SlideShare a Scribd company logo
1

รายงาน
เรื่อง การสื่ อสารข้ อมูล

เสนอ
ครู จุฑารัตน์ ใจบุญ

โดย
นางสาววรรณสวรรค์ อ่ อนรู้ ที่ เลขที่ 26
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1
โรงเรียนรัษฏานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
2

คานา
ในการทารายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 31102 ของชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4/1 เพื่อให้นกเรี ยนได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล ซึ่ งในรายงานเล่มนี้มีความรู ้เกี่ยวกับ ความหมาย
ั
สื่ อกลางการสื่ อสารข้อมูล องค์ประกอบต่างๆของการสื่ อสารข้อมูล ชนิดของการสื่ อสาร อุปกรณ์สาหรับ
การสื่ อสารข้อมูลและการสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สาหรับการสื่ อสาร การเชื่ อมต่อ สัญณาญ
การส่ งข้อมูล เป็ นต้น และได้รับความรู ้จากรายงานเล่มนี้อีกมากมาย ผูจดทามีความสนใจที่ทาเรื่ องนี้ข้ ึน
้ั
ผูจดทาหวังว่าเนื้ อหาที่ผทาได้ทามีประโยชน์แก่ผที่สนใจไม่มากก็นอยหากเนื้ อหาผิดตกบกพร่ องประการ
้ั
ู้
ู้
้
ใด ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
้
คณะผูจดทา
้ั
3

สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

การสื่ อสารข้อมูลหมายถึง

4

องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่ อสาร

4

ชนิดของสื่ อสาร

5

การสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์

6

ประเภทของสัญญาณ

7

สื่ อกลางการสื่ อสาร

7

อุปกรณ์ส่อสารข้อมูล

13

การเชื่อมต่อเครื อข่ายสลับช่องทางการสื่ อสาร

17

การใช้เทคโนโลยีในการสื่ อสาร

18

ชนิดของสัญญาณข้อมูล

19

ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล

20

ประเภทของการสื่ อสาร

20

การรับสัญญาณ

21

สรุ ปการสื่ อสารข้อมูล

22
4

การสื่ อสารข้ อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผูรับและผูส่งโดยผ่าน
้
้
ช่องทางสื่ อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรื อคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวกลางในการส่ งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและ
ู้
ผูรับ เกิดความเข้าใจซึ่ งกันและกัน ในปั จจุบนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่ อสาร ทาให้เราหันมาให้
้
ั
ความสาคัญต่อการติดต่อสื่ อสารผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเชื่ อมโยงข้อมูลถึงกันได้
่
่
ทัวโลก ไม่วาจะอยูในรู ปของอินเทอร์ เน็ต หรื อด้านการติดต่อสื่ อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ
่
ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุ รกิจต่าง ๆ เป็ นการนาความรู ้จากข้อมูล
ข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสิ นใจในการดาเนินธุ รกิจต่าง ๆ ส่ งผลให้เราสามารถลดต้นทุน
ลดเวลาในการติดต่อสื่ อสารส่ งเสริ มให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่ วมกัน ซึ่ งเหมาะกับสภาพขององค์กรใน
ปั จจุบนที่ตองการการแข่งขันที่ค่อนข้างสู ง
ั ้
่
จากจุดเริ่ มแรกทาให้มีการใช้บริ การด้านการสื่ อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่วาจะเป็ นการใช้งาน
ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิ ชย์ต่าง ๆ ส่ งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนา
เทคโนโลยีสมัยใหม่เพิมขึ้นอย่างรวดเร็ ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่ อสารแบบอนาล็อก
่
เป็ นเทคโนโลยีเครื อข่ายดิจิทล ทาให้มีความเร็ วในการส่ งข้อมูลสู งขึ้น และส่ งข้อมูลได้เป็ นจานวนมาก ลด
ั
ความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล ซึ่ งสามารถส่ งสารสนเทศทั้งที่เป็ นข้อมูลประเภท เสี ยง และวิดีโอ ไปพร้อม
ๆ กัน อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่ อสารทาให้สามารถส่ งข้อมูลภาพและเสี ยงข้ามซี กโลกได้อย่างรวดเร็ ว
รวมทั้งการใช้เซลลูลาห์หรื อเครื อข่ายไร้สายอื่น ๆ นับว่าเป็ นการทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ วในการใช้
อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่าง ๆ ทาให้เราสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ทวโลก
ั่

องค์ ประกอบพืนฐานในการสื่ อสารข้ อมูล
้
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่ อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็ น 5 ส่ วนแสดงดังรู ป

องค์ประกอบการสื่ อสาร
5

1. ผูส่งหรื ออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็ นแหล่งต้นทางของการสื่ อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กาเนิดข้อมูล
้
หรื อเตรี ยมข้อมูล เช่น ผูพด คอมพิวเตอร์ ตนทาง เป็ นต้น
้ ู
้
2. ผูรับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็ นแหล่งปลายทางของการสื่ อสาร หรื อเป็ นอุปกรณ์
้
สาหรับข้อมูลที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้ดาเนินการต่อไป เช่น ผูรับ คอมพิวเตอร์ ปลายทาง เครื่ องพิมพ์
้
3. ข่าวสาร (Massage) เป็ นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่ งมีได้หลายรู ปแบบดังนี้ คือ
่
‟ ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยูในรู ปอักขระ หรื อเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสื อ เป็ นต้น
‟ เสี ยง (Voice) ข้อมูลเสี ยงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่ งอาจจะเป็ นเสี ยงที่มนุษย์หรื ออุปกรณ์
บางอย่างเป็ นตัวสร้างก็ได้
‟ รู ปภาพ (Image) เป็ นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรี ยงติดต่อกัน แต่จะมีลกษณะ
ั
เหมือนรู ปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น เมื่อเปรี ยบเทียบข้อมูลรู ปภาพกับข้อมูลข้อความ
แล้วรู ปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า
‟ สื่ อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรู ปภาพ เสี ยงและข้อความเข้าด้วยกัน โดย
สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรี ยนผ่านระบบ VDO conference เป็ นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก
4. สื่ อกลางหรื อตัวกลางในการนาส่ งข้อมูล (Medium) เป็ นสื่ อหรื อช่องทางที่ใช้ในการนาข้อมูลจากต้นทาง
ไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็ นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรื อตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น
อากาศ เป็ นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็ นข้อกาหนดหรื อข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่ อสาร
เพื่อให้ผส่งและผูรับมีความเข้าใจตรงกัน
ู้
้

ชนิดของการสื่ อสาร
การสื่ อสารข้อมูลระหว่างผูรับกับผูส่งสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท
้
้
1. การสื่ อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็ นการติดต่อสื่ อสารเพียง
ทิศทางเดียว คือผูส่งจะส่ งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ เช่น การกระจายเสี ยงของ
้
สถานีวทยุ การส่ ง e-mail เป็ นต้น แสดงดังรู ป
ิ
6

แสดงการสื่ อสารข้อมูลทิศทางเดียว
2. การสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) เป็ นการสื่ อสาร 2 ทิศทางแต่คนละ
เวลากัน เช่น วิทยุสื่อสาร เป็ นต้น แสดงดังรู ป

แสดงการสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน
3. การสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) เป็ นการสื่ อสาร 2 ทิศทาง โดย
สามารถส่ งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ เช่น การคุยโทรศัพท์ เป็ นต้น แสดงดังรู ป

แสดงการสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

การสื่ อสารข้ อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรื อการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างผูส่งต้นทางกับผูรับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อข้อมูลสื่ อผสม โดยผูส่ง
้
้
้
่
ต้นทางส่ งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรื อคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยูในรู ป
สัญญาณทางไฟฟ้ า (Electronic data) จากนั้นถึงส่ งไปยังอุปกรณ์หรื อคอมพิวเตอร์ ปลายทาง
7

ประเภทของสั ญญาณ
่
ข้อมูลที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ต้องเป็ นข้อมูลที่อยูในรู ปสัญญาณทางไฟฟ้ า ซึ่ งสามาถ
จาแนกสัญญาณได้ 2 ลักษณะ
1.

สัญญาณแบบดิจิทล(Digitals signal)
ั

เป็ นสัญญาณที่ถูกแบ่งเป็ นช่วงๆ อย่างไม่ต่อเนื่อง (Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะแบ่งออกเป็ นสอง
ระดับเพื่อแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละสถานะคือ การให้
แรงดันทางไฟฟ้ าที่แตกต่างกัน การทางานในคอมพิวเตอร์ ใช้สัญญาณดิจิทล แสดงดังรู ป
ั

แสดงสัญญาณแบบดิจิทล
ั
2.

สัญญาณอนาลอก(Analog Signal)

เป็ นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความต่อเนื่องของสัญญาณ โดยไม่เปลี่ยนแปลงแบบทันที่ทนใด
ั
เหมือนกับสัญญาณดิจิทลเช่นเสี ยงพูดหรื ออุณหภูมิในอากาศเมื่อเทียบกับเวลาที่เปลี่ยนแปลงอย่าง
ั
ต่อเนื่อง
8

แสดงสัญญาณแบบอนาลอก

สื่ อกลางการสื่ อสาร (Transmission media)
สื่ อกลางในการส่ ง การส่ งข้อมูลจากผูส่งไปยังผูรับให้ครบถ้วนและถูกต้องจาเป็ นต้องอาศัยสื่ อกลางใน
้
้
การเชื่อมต่อซึ่ งสื่ อกลาง (Medium) ทาหน้าที่เป็ นเส้นทางเดินของข้อมูล โดยคุณภาพของสัญญาณที่ถูก
ส่ งออกไปจะเกิดการสู ญเสี ยความเข้มของสัญญาณระหว่างเส้นทางการสื่ อสารทาให้ขอมูลฝั่งรับเกิด
้
ข้อผิดพลาดและเป็ นการลดทอนประสิ ทธิ ภาพของการสื่ อสารลง ซึ่ งสื่ อที่ใช้ในการส่ งผ่านข้อมูล
(Transmission medium) จึงส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการส่ งด้วย โดยสื่ อกลางในการส่ งแบ่งออกเป็ น 2
ประเภท
1. สื่ อกลางแบบมีสาย (Guide media)
เป็ นสื่ อซึ่ งอาศัยวัสดุที่จบต้องได้เป็ นตัวส่ งผ่านสัญญาณ เช่น สายทองแดง สายคู่ตีเกลียว (Twisted pair)
ั
1.1 Twisted Pair (สายคู่ตีเกลียว)
สายคู่ตีเกลียวแบ่งออกเป็ นสายคู่ตีเกลียวไม่หุมฉนวนเรี ยกสั้นๆ ว่า UTP (Unshielded Twisted Pair)
้
และสายคู่ตีเกลียวหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair) - UTP (Unshielded Twisted Pair)สายคู่บิดเกลียว
้
(twisted pair) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุมด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็ นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลด
้
การรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิล เดียวกันหรื อจากภายนอก กล่าวคือ สาย
ทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ งสัญญาณไฟฟ้ ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่ งข้อมูลด้วย
อัตราส่ งสู ง สามารถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิด
เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวางมี 2 ชนิด คือ
1.สายทองแดงแบบไม่หุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP)
้
ั
ั
มีราคาถูกและนิยมใช้กนมากที่สุด ส่ วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนี้มกจะถูกรบกวนได้
ั
ั
ง่าย และไม่ ค่อยทนทาน
9

2.สายทองแดงแบบหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP)
้
มีลกษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลี่ยวเข้าด้วยกันเพื่อลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ มรอบ
ั
้
นอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย น้ าหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าต่า สายโทรศัพท์จดเป็ นสายคู่บิดเกลี่ยวแบบ
ั
หุมฉนวนคู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุมฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้น ซึ่ งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่าง
้
้
ไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ มด้วยพลาสติก(Plastic Cover) ซึ่ งการตีเกลียวลักษณะนี้จะช่วยให้มนมี
้
ั
่
คุณสมบัติในการป้ องกันสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื่นๆ เช่น จากเครื่ องถ่ายเอกสารที่อยูใกล้ๆ เป็ น
ต้น ปัจจุบนเป็ นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรู ป
ั

UTP (Unshielded Twisted Pair)
- STP (Shield Twisted Pair)
เป็ นสายคู่ลกษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้ องกันสัญญาณรบกวน สายคู่ตีเกลียวหุ มฉนวนที่เป็ น
ั
้
โลหะถักเป็ นร่ างแหโลหะหรื อฟอยส์ ซึ่ งร่ างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็ นเกราะในการป้ องกันสัญญาณรบกวน
่
ต่างๆ ภาษาเทคนิคเรี ยกเกราะนี้วา ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณี ที่เชื่ อมต่อเป็ นระยะทางไกลเกินกว่าระยะทาง
ที่จะใช้สาย UTP แสดงดังรู ป

สายคู่ตีเกลียวหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair)
้
1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
่
สายแบบนี้จะประกอบด้วยตัวนาที่ใช้ในการส่ งข้อมูลเส้นหนึ่งอยูตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็ นสายดิน
ระหว่างตัวนาสองเส้นนี้จะมีฉนวนพลาสติก กั้นสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่ งข้อมูลได้ไกลหว่าแบบบาง
แต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า
10

สายเคเบิลแบบโคแอกเชี ยลหรื อเรี ยกสั้น ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็ นสายสื่ อสารที่มีคุณภาพที่กว่าและ
่
ราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่ วนของสายส่ งข้อมูลจะอยูตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีช้ นของตัวเหนี่ยวนาหุ ม
ั
้
อยู่ 2 ชั้น ชั้นในเป็ นฟั่นเกลียวหรื อชั้นแข็ง ชั้นนอกเป็ นฟั่นเกลียว และคันระหว่างชั้นด้วยฉนวนหนา
่
เปลือกชั้นนอกสุ ดเป็ นฉนวน สายโคแอกสามารถม้วนโค้งงอได้ง่าย มี 2 แบบ คือ 75 โอมห์ และ 50
โอมห์ ขนาดของสายมีต้ งแต่ 0.4 - 1.0 นิ้ว ชั้นตัวเหนี่ยวนาทาหน้าที่ป้องกันการสู ญเสี ยพลังงานจากแผ่
ั
รังสี เปลือกฉนวนหนาทาให้สายโคแอกมีความคงทนสามารถฝังเดินสายใต้พ้ืนดินได้ นอกจากนั้นสาย โค
แอกยังช่วยป้ องกัน "การสะท้อนกลับ" (Echo) ของเสี ยงได้อีกด้วยและลดการ รบกวนจากภายนอกได้ดี
เช่นกัน
ลักษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็ นทองแดงแล้วหุ มด้วยพลาสติกส่ วนชั้นนอกหุ มด้วยโลหะ
้
้
หรื อฟอยล์ที่ถกเป็ นร่ างแหเพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชียลมี 2 แบบ คือ แบบหนา (thick) และ
ั
ั
แบบบาง (thin) ส่ วนใหญ่ใช้กบระบบเครื อข่ายแบบ Ethernet แบบเดิม ซึ่ งใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ โดยตรงไม่ตองใช้อุปกรณ์รวมสาย (Hub) แต่ในปั จจุบนมีการใช้นอยลงเนื่ องจากถูกแทนที่ดวย
้
ั
้
้
สาย UTP ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า แสดงดังรู ป

สายโคแอกเชียล
1.3 ใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic)
ลักษณะใยแก้วนาแสงจะส่ งสัญญาณแสงวิงผ่านท่อแก้วหรื อท่อพลาสติกเล็กๆซึ่ งท่อแก้วนี้จะถูกหุ มด้วย
้
่
เจลหรื อพลาสติก เพื่อป้ องกันความเสี ยหายและการสู ญเสี ยของสัญญาณ มีขอดีตรงที่ส่งสัญญาณได้ระยะ
้
ทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน แสดงดังรู ป
11

ใยแก้วนาแสง
ใยแก้วนาแสง (Optic Fiber)
เส้นใยนาแสง (fiber optic) มีแกนกลางของสายซึ่ งประกอบด้วยเส้นใยแก้ว หรื อพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ
่
เส้นอยูรวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็ดเท่าเส้นผม และภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่ อหุ ม
้
ด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่ง ก่อนจะหุ มชั้นนอกสุ ดด้วยฉนวน การส่ งข้อมูลผ่านทางสื่ อกลางชนิดนี้จะแตกต่าง
้
จากชนิดอื่นๆ ซึ่ งใช้สัญญาณไฟฟ้ าในการส่ ง แต่การทางานของสื่ อกลางชนิดนี้จะใช้เลเซอร์ วงผ่านช่องกลวง
ิ่
ของเส้นใยแต่ละ เส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็ นกระจกสะท้อนแสง การ
ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่ งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสู งมาก และไม่
มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่ งสู ง แต่อย่างไรก็มีขอเสี ยเนื่องจาก
้
การบิดงอสายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามาถใช้สื่อกลางนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้
ั
เส้นใยนาแสงมีลกษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กบการเชื่อมโยง
ั
ระหว่างอาคารกับอาคาร หรื อระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูกนาไปใช้เป็ นสายแกนหลัก
ข้ อดีของใยแก้วนาแสดงคือ
1. ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้ าได้มาก
2. ส่ งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ตองมีตวขยายสัญญาณ
้
ั
3. การดักสัญญาณทาได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่ งแบบอื่น
4. ส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสู งและสามารถส่ งได้มาก ขนาดของสายเล็กและน้ าหนักเบา
้
2. สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media)
เป็ นสื่ อกลางประเภทที่ไม่ใช้วสดุใดๆ ในการนาสัญญาณ ซึ่ งจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทาง
ั
เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
2.1 ระบบคลื่นไมโครเวฟ
12

สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็ นสื่ อกลางในการสื่ อสารที่มีความเร็ วสู ง ส่ งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณ
ไมโครเวฟ ซึ่ งเป็ นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ตองการส่ ง และจะต้องมีสถานี
้
ที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็ นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยวหรื อ
โค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี รับ - ส่ งข้อมูลเป็ นระยะๆ และส่ งข้อมูลต่อกันเป็ น
่
ทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยูในที่สูง การส่ งข้อมูล
ด้วยสื่ อกลางชนิดนี้เหมาะกับการส่ งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมากๆ และทุรกันดาร
ปั จจุบนมีการใช้การส่ งสัญญาณข้อมูลทางไมโครเวฟกันอย่างแพร่ หลาย สาหรับการสื่ อสารข้อมูลในระยะ
ั
ทางไกล ๆ หรื อระหว่างอาคาร โดยเฉพาะในกรณี ที่ไม่สะดวกที่จะใช้สายไฟเบอร์ ออปติก หรื อการสื่ อสาร
ดาวเทียม อีกทั้งไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตั้งได้ง่ายกว่า และสามารถส่ งข้อมูลได้คราวละมาก ๆ
ด้วย อย่างไรก็ตามปั จจัยสาคัญที่ทาให้สื่อกลางไมโครเวฟเป็ นที่นิยม คือราคาที่ถูกกว่า

่
ระบบสื่ อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเชื่อมต่อเครื อข่ายที่อยูในพื้นที่ที่เชื่ อมต่อด้วยสื่ อประเภทอื่น
ลาบาก เช่น มีแม่น้ าขวางกั้นอยู่ หรื อการสื่ อสารข้ามอาคาร เป็ นต้น การส่ งสัญญาณข้อมูลไปกับคลื่น
ไมโครเวฟเป็ นการส่ งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับส่ งสัญญาณหนึ่ งไปยังอีกสถานีหนึ่ง
โดยสามารถเกิดสัญญาณรบกวน ซึ่ งสภาพดินฟ้ าอากาศมีผลต่อการส่ งคลื่นไมโครเวฟพอสมควร เช่นถ้า
สภาพอากาศมีฝนหรื อควันมาก สัญญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ด้วยเหตุน้ ีทาให้เครื่ องส่ งรับไมโครเวฟ
ส่ วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทางานในสภาพอากาศต่างๆ ที่แตกต่างกัน แสดงดังรู ป

ระบบคลื่นไมโครเวฟ
ระบบดาวเทียม ที่จริ งดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้ านันเอง ซึ่ งทาหน้าที่ขยายและทบทวน
่
่
สัญญาณข้อมูล รับและส่ งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม ที่อยูบนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพื้นจะทา
การส่ งสัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึ่ งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่ งมีตาแหน่งคงที่เมื่อเทียมกับ
่
ตาแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่ งขึ้นไปให้ลอยอยูสูงจากพื้นโลกประมาณ 23,300 กม. เครื่ อง
ทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพื้นซึ่ งมีกาลังอ่อนลงมาก
13

แล้วมาขยาย จากนั้นจะทาการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตาแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่ ง
สัญญาณข้อมูลไปด้วยความถี่ในอีกความถี่หนึ่งลงไปยังสถานีปลายทาง
่
การสื่ อสารผ่านดาวเทียมเป็ นการสื่ อสารที่สถานีรับ-ส่ งที่อยูบนพื้นดิน ส่ งตรงไปยังดาวเทียมแล้วส่ งกลับ
มายังตัวรับปลายทางที่พ้ืนดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่ อสารระบบดาวเทียมเหมาะสาหรับการติดต่อสื่ อสาร
่
ระยะไกลที่ระบบสื่ อสารอื่นๆ เข้าถึงลาบาก เช่น เดินเรื ออยูกลางทะเล แสดงดังรู ป

ระบบดาวเทียม
สัญญาณรบกวนและสภาพดินฟ้ าอากาศก็นบว่ามีผลต่อการส่ งข้อมูลจากสถานีพ้ืนโลกกับดาวเทียมอยู่
ั
พอสมควร เพราะว่าสภาพอากาศที่แปรปรวนจะรบกวนสัญญาณให้ผดเพี้ยนไปได้ โดยส่ วนใหญ่ดาวเทียม
ิ
จะถูกออกแบบมาให้ชดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านั้นเช่น ฝน หรื อหมอก เป็ นต้น
ข้อเสี ย ของการส่ งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้น
อื่น ๆ ได้ อีกทั้งยังมีเวลาประวิง(Delay Time) ในการส่ งสัญญาณเนื่ องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ
และที่สาคัญคือ มีราคาสู งในการลงทุนทาให้ค่าบริ การสู งตามขึ้นมาเช่นกัน

อุปกรณ์ สาหรับการสื่ อสาร
การสื่ อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็ นต้องอาศัยอุปกรณ์ทางอิเล็คโทรนิกค์ช่วยในการส่ งข้อมูล จากผู ้
่
่
ส่ งไปยังผูรับ ไม่วาจะเป็ นการแปลงข้อมูล เช่น ข้อความในกระดาษ รู ปภาพ ที่ไม่อยูในรู ปสัญญาณทาง
้
่
ไฟฟ้ าให้เปลี่ยนอยูในรู ปสัญญาณไฟฟ้ าหรื อสัญญาณดิจิทล อุปกรณ์ในการสื่ อสารยังรวมถึงอุปกรณ์ที่ช่วย
ั
ในการแก้ปัญหาสัญญาณอ่อนกาลัง ปั ญหาสัญญาณรบกวนเมื่อมีการส่ งสัญญาณ ดังนั้นระบบการสื่ อสาร
ข้อมูลจึงต้องมีอุปกรณ์การสื่ อสารมาช่วยในการจัดการปั ญหาต่างๆ เหล่านี้เพื่อให้สามารถส่ งข้อมูลได้อย่าง
ั
ถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ โดยในหัวข้อนี้จะขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีการใช้กบมากในระบบการสื่ อสาร
ข้อมูล
14

1. เครื่ องเทอร์มินอล (Terminal)
เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตนทางหรื อปลายทางที่ทาหน้าที่ในการส่ งและรับข้อมูล ได้แก่ เครื่ อง
้
คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลทัวๆไป (Personal Computer)
่
2. โมเด็ม (Modem)
เมื่อต้องการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตวหนึ่งที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบเครื อข่าย ไปยังระบบ
ั
อินเทอร์ เน็ต(Internet) ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า โมเด็ม ซึ่ งทาหน้าที่แปลงสัญญาณจากสัญญาณดิจิทลเป็ น
ั
สัญญาณอนาล็อกแล้วส่ งผ่านไปตามระบบโทรศัพท์
โมเด็มแต่ละประเภทจะมีคุณลักษณะที่แตกต่างกันดังนี้
1. ความเร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ
ความ เร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ที่โมเด็มสามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม
อื่นๆมีหน่วยเป็ น บิต/วินาที (bps) หรื อ กิโลบิต/วินาที (kbps) ในการบอกถึงความเร็ วของโมเด็มเพื่อให้ง่าย
ในการพูดและจดจา มักจะตัดเลขศูนย์ออกแล้วใช้ตวอักษรแทน เช่น โมเด็ม 56,000 bps จะเรี ยกว่า โมเด็ม
ั
ขนาด 56 K
2. ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล
ข้อมูล ข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้นสามารถทาให้มีขนาดกะทัดรัดด้วยวิธีการบีบอัด ข้อมูล
(compression) ทาให้สามารถส่ งข้อมูลได้ครั้งละเป็ นจานวนมากๆ เป็ นการเพิ่มความเร็ วของโมเด็มในการรับ
- ส่ งสัญญาณ
3. ความสามารถในการใช้เป็ นโทรสาร
โมเด็ม รุ่ นใหม่ๆ สามารถส่ งและรับโทรสาร (Fax capabilities) ได้ดีเช่นเดียวกับการรับ - ส่ งข้อมูล หากคุณมี
ซอฟท์แวร์ที่เหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้แฟคซ์โมเด็มเป็ นเครื่ อง พิมพ์(printer)ได้เมื่อคุณพิมพ์เข้าไปที่
แฟคซ์โมเด็มมันจะส่ งเอกสารของคุณไป ยังเครื่ องโทรสารที่ปลายทางได้
4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด
โมเด็ม จะใช้วธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่างๆ มากมายหลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการ
ิ
ยืนยันว่าจะไม่มีขอมูลใดๆสู ญหายไป ระหว่างการส่ งถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งไปยังอีกเครื่ อง
้
หนึ่ง
5. ออกแบบให้ใช้ได้ท้ งภายในและภายนอก
ั
โมเด็ม ที่จาหน่ายในท้องตลาดทัวๆ ไปจะมี 2 รู ปแบบ คือ โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (external
่
modems) และ แบบติดตั้งภายใน (internal modems)
15

6. ใช้เป็ นโทรศัพท์ได้
โมเด็มบางรุ่ นมีการใส่ วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถในการรับ - ส่ งข้อมูลและ
โทรสารด้วย
ใช้โมเด็มทาอะไรได้บาง เราสามารถใช้โมเด็มทาอะไรต่างๆ ได้หลายอย่าง เช่น
้
1. พบปะพูดคุย
2. ใช้บริ การต่างๆ จากที่บาน
้
3. ท่องไปบนอินเทอร์ เน็ต
4. เข้าถึงบริ การออนไลน์ได้
5. ดาวน์โหลดข้อมูล,รู ปภาพและโปรแกรมแชร์ แวร์ได้
6. ส่ ง - รับโทรสาร
7. ตอบรับโทรศัพท์
การเลือกซื้ อโมเด็ม
สิ่ งที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้ อโมเด็มมาใช้งาน เช่น
ั
1. เข้ากันได้กบระบบคอมพิวเตอร์ของคุณ
ั
2. เข้ากันได้กบระบบทางาน OS ของคอมพิวเตอร์ของคุณ
3. ความเร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ
4. เป็ นโมเด็มภายนอกหรื อภายใน
5. การบีบอัดข้อมูล
6. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด
7. รับ - ส่ งโทรสารได้
8. ซอฟท์แวร์สื่อสาร
3. เครื่ องทวนสัญญาณ (Repeater)
เป็ นอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ และป้ องกันการขาดหายของสัญญาณ เนื่องจาก การสื่ อสารข้อมูลต้องใช้
สัญญาณไฟฟ้ าในการรับส่ งข้อมูล โดยตามปรกติเมื่อสัญญาณทางไฟฟ้ าเดินทางจากจุดๆหนึ่งไปยังปลายทาง
จะเกิดการสู ญเสี ยแรงดันทางไฟฟ้ า และส่ งผลให้สัญญาณเกิดออ่อนกาลัง ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องมีรีพีตเตอร์มา
ช่วยในการรับส่ งข้อมูล โดยรี พีตเตอร์ ทาหน้าที่ทบทวนสัญญาณไฟฟ้ าขึ้นใหม่ให้เหมือนสัญญาณเดิมที่ถูก
ส่ ง
4. เครื่ องขยายสัญญาณ (Amplifier)
ั
เป็ นอุปกรณ์ขยายสัญญาณ โดยมีหน้าที่การทางานเหมือนกับรี พีตเตอร์ แต่จะใช้กบสัญญาณ
อนาล็อก โดยเมื่อสัญญาณอนาล็อกอ่อนกาลังเครื่ องขยายสัญญาณจะทาการขยายสัญญาณที่อ่อนกาลังให้มี
16

ค่าเพิ่มขึ้นใกล้เคียงหรื อมีค่าเท่ากับสัญญาณเดิม แต่ของเสี ยของเครื่ องขยายสัญญาณคือ มันจะขยายสัญญาณ
รบกวนที่ผสมมากับสัญญาณข้อมูลด้วย
อุปกรณ์ สื่อสารข้ อมูล (Data Communictaion Equipment)
ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าเป็ นเครื อข่าย จะต้องทาการเชื่ อมระหว่างอุปกรณ์และสื่ อกลางแบบ
ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่ งอาจมีความต้องการเฉพาะรู ปแบบต่าง ๆ เช่น การรวมข้อมูลจากหลาย ๆ จุดเพื่อส่ งผ่าน
ไปยังสายเคเบิลโทรศัพท์เพียงสายเดียว หรื ออาจต้องการขยายระยะทางการใช้งาน รวมทั้งอาจต้องเชื่ อมต่อ
ระหว่างเครื อข่ายที่มีลกษณะแตกต่างเข้าด้วยกัน ความต้องการเหล่น้ ีทาให้ตองใช้อุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในการ
ั
้
สื่ อสารข้อมูลเฉพาะงา
ฮับ หรือ รีพทเตอร์ (Hub, Repeater) เป็ นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพื่อส่ งต่อไปยังอุปกรณ์อื่น
ี
ให้ได้ระยะทางที่ยาวไกลขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลัง การรับ-ส่ ง และไม่มีการใช้
ซอฟท์แวร์ ใดๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิ ดนี้ การติดตั้งจึงทาได้ง่าย ข้อเสี ยคือ ความเร็ วในการส่ งข้อมูล จะ
เฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่ อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อมากขึ้น ฮับ เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า “LAN
Concentrator” นิยมใช้ในเครื อข่าย LAN รุ่ นเก่า
โดยใช้ฮบในการเชื่อมสายสัญญาณจากหลาย ๆ จุดเข้าเป็ นจุดเดียวในโทโปโลยีของ LAN แบบ Star เช่น
ั
10BaseT เป็ นต้น ฮับสามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
Passive Hub เป็ นฮับที่ไม่มีการขยายสัญญาณใด ๆ ที่ส่งผ่านมา ข้อดี คือ ราคาถูก และไม่จาเป็ น
ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ า
- Active Hub ทาหน้าที่ เป็ นเครื่ องทวนซ้ าสัญญาณในตัว คือ ขยายสัญญาณที่ส่งผ่านทาให้สามารถ
เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ผ่านสายเคเบิลได้ไกลขึ้น ทาให้ตองใช้พลังงานไฟฟ้ า
้
สวิทช์ หรือ บริดจ์ (Switch, Bridge)

เป็ นอุปกรณ์สาหรับเชื่ อมต่อ เครื อข่ายท้องถิ่น หรื อ แลน

(LAN) ประเภทเดียวกัน ใช้โปรโตคอลเดียวกัน สองวงเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เชื่ อมต่อ อีเธอร์ เน็ตแลน (Ethernet
LAN) หรื อ โทเคนริ งก์แลน (Token Ring LAN) ทั้งนี้ สวิทช์ หรื อ บริ ดจ์ จะมีความสามารถในการเชื่ อมต่อ
ฮาร์ ดแวร์ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่ งข้อมูลได้ดวย ความเร็ วในการส่ งข้อมูล ก็มิได้ลดลง และ
้
ติดตั้งง่าย สวิทช์ หรื อที่นิยมเรี ยกว่า “Ethernet Switch” เป็ นสะพานหลายช่องทาง (Multiport Bridge) ที่นิยม
ใช้ในระบบเครื อข่ายแลนแบบ Ethernet เพื่อเชื่ อมต่อเครื อข่ายหลายๆ Segmentเข้าด้วยกันสวิตช์จะช่วยสด
17

การจราจรระหว่างเครื อข่ายที่ไม่จาเป็ น ทาให้สามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละ
เครื อข่าย (Switching) ได้อย่างรวดเร็ ว
เร้ าเตอร์ (Router) เป็ นอุปกรณ์ที่ทางานคล้าย สวิทช์ แต่จะสามารถเชื่อมต่อ ระบบที่ใช้สื่อ หรื อ
สายสัญญาณต่างชนิ ดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ อีเธอร์ เน็ตแลน (Ethernet LAN) ที่ส่งข้อมูลแบบ ยูทีพี (UTP:
Unshield Twisted Pair) เข้ากับ อีเธอร์ เน็ตอีกเครื อข่าย แต่ใช้สายแบบโคแอ็กเชียล เป็ นอุปกรณ์เชื่อมต่อ
ระหว่างเครื อข่ายที่ใช้โปรโตคอลเครื อข่ายต่างกันและสามารถทาการ กรอง (filter) เลือกเฉพาะชนิดของ
่ ่
ข้อมูลที่ระบุไว้วาให้ผานไปได้ ทาให้ช่วยลดปั ญหาการจราจรที่คบคังของข้อมูล และเพิ่มระดับความ
ั ่
ปลอดภัยของเครื อข่าย นอกจากนี้เราเตอร์ ยงสามารถหาเส้นทาง
ั
การส่ งข้อมูลที่เหมาะสมให้โดยอัติโนมัติดวย อย่างไรก็ตามเราท์เตอร์ จะขึ้นกับโปรโตคอล ซึ่ งในการใช้งาน
้
จะต้องเลือกซื้ อเราท์เตอร์ ที่สนับสนุนโปรโตคอลของเครื อข่าย ที่ตองการจะเชื่ อมต่อเข้าด้วยกัน (เราท์เตอร์
้
อาจเป็ นฮาร์ ดแวร์ เฉพาะหรื อซอฟต์แวร์ เราท์เตอร์ ก็ได้)(Coaxial cable) ได้ นอกจากนี้ยงช่วยเลือก หรื อ
ั
กาหนดเส้นทางที่จะส่ งข้อมูลผ่าน และแปลงข้อมูลให้เหมาะสมกับการนาส่ ง แน่นอนว่าการติดตั้งย่อม
่
ยุงยากมากขึ้น
เกทเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสู งสุ ด ในการเชื่ อมต่อเครื อข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยไม่มี
ขีดจากัด ทั้งระหว่างเครื อข่ายต่างระบบ หรื อแม้กระทัง โปรโตคอล จะแตกต่างกันออกไป เกทเวย์ จะแปลง
่
่
โปรโตคอล ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ต่างชนิดกัน จัดเป็ นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง และติดตั้งใช้งานยุงยาก เกต
เวย์บางตัว จะรวมคุณสมบัติในการเป็ น เร้าเตอร์ ด้วยในตัว หรื อแม้กระทัง อาจรวมเอาฟั งก์ชนการทางาน
ั่
่
ด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เรี ยกว่า ไฟร์ วอลล์ (Firewall) เข้าไว้ดวยกัน
้
มัลติเพล็กซ์ เซอร์ (Multiplexer) เป็ นอุปกรณ์รวมสัญญาณ มักเรี ยกกันว่า“MUX” ช่วยลดค่าใช้จ่าย
ในการส่ งข้อมูลผ่านสายสื่ อสาร โดยทาการรวมข้อมูล (Multiplex) จากเครื่ องเทอร์มินลจานวนหนึ่งเข้า
ั
ด้วยกัน และส่ งผ่านสายสื่ อสารเช่นสายโทรศัพท์ และที่ปลายทาง MUX อีกตัวก็จะทาหน้าที่ แยกข้อมูล(deMultiplex)ส่ งไปยังจุดหมายที่ตองการ
้
คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) นิยมเรี ยกกันว่า คอนเซน จะเป็ นมัลติเพลกเซอร์ ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น
โดยจะสามารถทาการเก็บข้อมูลเพื่อส่ งต่อ (store and forward) โดยใช้หน่วยความจาbuffer ทาให้สามารถ
เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ที่มีความเร็ วสู งกับความเร็ วต่าได้ รวมทั้งอาจมีการบีบอัดข้อมูล (compress) เพื่อให้
สามารถส่ งข้อมูลได้มากขึ้น
18

เครื่องทวนซ้าสั ญญาณ (Repeater) เป็ นอุปกรณ์เชื่ อมต่อสาหรับขยายสัญญาณให้เครื อข่าย เพื่อเพิ่มระยะทาง
ในการรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายให้ไกลออกไปได้กว่าปกติ ข้อจากัดของเครื่ องทวนซ้ า
สัญญาณคือทาหน้าที่ในการส่ งต่อสัญญาณที่ได้รับมาเท่านั้น จาไม่มีการติดต่อกับระบบเครื อข่าย
และไม่รู้จกลักษณะของข้อมูลที่แฝงมากับสัญญาณเลย
ั

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสลับช่ องทางการสื่ อสาร (Switched Network)
รู ปแบบการเชื่อมต่อที่เป็ นแบบจุดซึ่ งต้องต่อสายสื่ อสารไว้ตลอดเวลา แต่ในทางปฏิบติจริ งแล้วการสื่ อสาร
ั
่
ข้อมูลไม่ได้ผานตลอดเวลา ดังนั้นจึงมีแนวความคิด ในการเชื่ อมต่อเครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสาร
หรื อเครื อข่ายสวิตซ์ซิ่ง เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการเชื่ อมต่อเครื อข่ายแบบจุดต่อจุดให้สามารถใช้สื่อสาร
ได้มากที่สุด
เครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารที่เห็นโดยทัวไปมี 4 รู ปแบบดังนี้
่
1. เครื อข่ายสื่ อสารโทรศัพท์ (The Telephone NetworK)
2.เครื อข่ายสื่ อสารเทลเล็กช์ (The Telex/TWX Network)
3. เครื อข่ายสื่ อสารแพคเกตสวิตซ์ซิ่ง(package Switching Network)
4. เครื อข่ายสื่ อสารสเปเซี ยลไลซ์ ดิจิตอล(Specialized Digital Network)
หลักการทางานของเครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารดังนี้
1. การเชื่อมต่อด้องเป็ นแบบจุดต่อจุด
2. ต้องมีการเชื่อมต่อการสื่ อสารกันทั้งฝ่ ายรับและส่ งก่อนจะเริ่ มรับหรื อส่ งข้อมูล เช่น หมุนเบอร์
โทรศัพท์ เป็ นต้น หลังจากสื่ อสารกันเสร็ จเรี ยบร้อยจะต้องตัดการเชื่อมต่อ เพื่อให้ผอื่นใช้สาย
ู้
สื่ อสารได้ต่อไป

การใช้ เทคโนโลยีการสื่ อสาร
การสื่ อสารข้อมูลในยุคปัจจุบน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและ
ั
การสื่ อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนิ นงาน ซึ้ งการประยุกต์เทคโนโลยีการ
สื่ อสารในองค์การมีดงนี้
ั
ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)
์
19

การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่ งข้อความ
่
อิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่ อสารนี้บุคคลที่ทาการสื่ อสารจะต้องมีชื่อและที่อยูใน
รู ปแบบอีเมล์แอดเดรส
โทรสาร (Facsimile หรื อ Fax) เป็ นการส่ งข้อมูล ซึ่ งอาจเป็ นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรื อการ
พิมพ์ รู ปภาพ หรื อกราฟต่างๆ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ที่
เรี ยกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่ องรับโทรสาร การส่ งข้อความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
และมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าการส่ งข้อมูลผ่านเครื่ องโทรสารธรรมดา
่
วอยซ์เมล (Voice Mail) เป็ นการส่ งข้อความเป็ นเสี ยงพูดให้กลายเป็ นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผาน
ระบบเครื อข่ายการสื่ อสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บนทึกเสี ยงที่เรี ยกว่าวอยซ์เมล์บอกซ์
ั
็
่
เมื่อผูรับเปิ ดฟังข้อความดังกล่าวก็จะถูกแปลงกลับไปอยูในรู ปแบบของเสี ยงพูดตามเดิม
้
การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing) เป็ นการสื่ อสารข้อมูลโดยการส่ งภาพและ
เสี ยงจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการ
บันทึกภาพและอุปกรณ์บนทึกเสี ยง โดยที่ภาพและเสี ยงที่ส่งไปนั้นอาจเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสี ยง
ั
ประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
ประชุม
การระบุตาแหน่งด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs) เป็ นระบบที่ใช้วเิ คราะห์และ
ระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรื อสิ่ งของที่เป็ นเป้ าหมายของระบบ การวิเคราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้
ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปั จจุบนมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรื อ เครื่ องบินและเริ มพัฒนามาใช้
ั
เพื่อระบุตาแหน่งของรถยนต์ดวย
้
กรุ๊ ปแวร์(groupware) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้
สามารถทางานร่ วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่ วมกันโดยผ่านระบบเครื อข่าย
การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT) ปั จจุบนผูใช้สามารถชาระค่า
ั ้
สิ นค้าและบริ การโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริ การโอนเงินอัตโนมัติ
ั
ด้วยเทคโนโลยีการสื่ อสารที่ทนสมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กนเป็ นประจา ได้แก่ การโอนเงินผ่าน
ั
ทางตู้ ATM
การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI) เป็ นระบบแลกเปลี่ยน
ข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์ มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มี
รู ปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่ งใบสั่งสิ นค้า ใบส่ งของ ใบเรี ยกเก็บเงิน
การระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถี่วทยุ(RFID) เป็ นระบบระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่น
ั
้
ิ
ั
้
ความถี่วทยุ ปัจจุบนมีการนา RFID ไปประยุกต์ใช้งานหลากหลายประเภท เช่น ห่ วงโซ่ อุปทาน
ิ
ั
ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์ มเลี้ยงสุ กร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้ าใต้ดิน
20

ระบบหนังสื อเดินทางอิเล็กทรอนิกส์
ชนิดของสั ญญาณข้ อมูล
1. สัญญาณแอนะล็อก(Analog Signal)
เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลกษณะเป็ นคลื่นไซน์ (Sine Wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และ
ั
ความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลง
สัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ขอมูลที่ตองการ
้
้
เฮิรตซ์ (Hertz) คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก วิธีวดความถี่จะนับจานวนรอบ
ั
ของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น ความถี่ 60 Hz หมายถึง ใน 1 วินาที สัญญาณมีการ
เปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ
2. สัญญาณดิจิทล(Digital Signal)
ั
สัญญาณดิจิทลเป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รู ปสัญญาณของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่
ั
ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่ อสารด้วยสัญญาณดิจิทล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ น
ั
เลขฐานสอง (0และ1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิทล
ั
Bit Rate เป็ นอัตราความเร็ วในการส่ ง
ข้อมูลแบบดิจิทล วิธีวดความเร็ วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400
ั
ั
bps หมายถึง มีความเร็ วในการส่ งข้อมูลจานวน 14,4001 บิตในระยะเวลา 1วินาที
โมเด็ม(Modulator DEModulator หรื อ Modem)
โมเด็ม(Modem) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้เป็ น
ั
สัญญาณแอนะล็อก ความเร็ วในการสื่ อสารข้อมูลของโมเด็มวันเป็ นบิตต่อวินาที (bit per second หรื อ
bps) ความเร็ วของโมเด็มโดยทัวไปมีความเร็ วเป็ น 56 กิโลบิตต่อวินาที
่

ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
1. เพื่อการสื่ อสารทางธุ รกิจที่ดีข้ ึน
2. เพื่อให้การดาเนิ นงานมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น
3. เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีข้ ึน
4. เพื่อการจัดการกระบวนการธุ รกิจที่สะดวกขึ้น
ประเภทของการสื่ อสาร
ประเภทของการสื่ อสารแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
21

- สัญญาณอนาล็อก (Analog signal)
- สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)
1.สัญญาณอนาล๊อก (Analog signal) คือ เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่มีลกษณะเป็ นคลื่นไซน์(Sine Wave)
ั
โดยหน่วยวัดสัญญาณแบบนี้ คือ เฮิรตซ์(Hertz) โดยมีลกษณะสมบัติ 2 ประการคือ
ั
„

ความ ถี่ของคลื่น (Frequency) คือ จานวนครั้งที่คลื่นทวนซ้ าระหว่างช่วงเวลาที่กาหนด หมายถึง

จานวนครั้งที่คลื่นจะเสร็ จสิ้ นหนึ่งรอบในหนึ่งวินาที ความถี่ที่ถูกเพิ่มขึ้นจะถูกแทนด้วย 1
„

ช่วง กว้างของคลื่น (Ampitude) คือ ความสู งของคลื่นภายในคาบเวลาที่กาหนด ความกว้าง หมายถึง

ความดังของสัญญาณเสี ยง โดยกาหนดให้เสี ยงที่ดงเพิ่มขึ้นถูกแทนด้วย 1
ั
2.สัญญาณดิจิตอล (digital signal) คือ เป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รู ปแบบของสัญญาณมีความ
เปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่ อสาร ด้วยสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลใน
คอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ นเลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล

การรับสั ญญาณ จากสถานีภาคพื้นดินเพื่อขยายสัญญาณ ปรับความถี่ของคลื่น และส่ งสัญญาณกลับลง
มายังสถานีภาคพื้นดินหลายจุด ในบริ เวณที่กว้างมาก เพื่อลดข้อจากัดของไมโครเวฟ และที่สาคัญคือ
ดาวเทียมสามารถสื่ อสารข้อมูลจากแหล่งส่ ง 1 แหล่งไปยังผูรับจานวนมากบนพื้นที่ต่างๆ ทัวโลก
้
่

ระบบแบบเดินสายเคเบิล (Wired system)
่
จะรวมถึงสื่ อกลางที่เป็ นสายทั้งหมด ระบบเครื อข่ายที่อุปกรณ์ต่างๆ อยูห่างกันไม่มากนัก
่
สายสัญญาณที่มีใช้งานอยูในปั จจุบน จะมีชนิ ดต่าง ๆตามลักษณะเครื อข่าย และความต้องการในการใช้งาน
ั
„

สายคู่บิดเกลียวแบบมีชีลด์และไม่มีชีลด์ (Shielded and UnShielded Twisted-Pair Cable)
22

เป็ นสายที่มีราคาถูกที่สุด ประกอบด้วยสายทองแดงที่มีฉนวนหุ มจานวน 2 เส้น นามาพันกันเป็ นเกลียว สาย
้
เกลียวคู่หนึ่งจะแทนช่องทางการสื่ อสาร (Channel) ได้หนึ่ งช่องทาง

แบบมีชีลด์

แบบไม่มีชีลด์
„

สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)

เป็ นสายสื่ อสารที่สามารถส่ งข้อมูลไกลกว่าสายแบบคู่บิดเกลียวแต่มีราคาสู งกว่า ประกอบด้วยสวนของสาย
่
ส่ งข้อมูลที่เป็ นลวดทองแดงหุ มด้วยฉนวนอยูตรงกลาง จากนั้นจะหุ มด้วยตัวนาเพื่อเป็ นสายกราวนด์และหุ ม
้
้
้
ด้วยฉนวนเป็ นเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง สามารถส่ งข้อมูลได้ท้ งแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์
ั

สรุปการสื่ อสารข้ อมูล
สรุ ปการสื่ อสารข้อมูลเป็ น การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรื อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับ
ปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีตวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์
ั
คอมพิวเตอร์ สาหรับควบคุมการส่ งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้ อาจจะมี
ผูรับผิดชอบในการกาหนดกฏเกณฑ์ในการส่ งหรื อรับข้อมูลตามรู ปแบบที่ตองการ
้
้
23

อ้างอิง
http://www.thaigoodview.com/node/53181
http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in2page1.html
http://www.chakkham.ac.th/technology/network/equ.html
http://it.benchama.ac.th/ebook/files/pg7_8.htm
http://www.nukul.ac.th/it/content/07/7-1.html
http://www.chakkham.ac.th/commueqp.html

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kru.Mam Charoensansuay
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157Surapong Jakang
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Note Narudaj
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123Anupon Jingjit
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
Srion Janeprapapong
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
ครู อินดี้
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
Mnr Prn
 

What's hot (20)

ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 

Viewers also liked

Developing an Automated Testing Strategy
Developing an Automated Testing StrategyDeveloping an Automated Testing Strategy
Developing an Automated Testing StrategyJon Kruger
 
Introduction to Labuan foundation
Introduction to Labuan foundationIntroduction to Labuan foundation
Introduction to Labuan foundation
Alex Lee
 
A Whole Team Approach To Testing
A Whole Team Approach To TestingA Whole Team Approach To Testing
A Whole Team Approach To TestingJon Kruger
 
Jeu et éducation
Jeu et éducationJeu et éducation
Jeu et éducation
Antoine Taly
 
Wild life poaching
Wild life poachingWild life poaching
Wild life poaching
Vasu Mathi
 
Purposeful Design
Purposeful Design Purposeful Design
Purposeful Design
Courtney Couch
 
Grile évaluation séance poster #2
Grile évaluation séance poster #2Grile évaluation séance poster #2
Grile évaluation séance poster #2
Antoine Taly
 
Communication skills
Communication skillsCommunication skills
Communication skills
Alish Mehta
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
Vasu Mathi
 
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
Antoine Taly
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
Vasu Mathi
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
Vasu Mathi
 
wild life poaching
wild life poachingwild life poaching
wild life poaching
Vasu Mathi
 
Family Office Services
Family Office ServicesFamily Office Services
Family Office Services
Alex Lee
 

Viewers also liked (16)

Developing an Automated Testing Strategy
Developing an Automated Testing StrategyDeveloping an Automated Testing Strategy
Developing an Automated Testing Strategy
 
Introduction to Labuan foundation
Introduction to Labuan foundationIntroduction to Labuan foundation
Introduction to Labuan foundation
 
Log
LogLog
Log
 
A Whole Team Approach To Testing
A Whole Team Approach To TestingA Whole Team Approach To Testing
A Whole Team Approach To Testing
 
Jeu et éducation
Jeu et éducationJeu et éducation
Jeu et éducation
 
Wild life poaching
Wild life poachingWild life poaching
Wild life poaching
 
Oefening
OefeningOefening
Oefening
 
Purposeful Design
Purposeful Design Purposeful Design
Purposeful Design
 
Grile évaluation séance poster #2
Grile évaluation séance poster #2Grile évaluation séance poster #2
Grile évaluation séance poster #2
 
Communication skills
Communication skillsCommunication skills
Communication skills
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
 
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
Apprendre par le jeu diu ilumens 2016
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
 
wild life poaching
wild life poachingwild life poaching
wild life poaching
 
Family Office Services
Family Office ServicesFamily Office Services
Family Office Services
 

Similar to รายงาน 55555

Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์num norbnorm
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
babiesawalee
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
Chitchanok Khanklaew
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
Srion Janeprapapong
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 

Similar to รายงาน 55555 (20)

Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 

รายงาน 55555

  • 1. 1 รายงาน เรื่อง การสื่ อสารข้ อมูล เสนอ ครู จุฑารัตน์ ใจบุญ โดย นางสาววรรณสวรรค์ อ่ อนรู้ ที่ เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 โรงเรียนรัษฏานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
  • 2. 2 คานา ในการทารายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 31102 ของชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 เพื่อให้นกเรี ยนได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล ซึ่ งในรายงานเล่มนี้มีความรู ้เกี่ยวกับ ความหมาย ั สื่ อกลางการสื่ อสารข้อมูล องค์ประกอบต่างๆของการสื่ อสารข้อมูล ชนิดของการสื่ อสาร อุปกรณ์สาหรับ การสื่ อสารข้อมูลและการสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สาหรับการสื่ อสาร การเชื่ อมต่อ สัญณาญ การส่ งข้อมูล เป็ นต้น และได้รับความรู ้จากรายงานเล่มนี้อีกมากมาย ผูจดทามีความสนใจที่ทาเรื่ องนี้ข้ ึน ้ั ผูจดทาหวังว่าเนื้ อหาที่ผทาได้ทามีประโยชน์แก่ผที่สนใจไม่มากก็นอยหากเนื้ อหาผิดตกบกพร่ องประการ ้ั ู้ ู้ ้ ใด ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้ า การสื่ อสารข้อมูลหมายถึง 4 องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่ อสาร 4 ชนิดของสื่ อสาร 5 การสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภทของสัญญาณ 7 สื่ อกลางการสื่ อสาร 7 อุปกรณ์ส่อสารข้อมูล 13 การเชื่อมต่อเครื อข่ายสลับช่องทางการสื่ อสาร 17 การใช้เทคโนโลยีในการสื่ อสาร 18 ชนิดของสัญญาณข้อมูล 19 ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล 20 ประเภทของการสื่ อสาร 20 การรับสัญญาณ 21 สรุ ปการสื่ อสารข้อมูล 22
  • 4. 4 การสื่ อสารข้ อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผูรับและผูส่งโดยผ่าน ้ ้ ช่องทางสื่ อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรื อคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวกลางในการส่ งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและ ู้ ผูรับ เกิดความเข้าใจซึ่ งกันและกัน ในปั จจุบนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่ อสาร ทาให้เราหันมาให้ ้ ั ความสาคัญต่อการติดต่อสื่ อสารผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเชื่ อมโยงข้อมูลถึงกันได้ ่ ่ ทัวโลก ไม่วาจะอยูในรู ปของอินเทอร์ เน็ต หรื อด้านการติดต่อสื่ อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ่ ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุ รกิจต่าง ๆ เป็ นการนาความรู ้จากข้อมูล ข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสิ นใจในการดาเนินธุ รกิจต่าง ๆ ส่ งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการติดต่อสื่ อสารส่ งเสริ มให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่ วมกัน ซึ่ งเหมาะกับสภาพขององค์กรใน ปั จจุบนที่ตองการการแข่งขันที่ค่อนข้างสู ง ั ้ ่ จากจุดเริ่ มแรกทาให้มีการใช้บริ การด้านการสื่ อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่วาจะเป็ นการใช้งาน ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิ ชย์ต่าง ๆ ส่ งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนา เทคโนโลยีสมัยใหม่เพิมขึ้นอย่างรวดเร็ ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่ อสารแบบอนาล็อก ่ เป็ นเทคโนโลยีเครื อข่ายดิจิทล ทาให้มีความเร็ วในการส่ งข้อมูลสู งขึ้น และส่ งข้อมูลได้เป็ นจานวนมาก ลด ั ความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล ซึ่ งสามารถส่ งสารสนเทศทั้งที่เป็ นข้อมูลประเภท เสี ยง และวิดีโอ ไปพร้อม ๆ กัน อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่ อสารทาให้สามารถส่ งข้อมูลภาพและเสี ยงข้ามซี กโลกได้อย่างรวดเร็ ว รวมทั้งการใช้เซลลูลาห์หรื อเครื อข่ายไร้สายอื่น ๆ นับว่าเป็ นการทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ วในการใช้ อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่าง ๆ ทาให้เราสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ทวโลก ั่ องค์ ประกอบพืนฐานในการสื่ อสารข้ อมูล ้ องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่ อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็ น 5 ส่ วนแสดงดังรู ป องค์ประกอบการสื่ อสาร
  • 5. 5 1. ผูส่งหรื ออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็ นแหล่งต้นทางของการสื่ อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กาเนิดข้อมูล ้ หรื อเตรี ยมข้อมูล เช่น ผูพด คอมพิวเตอร์ ตนทาง เป็ นต้น ้ ู ้ 2. ผูรับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็ นแหล่งปลายทางของการสื่ อสาร หรื อเป็ นอุปกรณ์ ้ สาหรับข้อมูลที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้ดาเนินการต่อไป เช่น ผูรับ คอมพิวเตอร์ ปลายทาง เครื่ องพิมพ์ ้ 3. ข่าวสาร (Massage) เป็ นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่ งมีได้หลายรู ปแบบดังนี้ คือ ่ ‟ ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยูในรู ปอักขระ หรื อเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสื อ เป็ นต้น ‟ เสี ยง (Voice) ข้อมูลเสี ยงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่ งอาจจะเป็ นเสี ยงที่มนุษย์หรื ออุปกรณ์ บางอย่างเป็ นตัวสร้างก็ได้ ‟ รู ปภาพ (Image) เป็ นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรี ยงติดต่อกัน แต่จะมีลกษณะ ั เหมือนรู ปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น เมื่อเปรี ยบเทียบข้อมูลรู ปภาพกับข้อมูลข้อความ แล้วรู ปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า ‟ สื่ อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรู ปภาพ เสี ยงและข้อความเข้าด้วยกัน โดย สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรี ยนผ่านระบบ VDO conference เป็ นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก 4. สื่ อกลางหรื อตัวกลางในการนาส่ งข้อมูล (Medium) เป็ นสื่ อหรื อช่องทางที่ใช้ในการนาข้อมูลจากต้นทาง ไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็ นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรื อตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็ นต้น 5. โปรโตคอล (Protocol) เป็ นข้อกาหนดหรื อข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่ อสาร เพื่อให้ผส่งและผูรับมีความเข้าใจตรงกัน ู้ ้ ชนิดของการสื่ อสาร การสื่ อสารข้อมูลระหว่างผูรับกับผูส่งสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท ้ ้ 1. การสื่ อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็ นการติดต่อสื่ อสารเพียง ทิศทางเดียว คือผูส่งจะส่ งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ เช่น การกระจายเสี ยงของ ้ สถานีวทยุ การส่ ง e-mail เป็ นต้น แสดงดังรู ป ิ
  • 6. 6 แสดงการสื่ อสารข้อมูลทิศทางเดียว 2. การสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) เป็ นการสื่ อสาร 2 ทิศทางแต่คนละ เวลากัน เช่น วิทยุสื่อสาร เป็ นต้น แสดงดังรู ป แสดงการสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน 3. การสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) เป็ นการสื่ อสาร 2 ทิศทาง โดย สามารถส่ งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ เช่น การคุยโทรศัพท์ เป็ นต้น แสดงดังรู ป แสดงการสื่ อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน การสื่ อสารข้ อมูลทางคอมพิวเตอร์ การสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรื อการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างผูส่งต้นทางกับผูรับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อข้อมูลสื่ อผสม โดยผูส่ง ้ ้ ้ ่ ต้นทางส่ งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรื อคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยูในรู ป สัญญาณทางไฟฟ้ า (Electronic data) จากนั้นถึงส่ งไปยังอุปกรณ์หรื อคอมพิวเตอร์ ปลายทาง
  • 7. 7 ประเภทของสั ญญาณ ่ ข้อมูลที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ต้องเป็ นข้อมูลที่อยูในรู ปสัญญาณทางไฟฟ้ า ซึ่ งสามาถ จาแนกสัญญาณได้ 2 ลักษณะ 1. สัญญาณแบบดิจิทล(Digitals signal) ั เป็ นสัญญาณที่ถูกแบ่งเป็ นช่วงๆ อย่างไม่ต่อเนื่อง (Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะแบ่งออกเป็ นสอง ระดับเพื่อแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละสถานะคือ การให้ แรงดันทางไฟฟ้ าที่แตกต่างกัน การทางานในคอมพิวเตอร์ ใช้สัญญาณดิจิทล แสดงดังรู ป ั แสดงสัญญาณแบบดิจิทล ั 2. สัญญาณอนาลอก(Analog Signal) เป็ นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความต่อเนื่องของสัญญาณ โดยไม่เปลี่ยนแปลงแบบทันที่ทนใด ั เหมือนกับสัญญาณดิจิทลเช่นเสี ยงพูดหรื ออุณหภูมิในอากาศเมื่อเทียบกับเวลาที่เปลี่ยนแปลงอย่าง ั ต่อเนื่อง
  • 8. 8 แสดงสัญญาณแบบอนาลอก สื่ อกลางการสื่ อสาร (Transmission media) สื่ อกลางในการส่ ง การส่ งข้อมูลจากผูส่งไปยังผูรับให้ครบถ้วนและถูกต้องจาเป็ นต้องอาศัยสื่ อกลางใน ้ ้ การเชื่อมต่อซึ่ งสื่ อกลาง (Medium) ทาหน้าที่เป็ นเส้นทางเดินของข้อมูล โดยคุณภาพของสัญญาณที่ถูก ส่ งออกไปจะเกิดการสู ญเสี ยความเข้มของสัญญาณระหว่างเส้นทางการสื่ อสารทาให้ขอมูลฝั่งรับเกิด ้ ข้อผิดพลาดและเป็ นการลดทอนประสิ ทธิ ภาพของการสื่ อสารลง ซึ่ งสื่ อที่ใช้ในการส่ งผ่านข้อมูล (Transmission medium) จึงส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการส่ งด้วย โดยสื่ อกลางในการส่ งแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1. สื่ อกลางแบบมีสาย (Guide media) เป็ นสื่ อซึ่ งอาศัยวัสดุที่จบต้องได้เป็ นตัวส่ งผ่านสัญญาณ เช่น สายทองแดง สายคู่ตีเกลียว (Twisted pair) ั 1.1 Twisted Pair (สายคู่ตีเกลียว) สายคู่ตีเกลียวแบ่งออกเป็ นสายคู่ตีเกลียวไม่หุมฉนวนเรี ยกสั้นๆ ว่า UTP (Unshielded Twisted Pair) ้ และสายคู่ตีเกลียวหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair) - UTP (Unshielded Twisted Pair)สายคู่บิดเกลียว ้ (twisted pair) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุมด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็ นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลด ้ การรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิล เดียวกันหรื อจากภายนอก กล่าวคือ สาย ทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ งสัญญาณไฟฟ้ ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่ งข้อมูลด้วย อัตราส่ งสู ง สามารถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิด เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวางมี 2 ชนิด คือ 1.สายทองแดงแบบไม่หุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) ้ ั ั มีราคาถูกและนิยมใช้กนมากที่สุด ส่ วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนี้มกจะถูกรบกวนได้ ั ั ง่าย และไม่ ค่อยทนทาน
  • 9. 9 2.สายทองแดงแบบหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) ้ มีลกษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลี่ยวเข้าด้วยกันเพื่อลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ มรอบ ั ้ นอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย น้ าหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าต่า สายโทรศัพท์จดเป็ นสายคู่บิดเกลี่ยวแบบ ั หุมฉนวนคู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุมฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้น ซึ่ งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่าง ้ ้ ไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ มด้วยพลาสติก(Plastic Cover) ซึ่ งการตีเกลียวลักษณะนี้จะช่วยให้มนมี ้ ั ่ คุณสมบัติในการป้ องกันสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื่นๆ เช่น จากเครื่ องถ่ายเอกสารที่อยูใกล้ๆ เป็ น ต้น ปัจจุบนเป็ นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรู ป ั UTP (Unshielded Twisted Pair) - STP (Shield Twisted Pair) เป็ นสายคู่ลกษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้ องกันสัญญาณรบกวน สายคู่ตีเกลียวหุ มฉนวนที่เป็ น ั ้ โลหะถักเป็ นร่ างแหโลหะหรื อฟอยส์ ซึ่ งร่ างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็ นเกราะในการป้ องกันสัญญาณรบกวน ่ ต่างๆ ภาษาเทคนิคเรี ยกเกราะนี้วา ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณี ที่เชื่ อมต่อเป็ นระยะทางไกลเกินกว่าระยะทาง ที่จะใช้สาย UTP แสดงดังรู ป สายคู่ตีเกลียวหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair) ้ 1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ่ สายแบบนี้จะประกอบด้วยตัวนาที่ใช้ในการส่ งข้อมูลเส้นหนึ่งอยูตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็ นสายดิน ระหว่างตัวนาสองเส้นนี้จะมีฉนวนพลาสติก กั้นสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่ งข้อมูลได้ไกลหว่าแบบบาง แต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า
  • 10. 10 สายเคเบิลแบบโคแอกเชี ยลหรื อเรี ยกสั้น ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็ นสายสื่ อสารที่มีคุณภาพที่กว่าและ ่ ราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่ วนของสายส่ งข้อมูลจะอยูตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีช้ นของตัวเหนี่ยวนาหุ ม ั ้ อยู่ 2 ชั้น ชั้นในเป็ นฟั่นเกลียวหรื อชั้นแข็ง ชั้นนอกเป็ นฟั่นเกลียว และคันระหว่างชั้นด้วยฉนวนหนา ่ เปลือกชั้นนอกสุ ดเป็ นฉนวน สายโคแอกสามารถม้วนโค้งงอได้ง่าย มี 2 แบบ คือ 75 โอมห์ และ 50 โอมห์ ขนาดของสายมีต้ งแต่ 0.4 - 1.0 นิ้ว ชั้นตัวเหนี่ยวนาทาหน้าที่ป้องกันการสู ญเสี ยพลังงานจากแผ่ ั รังสี เปลือกฉนวนหนาทาให้สายโคแอกมีความคงทนสามารถฝังเดินสายใต้พ้ืนดินได้ นอกจากนั้นสาย โค แอกยังช่วยป้ องกัน "การสะท้อนกลับ" (Echo) ของเสี ยงได้อีกด้วยและลดการ รบกวนจากภายนอกได้ดี เช่นกัน ลักษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็ นทองแดงแล้วหุ มด้วยพลาสติกส่ วนชั้นนอกหุ มด้วยโลหะ ้ ้ หรื อฟอยล์ที่ถกเป็ นร่ างแหเพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชียลมี 2 แบบ คือ แบบหนา (thick) และ ั ั แบบบาง (thin) ส่ วนใหญ่ใช้กบระบบเครื อข่ายแบบ Ethernet แบบเดิม ซึ่ งใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่ อง คอมพิวเตอร์ โดยตรงไม่ตองใช้อุปกรณ์รวมสาย (Hub) แต่ในปั จจุบนมีการใช้นอยลงเนื่ องจากถูกแทนที่ดวย ้ ั ้ ้ สาย UTP ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า แสดงดังรู ป สายโคแอกเชียล 1.3 ใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic) ลักษณะใยแก้วนาแสงจะส่ งสัญญาณแสงวิงผ่านท่อแก้วหรื อท่อพลาสติกเล็กๆซึ่ งท่อแก้วนี้จะถูกหุ มด้วย ้ ่ เจลหรื อพลาสติก เพื่อป้ องกันความเสี ยหายและการสู ญเสี ยของสัญญาณ มีขอดีตรงที่ส่งสัญญาณได้ระยะ ้ ทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน แสดงดังรู ป
  • 11. 11 ใยแก้วนาแสง ใยแก้วนาแสง (Optic Fiber) เส้นใยนาแสง (fiber optic) มีแกนกลางของสายซึ่ งประกอบด้วยเส้นใยแก้ว หรื อพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ ่ เส้นอยูรวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็ดเท่าเส้นผม และภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่ อหุ ม ้ ด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่ง ก่อนจะหุ มชั้นนอกสุ ดด้วยฉนวน การส่ งข้อมูลผ่านทางสื่ อกลางชนิดนี้จะแตกต่าง ้ จากชนิดอื่นๆ ซึ่ งใช้สัญญาณไฟฟ้ าในการส่ ง แต่การทางานของสื่ อกลางชนิดนี้จะใช้เลเซอร์ วงผ่านช่องกลวง ิ่ ของเส้นใยแต่ละ เส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็ นกระจกสะท้อนแสง การ ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่ งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสู งมาก และไม่ มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่ งสู ง แต่อย่างไรก็มีขอเสี ยเนื่องจาก ้ การบิดงอสายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามาถใช้สื่อกลางนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้ ั เส้นใยนาแสงมีลกษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กบการเชื่อมโยง ั ระหว่างอาคารกับอาคาร หรื อระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูกนาไปใช้เป็ นสายแกนหลัก ข้ อดีของใยแก้วนาแสดงคือ 1. ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้ าได้มาก 2. ส่ งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ตองมีตวขยายสัญญาณ ้ ั 3. การดักสัญญาณทาได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่ งแบบอื่น 4. ส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสู งและสามารถส่ งได้มาก ขนาดของสายเล็กและน้ าหนักเบา ้ 2. สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media) เป็ นสื่ อกลางประเภทที่ไม่ใช้วสดุใดๆ ในการนาสัญญาณ ซึ่ งจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทาง ั เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า 2.1 ระบบคลื่นไมโครเวฟ
  • 12. 12 สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็ นสื่ อกลางในการสื่ อสารที่มีความเร็ วสู ง ส่ งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณ ไมโครเวฟ ซึ่ งเป็ นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ตองการส่ ง และจะต้องมีสถานี ้ ที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็ นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยวหรื อ โค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี รับ - ส่ งข้อมูลเป็ นระยะๆ และส่ งข้อมูลต่อกันเป็ น ่ ทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยูในที่สูง การส่ งข้อมูล ด้วยสื่ อกลางชนิดนี้เหมาะกับการส่ งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมากๆ และทุรกันดาร ปั จจุบนมีการใช้การส่ งสัญญาณข้อมูลทางไมโครเวฟกันอย่างแพร่ หลาย สาหรับการสื่ อสารข้อมูลในระยะ ั ทางไกล ๆ หรื อระหว่างอาคาร โดยเฉพาะในกรณี ที่ไม่สะดวกที่จะใช้สายไฟเบอร์ ออปติก หรื อการสื่ อสาร ดาวเทียม อีกทั้งไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตั้งได้ง่ายกว่า และสามารถส่ งข้อมูลได้คราวละมาก ๆ ด้วย อย่างไรก็ตามปั จจัยสาคัญที่ทาให้สื่อกลางไมโครเวฟเป็ นที่นิยม คือราคาที่ถูกกว่า ่ ระบบสื่ อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเชื่อมต่อเครื อข่ายที่อยูในพื้นที่ที่เชื่ อมต่อด้วยสื่ อประเภทอื่น ลาบาก เช่น มีแม่น้ าขวางกั้นอยู่ หรื อการสื่ อสารข้ามอาคาร เป็ นต้น การส่ งสัญญาณข้อมูลไปกับคลื่น ไมโครเวฟเป็ นการส่ งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับส่ งสัญญาณหนึ่ งไปยังอีกสถานีหนึ่ง โดยสามารถเกิดสัญญาณรบกวน ซึ่ งสภาพดินฟ้ าอากาศมีผลต่อการส่ งคลื่นไมโครเวฟพอสมควร เช่นถ้า สภาพอากาศมีฝนหรื อควันมาก สัญญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ด้วยเหตุน้ ีทาให้เครื่ องส่ งรับไมโครเวฟ ส่ วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทางานในสภาพอากาศต่างๆ ที่แตกต่างกัน แสดงดังรู ป ระบบคลื่นไมโครเวฟ ระบบดาวเทียม ที่จริ งดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้ านันเอง ซึ่ งทาหน้าที่ขยายและทบทวน ่ ่ สัญญาณข้อมูล รับและส่ งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม ที่อยูบนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพื้นจะทา การส่ งสัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึ่ งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่ งมีตาแหน่งคงที่เมื่อเทียมกับ ่ ตาแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่ งขึ้นไปให้ลอยอยูสูงจากพื้นโลกประมาณ 23,300 กม. เครื่ อง ทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพื้นซึ่ งมีกาลังอ่อนลงมาก
  • 13. 13 แล้วมาขยาย จากนั้นจะทาการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตาแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่ ง สัญญาณข้อมูลไปด้วยความถี่ในอีกความถี่หนึ่งลงไปยังสถานีปลายทาง ่ การสื่ อสารผ่านดาวเทียมเป็ นการสื่ อสารที่สถานีรับ-ส่ งที่อยูบนพื้นดิน ส่ งตรงไปยังดาวเทียมแล้วส่ งกลับ มายังตัวรับปลายทางที่พ้ืนดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่ อสารระบบดาวเทียมเหมาะสาหรับการติดต่อสื่ อสาร ่ ระยะไกลที่ระบบสื่ อสารอื่นๆ เข้าถึงลาบาก เช่น เดินเรื ออยูกลางทะเล แสดงดังรู ป ระบบดาวเทียม สัญญาณรบกวนและสภาพดินฟ้ าอากาศก็นบว่ามีผลต่อการส่ งข้อมูลจากสถานีพ้ืนโลกกับดาวเทียมอยู่ ั พอสมควร เพราะว่าสภาพอากาศที่แปรปรวนจะรบกวนสัญญาณให้ผดเพี้ยนไปได้ โดยส่ วนใหญ่ดาวเทียม ิ จะถูกออกแบบมาให้ชดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านั้นเช่น ฝน หรื อหมอก เป็ นต้น ข้อเสี ย ของการส่ งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้น อื่น ๆ ได้ อีกทั้งยังมีเวลาประวิง(Delay Time) ในการส่ งสัญญาณเนื่ องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สาคัญคือ มีราคาสู งในการลงทุนทาให้ค่าบริ การสู งตามขึ้นมาเช่นกัน อุปกรณ์ สาหรับการสื่ อสาร การสื่ อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็ นต้องอาศัยอุปกรณ์ทางอิเล็คโทรนิกค์ช่วยในการส่ งข้อมูล จากผู ้ ่ ่ ส่ งไปยังผูรับ ไม่วาจะเป็ นการแปลงข้อมูล เช่น ข้อความในกระดาษ รู ปภาพ ที่ไม่อยูในรู ปสัญญาณทาง ้ ่ ไฟฟ้ าให้เปลี่ยนอยูในรู ปสัญญาณไฟฟ้ าหรื อสัญญาณดิจิทล อุปกรณ์ในการสื่ อสารยังรวมถึงอุปกรณ์ที่ช่วย ั ในการแก้ปัญหาสัญญาณอ่อนกาลัง ปั ญหาสัญญาณรบกวนเมื่อมีการส่ งสัญญาณ ดังนั้นระบบการสื่ อสาร ข้อมูลจึงต้องมีอุปกรณ์การสื่ อสารมาช่วยในการจัดการปั ญหาต่างๆ เหล่านี้เพื่อให้สามารถส่ งข้อมูลได้อย่าง ั ถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ โดยในหัวข้อนี้จะขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีการใช้กบมากในระบบการสื่ อสาร ข้อมูล
  • 14. 14 1. เครื่ องเทอร์มินอล (Terminal) เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตนทางหรื อปลายทางที่ทาหน้าที่ในการส่ งและรับข้อมูล ได้แก่ เครื่ อง ้ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลทัวๆไป (Personal Computer) ่ 2. โมเด็ม (Modem) เมื่อต้องการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตวหนึ่งที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบเครื อข่าย ไปยังระบบ ั อินเทอร์ เน็ต(Internet) ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า โมเด็ม ซึ่ งทาหน้าที่แปลงสัญญาณจากสัญญาณดิจิทลเป็ น ั สัญญาณอนาล็อกแล้วส่ งผ่านไปตามระบบโทรศัพท์ โมเด็มแต่ละประเภทจะมีคุณลักษณะที่แตกต่างกันดังนี้ 1. ความเร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ ความ เร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ที่โมเด็มสามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม อื่นๆมีหน่วยเป็ น บิต/วินาที (bps) หรื อ กิโลบิต/วินาที (kbps) ในการบอกถึงความเร็ วของโมเด็มเพื่อให้ง่าย ในการพูดและจดจา มักจะตัดเลขศูนย์ออกแล้วใช้ตวอักษรแทน เช่น โมเด็ม 56,000 bps จะเรี ยกว่า โมเด็ม ั ขนาด 56 K 2. ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ข้อมูล ข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้นสามารถทาให้มีขนาดกะทัดรัดด้วยวิธีการบีบอัด ข้อมูล (compression) ทาให้สามารถส่ งข้อมูลได้ครั้งละเป็ นจานวนมากๆ เป็ นการเพิ่มความเร็ วของโมเด็มในการรับ - ส่ งสัญญาณ 3. ความสามารถในการใช้เป็ นโทรสาร โมเด็ม รุ่ นใหม่ๆ สามารถส่ งและรับโทรสาร (Fax capabilities) ได้ดีเช่นเดียวกับการรับ - ส่ งข้อมูล หากคุณมี ซอฟท์แวร์ที่เหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้แฟคซ์โมเด็มเป็ นเครื่ อง พิมพ์(printer)ได้เมื่อคุณพิมพ์เข้าไปที่ แฟคซ์โมเด็มมันจะส่ งเอกสารของคุณไป ยังเครื่ องโทรสารที่ปลายทางได้ 4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็ม จะใช้วธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่างๆ มากมายหลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการ ิ ยืนยันว่าจะไม่มีขอมูลใดๆสู ญหายไป ระหว่างการส่ งถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งไปยังอีกเครื่ อง ้ หนึ่ง 5. ออกแบบให้ใช้ได้ท้ งภายในและภายนอก ั โมเด็ม ที่จาหน่ายในท้องตลาดทัวๆ ไปจะมี 2 รู ปแบบ คือ โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (external ่ modems) และ แบบติดตั้งภายใน (internal modems)
  • 15. 15 6. ใช้เป็ นโทรศัพท์ได้ โมเด็มบางรุ่ นมีการใส่ วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถในการรับ - ส่ งข้อมูลและ โทรสารด้วย ใช้โมเด็มทาอะไรได้บาง เราสามารถใช้โมเด็มทาอะไรต่างๆ ได้หลายอย่าง เช่น ้ 1. พบปะพูดคุย 2. ใช้บริ การต่างๆ จากที่บาน ้ 3. ท่องไปบนอินเทอร์ เน็ต 4. เข้าถึงบริ การออนไลน์ได้ 5. ดาวน์โหลดข้อมูล,รู ปภาพและโปรแกรมแชร์ แวร์ได้ 6. ส่ ง - รับโทรสาร 7. ตอบรับโทรศัพท์ การเลือกซื้ อโมเด็ม สิ่ งที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้ อโมเด็มมาใช้งาน เช่น ั 1. เข้ากันได้กบระบบคอมพิวเตอร์ของคุณ ั 2. เข้ากันได้กบระบบทางาน OS ของคอมพิวเตอร์ของคุณ 3. ความเร็ วในการรับ - ส่ งสัญญาณ 4. เป็ นโมเด็มภายนอกหรื อภายใน 5. การบีบอัดข้อมูล 6. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด 7. รับ - ส่ งโทรสารได้ 8. ซอฟท์แวร์สื่อสาร 3. เครื่ องทวนสัญญาณ (Repeater) เป็ นอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ และป้ องกันการขาดหายของสัญญาณ เนื่องจาก การสื่ อสารข้อมูลต้องใช้ สัญญาณไฟฟ้ าในการรับส่ งข้อมูล โดยตามปรกติเมื่อสัญญาณทางไฟฟ้ าเดินทางจากจุดๆหนึ่งไปยังปลายทาง จะเกิดการสู ญเสี ยแรงดันทางไฟฟ้ า และส่ งผลให้สัญญาณเกิดออ่อนกาลัง ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องมีรีพีตเตอร์มา ช่วยในการรับส่ งข้อมูล โดยรี พีตเตอร์ ทาหน้าที่ทบทวนสัญญาณไฟฟ้ าขึ้นใหม่ให้เหมือนสัญญาณเดิมที่ถูก ส่ ง 4. เครื่ องขยายสัญญาณ (Amplifier) ั เป็ นอุปกรณ์ขยายสัญญาณ โดยมีหน้าที่การทางานเหมือนกับรี พีตเตอร์ แต่จะใช้กบสัญญาณ อนาล็อก โดยเมื่อสัญญาณอนาล็อกอ่อนกาลังเครื่ องขยายสัญญาณจะทาการขยายสัญญาณที่อ่อนกาลังให้มี
  • 16. 16 ค่าเพิ่มขึ้นใกล้เคียงหรื อมีค่าเท่ากับสัญญาณเดิม แต่ของเสี ยของเครื่ องขยายสัญญาณคือ มันจะขยายสัญญาณ รบกวนที่ผสมมากับสัญญาณข้อมูลด้วย อุปกรณ์ สื่อสารข้ อมูล (Data Communictaion Equipment) ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าเป็ นเครื อข่าย จะต้องทาการเชื่ อมระหว่างอุปกรณ์และสื่ อกลางแบบ ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่ งอาจมีความต้องการเฉพาะรู ปแบบต่าง ๆ เช่น การรวมข้อมูลจากหลาย ๆ จุดเพื่อส่ งผ่าน ไปยังสายเคเบิลโทรศัพท์เพียงสายเดียว หรื ออาจต้องการขยายระยะทางการใช้งาน รวมทั้งอาจต้องเชื่ อมต่อ ระหว่างเครื อข่ายที่มีลกษณะแตกต่างเข้าด้วยกัน ความต้องการเหล่น้ ีทาให้ตองใช้อุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในการ ั ้ สื่ อสารข้อมูลเฉพาะงา ฮับ หรือ รีพทเตอร์ (Hub, Repeater) เป็ นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพื่อส่ งต่อไปยังอุปกรณ์อื่น ี ให้ได้ระยะทางที่ยาวไกลขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลัง การรับ-ส่ ง และไม่มีการใช้ ซอฟท์แวร์ ใดๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิ ดนี้ การติดตั้งจึงทาได้ง่าย ข้อเสี ยคือ ความเร็ วในการส่ งข้อมูล จะ เฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่ อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อมากขึ้น ฮับ เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า “LAN Concentrator” นิยมใช้ในเครื อข่าย LAN รุ่ นเก่า โดยใช้ฮบในการเชื่อมสายสัญญาณจากหลาย ๆ จุดเข้าเป็ นจุดเดียวในโทโปโลยีของ LAN แบบ Star เช่น ั 10BaseT เป็ นต้น ฮับสามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ Passive Hub เป็ นฮับที่ไม่มีการขยายสัญญาณใด ๆ ที่ส่งผ่านมา ข้อดี คือ ราคาถูก และไม่จาเป็ น ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ า - Active Hub ทาหน้าที่ เป็ นเครื่ องทวนซ้ าสัญญาณในตัว คือ ขยายสัญญาณที่ส่งผ่านทาให้สามารถ เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ผ่านสายเคเบิลได้ไกลขึ้น ทาให้ตองใช้พลังงานไฟฟ้ า ้ สวิทช์ หรือ บริดจ์ (Switch, Bridge) เป็ นอุปกรณ์สาหรับเชื่ อมต่อ เครื อข่ายท้องถิ่น หรื อ แลน (LAN) ประเภทเดียวกัน ใช้โปรโตคอลเดียวกัน สองวงเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เชื่ อมต่อ อีเธอร์ เน็ตแลน (Ethernet LAN) หรื อ โทเคนริ งก์แลน (Token Ring LAN) ทั้งนี้ สวิทช์ หรื อ บริ ดจ์ จะมีความสามารถในการเชื่ อมต่อ ฮาร์ ดแวร์ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่ งข้อมูลได้ดวย ความเร็ วในการส่ งข้อมูล ก็มิได้ลดลง และ ้ ติดตั้งง่าย สวิทช์ หรื อที่นิยมเรี ยกว่า “Ethernet Switch” เป็ นสะพานหลายช่องทาง (Multiport Bridge) ที่นิยม ใช้ในระบบเครื อข่ายแลนแบบ Ethernet เพื่อเชื่ อมต่อเครื อข่ายหลายๆ Segmentเข้าด้วยกันสวิตช์จะช่วยสด
  • 17. 17 การจราจรระหว่างเครื อข่ายที่ไม่จาเป็ น ทาให้สามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละ เครื อข่าย (Switching) ได้อย่างรวดเร็ ว เร้ าเตอร์ (Router) เป็ นอุปกรณ์ที่ทางานคล้าย สวิทช์ แต่จะสามารถเชื่อมต่อ ระบบที่ใช้สื่อ หรื อ สายสัญญาณต่างชนิ ดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ อีเธอร์ เน็ตแลน (Ethernet LAN) ที่ส่งข้อมูลแบบ ยูทีพี (UTP: Unshield Twisted Pair) เข้ากับ อีเธอร์ เน็ตอีกเครื อข่าย แต่ใช้สายแบบโคแอ็กเชียล เป็ นอุปกรณ์เชื่อมต่อ ระหว่างเครื อข่ายที่ใช้โปรโตคอลเครื อข่ายต่างกันและสามารถทาการ กรอง (filter) เลือกเฉพาะชนิดของ ่ ่ ข้อมูลที่ระบุไว้วาให้ผานไปได้ ทาให้ช่วยลดปั ญหาการจราจรที่คบคังของข้อมูล และเพิ่มระดับความ ั ่ ปลอดภัยของเครื อข่าย นอกจากนี้เราเตอร์ ยงสามารถหาเส้นทาง ั การส่ งข้อมูลที่เหมาะสมให้โดยอัติโนมัติดวย อย่างไรก็ตามเราท์เตอร์ จะขึ้นกับโปรโตคอล ซึ่ งในการใช้งาน ้ จะต้องเลือกซื้ อเราท์เตอร์ ที่สนับสนุนโปรโตคอลของเครื อข่าย ที่ตองการจะเชื่ อมต่อเข้าด้วยกัน (เราท์เตอร์ ้ อาจเป็ นฮาร์ ดแวร์ เฉพาะหรื อซอฟต์แวร์ เราท์เตอร์ ก็ได้)(Coaxial cable) ได้ นอกจากนี้ยงช่วยเลือก หรื อ ั กาหนดเส้นทางที่จะส่ งข้อมูลผ่าน และแปลงข้อมูลให้เหมาะสมกับการนาส่ ง แน่นอนว่าการติดตั้งย่อม ่ ยุงยากมากขึ้น เกทเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสู งสุ ด ในการเชื่ อมต่อเครื อข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยไม่มี ขีดจากัด ทั้งระหว่างเครื อข่ายต่างระบบ หรื อแม้กระทัง โปรโตคอล จะแตกต่างกันออกไป เกทเวย์ จะแปลง ่ ่ โปรโตคอล ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ต่างชนิดกัน จัดเป็ นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง และติดตั้งใช้งานยุงยาก เกต เวย์บางตัว จะรวมคุณสมบัติในการเป็ น เร้าเตอร์ ด้วยในตัว หรื อแม้กระทัง อาจรวมเอาฟั งก์ชนการทางาน ั่ ่ ด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เรี ยกว่า ไฟร์ วอลล์ (Firewall) เข้าไว้ดวยกัน ้ มัลติเพล็กซ์ เซอร์ (Multiplexer) เป็ นอุปกรณ์รวมสัญญาณ มักเรี ยกกันว่า“MUX” ช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการส่ งข้อมูลผ่านสายสื่ อสาร โดยทาการรวมข้อมูล (Multiplex) จากเครื่ องเทอร์มินลจานวนหนึ่งเข้า ั ด้วยกัน และส่ งผ่านสายสื่ อสารเช่นสายโทรศัพท์ และที่ปลายทาง MUX อีกตัวก็จะทาหน้าที่ แยกข้อมูล(deMultiplex)ส่ งไปยังจุดหมายที่ตองการ ้ คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) นิยมเรี ยกกันว่า คอนเซน จะเป็ นมัลติเพลกเซอร์ ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น โดยจะสามารถทาการเก็บข้อมูลเพื่อส่ งต่อ (store and forward) โดยใช้หน่วยความจาbuffer ทาให้สามารถ เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ที่มีความเร็ วสู งกับความเร็ วต่าได้ รวมทั้งอาจมีการบีบอัดข้อมูล (compress) เพื่อให้ สามารถส่ งข้อมูลได้มากขึ้น
  • 18. 18 เครื่องทวนซ้าสั ญญาณ (Repeater) เป็ นอุปกรณ์เชื่ อมต่อสาหรับขยายสัญญาณให้เครื อข่าย เพื่อเพิ่มระยะทาง ในการรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายให้ไกลออกไปได้กว่าปกติ ข้อจากัดของเครื่ องทวนซ้ า สัญญาณคือทาหน้าที่ในการส่ งต่อสัญญาณที่ได้รับมาเท่านั้น จาไม่มีการติดต่อกับระบบเครื อข่าย และไม่รู้จกลักษณะของข้อมูลที่แฝงมากับสัญญาณเลย ั การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสลับช่ องทางการสื่ อสาร (Switched Network) รู ปแบบการเชื่อมต่อที่เป็ นแบบจุดซึ่ งต้องต่อสายสื่ อสารไว้ตลอดเวลา แต่ในทางปฏิบติจริ งแล้วการสื่ อสาร ั ่ ข้อมูลไม่ได้ผานตลอดเวลา ดังนั้นจึงมีแนวความคิด ในการเชื่ อมต่อเครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสาร หรื อเครื อข่ายสวิตซ์ซิ่ง เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการเชื่ อมต่อเครื อข่ายแบบจุดต่อจุดให้สามารถใช้สื่อสาร ได้มากที่สุด เครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารที่เห็นโดยทัวไปมี 4 รู ปแบบดังนี้ ่ 1. เครื อข่ายสื่ อสารโทรศัพท์ (The Telephone NetworK) 2.เครื อข่ายสื่ อสารเทลเล็กช์ (The Telex/TWX Network) 3. เครื อข่ายสื่ อสารแพคเกตสวิตซ์ซิ่ง(package Switching Network) 4. เครื อข่ายสื่ อสารสเปเซี ยลไลซ์ ดิจิตอล(Specialized Digital Network) หลักการทางานของเครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารดังนี้ 1. การเชื่อมต่อด้องเป็ นแบบจุดต่อจุด 2. ต้องมีการเชื่อมต่อการสื่ อสารกันทั้งฝ่ ายรับและส่ งก่อนจะเริ่ มรับหรื อส่ งข้อมูล เช่น หมุนเบอร์ โทรศัพท์ เป็ นต้น หลังจากสื่ อสารกันเสร็ จเรี ยบร้อยจะต้องตัดการเชื่อมต่อ เพื่อให้ผอื่นใช้สาย ู้ สื่ อสารได้ต่อไป การใช้ เทคโนโลยีการสื่ อสาร การสื่ อสารข้อมูลในยุคปัจจุบน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและ ั การสื่ อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนิ นงาน ซึ้ งการประยุกต์เทคโนโลยีการ สื่ อสารในองค์การมีดงนี้ ั ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail) ์
  • 19. 19 การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่ งข้อความ ่ อิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่ อสารนี้บุคคลที่ทาการสื่ อสารจะต้องมีชื่อและที่อยูใน รู ปแบบอีเมล์แอดเดรส โทรสาร (Facsimile หรื อ Fax) เป็ นการส่ งข้อมูล ซึ่ งอาจเป็ นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรื อการ พิมพ์ รู ปภาพ หรื อกราฟต่างๆ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ที่ เรี ยกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่ องรับโทรสาร การส่ งข้อความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าการส่ งข้อมูลผ่านเครื่ องโทรสารธรรมดา ่ วอยซ์เมล (Voice Mail) เป็ นการส่ งข้อความเป็ นเสี ยงพูดให้กลายเป็ นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผาน ระบบเครื อข่ายการสื่ อสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บนทึกเสี ยงที่เรี ยกว่าวอยซ์เมล์บอกซ์ ั ็ ่ เมื่อผูรับเปิ ดฟังข้อความดังกล่าวก็จะถูกแปลงกลับไปอยูในรู ปแบบของเสี ยงพูดตามเดิม ้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing) เป็ นการสื่ อสารข้อมูลโดยการส่ งภาพและ เสี ยงจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการ บันทึกภาพและอุปกรณ์บนทึกเสี ยง โดยที่ภาพและเสี ยงที่ส่งไปนั้นอาจเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสี ยง ั ประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ประชุม การระบุตาแหน่งด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs) เป็ นระบบที่ใช้วเิ คราะห์และ ระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรื อสิ่ งของที่เป็ นเป้ าหมายของระบบ การวิเคราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้ ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปั จจุบนมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรื อ เครื่ องบินและเริ มพัฒนามาใช้ ั เพื่อระบุตาแหน่งของรถยนต์ดวย ้ กรุ๊ ปแวร์(groupware) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้ สามารถทางานร่ วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่ วมกันโดยผ่านระบบเครื อข่าย การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT) ปั จจุบนผูใช้สามารถชาระค่า ั ้ สิ นค้าและบริ การโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริ การโอนเงินอัตโนมัติ ั ด้วยเทคโนโลยีการสื่ อสารที่ทนสมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กนเป็ นประจา ได้แก่ การโอนเงินผ่าน ั ทางตู้ ATM การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI) เป็ นระบบแลกเปลี่ยน ข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์ มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มี รู ปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่ งใบสั่งสิ นค้า ใบส่ งของ ใบเรี ยกเก็บเงิน การระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถี่วทยุ(RFID) เป็ นระบบระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่น ั ้ ิ ั ้ ความถี่วทยุ ปัจจุบนมีการนา RFID ไปประยุกต์ใช้งานหลากหลายประเภท เช่น ห่ วงโซ่ อุปทาน ิ ั ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์ มเลี้ยงสุ กร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้ าใต้ดิน
  • 20. 20 ระบบหนังสื อเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ ชนิดของสั ญญาณข้ อมูล 1. สัญญาณแอนะล็อก(Analog Signal) เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลกษณะเป็ นคลื่นไซน์ (Sine Wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และ ั ความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลง สัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ขอมูลที่ตองการ ้ ้ เฮิรตซ์ (Hertz) คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก วิธีวดความถี่จะนับจานวนรอบ ั ของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น ความถี่ 60 Hz หมายถึง ใน 1 วินาที สัญญาณมีการ เปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ 2. สัญญาณดิจิทล(Digital Signal) ั สัญญาณดิจิทลเป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รู ปสัญญาณของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ ั ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่ อสารด้วยสัญญาณดิจิทล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ น ั เลขฐานสอง (0และ1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิทล ั Bit Rate เป็ นอัตราความเร็ วในการส่ ง ข้อมูลแบบดิจิทล วิธีวดความเร็ วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 ั ั bps หมายถึง มีความเร็ วในการส่ งข้อมูลจานวน 14,4001 บิตในระยะเวลา 1วินาที โมเด็ม(Modulator DEModulator หรื อ Modem) โมเด็ม(Modem) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้เป็ น ั สัญญาณแอนะล็อก ความเร็ วในการสื่ อสารข้อมูลของโมเด็มวันเป็ นบิตต่อวินาที (bit per second หรื อ bps) ความเร็ วของโมเด็มโดยทัวไปมีความเร็ วเป็ น 56 กิโลบิตต่อวินาที ่ ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล 1. เพื่อการสื่ อสารทางธุ รกิจที่ดีข้ ึน 2. เพื่อให้การดาเนิ นงานมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น 3. เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีข้ ึน 4. เพื่อการจัดการกระบวนการธุ รกิจที่สะดวกขึ้น ประเภทของการสื่ อสาร ประเภทของการสื่ อสารแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
  • 21. 21 - สัญญาณอนาล็อก (Analog signal) - สัญญาณดิจิตอล (Digital signal) 1.สัญญาณอนาล๊อก (Analog signal) คือ เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่มีลกษณะเป็ นคลื่นไซน์(Sine Wave) ั โดยหน่วยวัดสัญญาณแบบนี้ คือ เฮิรตซ์(Hertz) โดยมีลกษณะสมบัติ 2 ประการคือ ั „ ความ ถี่ของคลื่น (Frequency) คือ จานวนครั้งที่คลื่นทวนซ้ าระหว่างช่วงเวลาที่กาหนด หมายถึง จานวนครั้งที่คลื่นจะเสร็ จสิ้ นหนึ่งรอบในหนึ่งวินาที ความถี่ที่ถูกเพิ่มขึ้นจะถูกแทนด้วย 1 „ ช่วง กว้างของคลื่น (Ampitude) คือ ความสู งของคลื่นภายในคาบเวลาที่กาหนด ความกว้าง หมายถึง ความดังของสัญญาณเสี ยง โดยกาหนดให้เสี ยงที่ดงเพิ่มขึ้นถูกแทนด้วย 1 ั 2.สัญญาณดิจิตอล (digital signal) คือ เป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รู ปแบบของสัญญาณมีความ เปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่ อสาร ด้วยสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ นเลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล การรับสั ญญาณ จากสถานีภาคพื้นดินเพื่อขยายสัญญาณ ปรับความถี่ของคลื่น และส่ งสัญญาณกลับลง มายังสถานีภาคพื้นดินหลายจุด ในบริ เวณที่กว้างมาก เพื่อลดข้อจากัดของไมโครเวฟ และที่สาคัญคือ ดาวเทียมสามารถสื่ อสารข้อมูลจากแหล่งส่ ง 1 แหล่งไปยังผูรับจานวนมากบนพื้นที่ต่างๆ ทัวโลก ้ ่ ระบบแบบเดินสายเคเบิล (Wired system) ่ จะรวมถึงสื่ อกลางที่เป็ นสายทั้งหมด ระบบเครื อข่ายที่อุปกรณ์ต่างๆ อยูห่างกันไม่มากนัก ่ สายสัญญาณที่มีใช้งานอยูในปั จจุบน จะมีชนิ ดต่าง ๆตามลักษณะเครื อข่าย และความต้องการในการใช้งาน ั „ สายคู่บิดเกลียวแบบมีชีลด์และไม่มีชีลด์ (Shielded and UnShielded Twisted-Pair Cable)
  • 22. 22 เป็ นสายที่มีราคาถูกที่สุด ประกอบด้วยสายทองแดงที่มีฉนวนหุ มจานวน 2 เส้น นามาพันกันเป็ นเกลียว สาย ้ เกลียวคู่หนึ่งจะแทนช่องทางการสื่ อสาร (Channel) ได้หนึ่ งช่องทาง แบบมีชีลด์ แบบไม่มีชีลด์ „ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็ นสายสื่ อสารที่สามารถส่ งข้อมูลไกลกว่าสายแบบคู่บิดเกลียวแต่มีราคาสู งกว่า ประกอบด้วยสวนของสาย ่ ส่ งข้อมูลที่เป็ นลวดทองแดงหุ มด้วยฉนวนอยูตรงกลาง จากนั้นจะหุ มด้วยตัวนาเพื่อเป็ นสายกราวนด์และหุ ม ้ ้ ้ ด้วยฉนวนเป็ นเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง สามารถส่ งข้อมูลได้ท้ งแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ ั สรุปการสื่ อสารข้ อมูล สรุ ปการสื่ อสารข้อมูลเป็ น การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรื อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับ ปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีตวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์ ั คอมพิวเตอร์ สาหรับควบคุมการส่ งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้ อาจจะมี ผูรับผิดชอบในการกาหนดกฏเกณฑ์ในการส่ งหรื อรับข้อมูลตามรู ปแบบที่ตองการ ้ ้