัตว์มีกระดองญาติของกุ้ง, ปูและแมลงตามสวนอื่นๆที่อาศัยอยู่ตามพื้นสมุทร เจ้านี้สามารถโตได้ถึง 40.6 ซม. ปลาโลงศพ เจ้าปลานี้มีสีสันสวยงามเหมือนใบไม้แห่งฤดูใบไม้ร่วงมากกว่าจะเป็นโลงศพ พวกมันสามารถพบได้ตามพื้นทะเล และมักจะพักผ่อนโดยใช้ครีบเล็กเป็นขาตั้ง แมงกระพรุนโครงกระดูก แมงกระพรุนคริสตัลหรือ Aequorea นี้มีร่างกายใสแจ๋วและหนวดยาว 30.5 ซม.ที่ทาให้มันดูเหมือนผีลอยได้ แมงกระพรุนสีแดงเลือด แมงกระพรุนสีแดงเลือดหรือ Atolla wyvillei เป็นสัตว์น้าลึกที่สามารถปล่อยแสงสีฟ้าน่าสะพรึงกลัวออกมาได้ เมื่อโดนรบกวน แสงที่เจ้านี้ปล่อยออกมาจากเป็นเหมือนวงล้อรอบร่างกาย ปลาตีนลายจุด ปลาตีนลายจุดหรือ Brachionichthys hirsutus คือปลาน้าลึกใกล้สูญพันธุ์และหายากแห่งออสเตรเลย มันมี ครีบหน้าอกที่เหมือนกับแขนสั้นๆติดมือ เจ้านี้สามารถว่ายน้าหรือเดินไปตามพื้นทะเลได้ด้วยครีบเหล่านี้ แต่ มันชอบที่จะเดินมากกว่า วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 12. 12 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 13. 13 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________