SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
มะเร็งกระดูก (Malignant bone tumor)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
มะเร็งกระดูก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Malignant bone tumor
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน อัญชลี จันทร์นวล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ที่มาโรคมะเร็งกระดูก (Bone cancer หรือ Malignant bone tumor) เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อย สามารถเกิด
ได้กับคนทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุต่ากว่า 35 ปี พบได้มากที่สุดในช่วงอายุ 10-
20 ปี (ในเด็กโต วัยรุ่น และคนวัยหนุ่มสาว) และพบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเล็กน้อย ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกนี้จะพบได้
เพียงประมาณ 6% ของโรคมะเร็งในเด็กทั้งหมด
ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยใหม่เป็นโรคนี้เพียงประมาณปีละ 650-700 ราย ทั้งนี้พบได้มากกว่าในเด็กหญิงประมาณ 2-
3 เท่า ส่วนในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2544-2546 พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ในเพศชาย 1.1 รายต่อประชากรชาย
100,000 คนต่อปี และพบในเพศหญิง 0.8 รายต่อประชากรหญิง 100,000 คนต่อปี
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคมะเร็งกระดูก
2.เพื่อศึกษาอาการโรคมะเร็งกระดูก
3.เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ถึงอันตรายและสาเหตุของมะเร็งกระดูก
4.เพื่อให้ทุกคนรู้จักป้องกันและรับมือ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่สนใจและผู้ที่มีคนรู้จักเป็นโรคมะเร็งกระดูก
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ชนิดของโรคมะเร็งกระดูก
โรคมะเร็งกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่ต้นเหตุเกิดในกระดูก) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ค่อนข้าง
น้อย และชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่เกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งจากที่อื่น) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้เป็นส่วนใหญ่
โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (Primary bone cancer) คือ โรคมะเร็งที่เกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อกระดูกเอง โดย
มักจะเกิดในอวัยวะพวกรยางค์แขนขา ซึ่งตาแหน่งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นใกล้กับข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อไหล่
เป็นต้น โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้เป็นกลุ่มมะเร็งที่พบได้ค่อนข้างน้อย (จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบ
อุบัติการณ์ของโรคประมาณ 0.8 รายต่อประชากร 100,000 คน) พบเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบในวัยเด็ก
ค่อนข้างมาก ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมินี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่พบได้บ่อย ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ
ชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูก” เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด มักพบในเด็ก
และวัยหนุ่มสาว โดยเฉพาะในช่วงอายุประมาณ 10-20 ปี
ชนิดคอนโดรซาร์โคมา (Chondrosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูกอ่อน” เป็นชนิดที่พบได้ในคนอายุ
มากกว่า 50 ปี
ชนิดอีวิง (Ewing’s sarcoma) เป็นชนิดที่พบได้มากในเด็กและคนอายุน้อยกว่า 30 ปี
ส่วนชนิดอื่น ๆ ที่พบได้น้อย คือ ชนิดคอร์โดมา (Chordoma) ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่มักเกิดบริเวณกระดูกสันหลัง
ส่วนล่าง นอกจากนี้ยังมีชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) และชนิดไฟโบรซาร์โคมา (Fibrosarcoma)
ซึ่งเป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่ออ่อนที่เกิดขึ้นในกระดูกซึ่งพบได้น้อยมาก โดยชนิด Malignant fibrous histiocytoma
(MFH) ส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ใหญ่ บริเวณที่พบบ่อยคือ แขนและขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเข่า ส่วนชนิดไฟโบรซาร์โค
มา (Fibrosarcoma) จะพบได้บ่อยในผู้ใหญ่วัยกลางคนและมักพบที่ต้นขา
โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (Secondary bone cancer) หรือเรียกว่า “โรคมะเร็งแพร่กระจายเข้าสู่กระดูก” คือ
โรคมะเร็งกระดูกที่เกิดจากโรคมะเร็งอื่น ๆ ที่แพร่กระจายมาที่กระดูก ซึ่งประมาณ 30-40% ของมะเร็งที่กระจายมา
จะพบที่แขนขา และประมาณ 50-60% จะกระจายมาตรงส่วนกลางของร่างกาย เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง
กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน เป็นต้น (เซลล์มะเร็งจะแพร่กระจายทางเลือดไปยังระบบน้าเหลืองและไปยังอวัยวะ
ต่าง ๆ ซึ่งตาแหน่งที่พบการแพร่กระจายได้บ่อย คือ กระดูก ตับ และปอด)
โรคมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่กระดูกมีได้เกือบทุกชนิดและมักจะกระจายมาที่กระดูกในช่วงระยะท้าย ๆ ของโรค แต่
จะมีโรคมะเร็งเพียง 5 ชนิดที่กระจายมาที่กระดูกตั้งแต่ในระยะแรกของโรค ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็ง
ต่อมลูกหมาก มะเร็งต่อมไทรอยด์ และมะเร็งไต
โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมินี้จึงเป็นกลุ่มที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็งที่เป็นอยู่ จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
ปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ 30,000 คนต่อปี และมะเร็งได้แพร่กระจายไปที่กระดูกประมาณ 20%
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะท้าย ๆ ของโรค
โรคมะเร็งกระดูกเกิดได้กับกระดูกส่วนใดบ้าง
4
โรคมะเร็งกระดูกสามารถพบเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย แต่โดยส่วนใหญ่มักเกิดกับกระดูกเพียงชิ้นเดียว แต่
สามารถแพร่กระจายทางกระแสเลือดไปสู่กระดูกชิ้นอื่น ๆ ได้ในลักษณะเดียวกับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้โอกาสเกิด
ในด้านซ้ายและด้านขวามีใกล้เคียงกัน โดยโรคมะเร็งกระดูกแต่ละชนิดก็พบเกิดได้แตกต่างกันไป เช่น โรคมะเร็งออสตี
โอซาร์โคมา (Osteosarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขน โดยเฉพาะบริเวณใกล้ ๆ กับข้อกระดูก โดยจะพบ
เกิดกับ
กระดูกต้นขาประมาณ 50%
กระดูกขาส่วนล่างประมาณ 30%
กระดูกต้นแขนประมาณ 10%
กระดูกลาตัว (สะโพกหรือกระดูกซี่โครง) ประมาณ 5%
กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3%
กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 2%
โรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขนได้มากกว่ากระดูกส่วนอื่น ๆ เช่นกัน แต่มักเกิด
ตรงกลางของท่อนกระดูก นอกจากนั้นจะพบเกิดกับกระดูกของลาตัวได้สูง โดยจะพบเกิดกับ
กระดูกลาตัวประมาณ 50%
กระดูกต้นขาและกระดูกขาประมาณ 30%
กระดูกต้นแขนและกระดูกแขนประมาณ 15%
กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3%
กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 5-10%
สาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ คือ ความผิดปกติ
ทางพันธุกรรม เพราะพบโรคนี้ได้สูงขึ้นในผู้ที่มีพันธุกรรมผิดปกติบางชนิด
การเป็นโรคมะเร็งบางชนิดมาก่อน เช่น โรคมะเร็งจอตาในเด็ก (Retinoblastoma) ซึ่งเด็กที่เป็นโรคมะเร็งชนิดนี้จะมี
โอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ได้สูงกว่าคนทั่วไป (ส่วนผู้ที่มีประวัติคนใน
ครอบครัวเป็นโรคมะเร็งจอตาในเด็กมาก่อนก็มีความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งชนิดนี้ด้วยเช่นกัน)
เชื้อชาติ เพราะพบโรคนี้ได้สูงในคนผิวขาวและผิวดามากกว่าคนเอเชียประมาณ 2 เท่า
เกิดจากการรักษาในปัจจุบัน เช่น การให้ยาเคมีบาบัด การให้รังสีรักษา ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดโรคมะเร็งได้ง่าย
โดยเฉพาะโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) เช่น ในผู้ที่มีประวัติที่กระดูกเคยได้รับรังสีบาง
ชนิดในปริมาณสูงในวัยเด็กจากการฉายรังสีรักษามะเร็งชนิดอื่น ๆ
เนื้องอกชนิดไม่ลุกลามหรือโรคของกระดูกอื่น ๆ เช่น Paget’s disease และ Fibrousdysplasia จะเพิ่มความเสี่ยงใน
การเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma)
การกระตุ้นโดยสิ่งแวดล้อม เช่น สารเคมี ยาฆ่าแมลง สารรังสี เป็นต้น ซึ่งคนที่ทางานที่อยู่กับสารเคมีหรือทางานใน
โรงงานที่เกี่ยวข้องกับรังสีหรือทางการแพทย์ จะทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งได้
5
การเปลี่ยนแปลงทางโลกาภิวัตน์ อาจทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกได้สูงขึ้น เพราะในปัจจุบันเราพบผู้ป่วยที่เป็น
โรคนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิด และในอนาคตข้างหน้าอาจจะมีการเพิ่มของโรคมากขึ้น
กว่าเดิม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ ฯลฯ ก็จัดเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งกระดูกด้วย
เช่นกัน
ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิก็คือ ปัจจัยเสี่ยงใด ๆ ก็ตามที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง เช่น การ
สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การขาดการออกกาลังกาย ภาวะดื่ม เป็นต้น
(ปัจจัยข้างต้นนี้มีส่วนในการก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้สูงถึง 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็ง ในขณะที่ปัจจัยทางพันธุกรรมมีผล
เพียง 5-10%) ซึ่งโรคมะเร็งแต่ละชนิดก็มีปัจจัยเสี่ยงที่จาเพาะแตกต่างกันไป เช่น การสูบบุหรี่ทาให้เกิดมะเร็งปอด
เป็นต้น ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่กระดูกได้นั้นยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบว่า
ผู้ป่วย 2 รายที่เป็นมะเร็งชนิดเดียวกัน ผู้ป่วยรายที่มีเนื้องอกมะเร็งที่ใหญ่กว่าและมีการแพร่กระจายไปยังต่อม
น้าเหลืองจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปที่กระดูกได้มากกว่า และสาหรับโรคมะเร็งบางชนิดและโรคมะเร็งที่มี
ระดับความรุนแรงสูงจะมีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปยังกระดูกได้มากกว่า
สาเหตุที่ทาให้โรคมะเร็งบางชนิดมีการแพร่กระจายมาที่กระดูก เนื่องจากเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดจะมีความสามารถใน
การเกาะยึดกับเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน มะเร็งที่มักเกิดการแพร่กระจายมาที่กระดูกจะมีความสามารถในการจับกับเซลล์
กระดูกได้ดี นอกจากนี้เซลล์กระดูกยังมีการสร้างสารทาให้มะเร็งเจริญได้ดีอีกด้วย
อาการของโรคมะเร็งกระดูก
อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการปวดและบวม ซึ่งการปวดอาจเป็น ๆ หาย ๆ ใน
ระยะแรก (ส่วนใหญ่จะปวดในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน) และจะค่อย ๆ ปวดมากขึ้นและปวดตลอดเวลาใน
ระยะเวลาต่อมา (อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายหรือต้องใช้แขนหรือขา)
เมื่อก้อนมะเร็งโตขึ้นผู้ป่วยจะคลาได้ก้อนแข็งหรือปุ่มยื่นออกมาจากกระดูกตรงกระดูกส่วนที่เป็นโรค ซึ่งส่วนใหญ่จะ
พบที่กระดูกขา (บริเวณรอบ ๆ เข่า) และกระดูกแขน มีส่วนน้อยที่พบที่บริเวณอื่น ๆ ถ้าเกิดใกล้บริเวณข้อจะส่งผลให้
เกิดอาการข้อบวม เจ็บ เกิดการติดขัดของการใช้ข้อหรือข้อยึดติด ส่วนกระดูกแตกหรือหักจะพบได้ในระยะท้าย ๆ
ของโรค (กระดูกหักเป็นผลสืบเนื่องมาจากโรค ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งกระดูก) ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจมาพบ
แพทย์ด้วยอาการกระดูกแตกหักจากการกระทบกระแทกเล็กน้อยหรือเดินแล้วหัก และเข้าใจผิดคิดว่าเป็นกระดูก
แตกหักจากอุบัติเหตุทั่วไปได้
นอกจากนี้ยังอาจพบอาการอื่น ๆ เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ซีด น้าหนักตัวลดลง เป็นต้น
เมื่อโรคลุกลาม อาจส่งผลให้ก้อนเนื้อแตกเป็นแผลเลือดออกเรื้อรัง หรือโรคแพร่กระจายไปที่ปอดทาให้มีอาการหอบ
เหนื่อย หรือแพร่กระจายเข้าไขกระดูกก่อให้เกิดภาวะซีดและอ่อนเพลีย บางครั้งอาจมีไข้ต่า ๆ เมื่อโรคลุกลาม ส่วนอีก
อาการที่อาจพบได้ คือ คลาพบต่อมน้าเหลืองข้อพับที่ใกล้กับกระดูกที่เกิดโรคโต แต่ไม่เจ็บ เช่น ต่อมน้าเหลืองที่ขา
หนีบโตเมื่อโรคเกิดกับกระดูกต้นขา เป็นต้น
6
อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกบางรายอาจมีรอยโรคเกิดขึ้นแต่ไม่มีอาการก็ได้ และแพทย์มักตรวจพบจากการที่
ผู้ป่วยมาตรวจสุขภาพประจาปี หรือเกิดอุบัติเหตุ เล่นกีฬา และมาตรวจเอกซเรย์แล้วพบ ซึ่งปัจจุบันมักจะพบลักษณะ
นี้มากขึ้น
อาการมะเร็งกระดูก
อาการของมะเร็งกระดูก
IMAGE SOURCE : prohealthblog.com, www.bestonlinemd.com
อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ เมื่อมะเร็งแพร่กระจายมาที่กระดูกจะทาให้กระดูกอ่อนลงและหักง่าย ทั้งนี้เป็น
เพราะเซลล์มะเร็งจะสร้างสารทาลายกระดูก เมื่อกระดูกสลายก็จะทาให้แคลเซียมเข้าสู่กระแสเลือดและก่อให้เกิด
ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงตามมา ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยหมดสติหรือชักได้ นอกจากนี้ในบางกรณียังพบว่า เซลล์มะเร็ง
สามารถทาให้กระดูกหนาขึ้นผิดปกติ (Osteoblastic) ซึ่งพบได้น้อยกว่าแบบที่สลายกระดูก (Osteolytic) อย่างไรก็
ตาม ทั้งสองแบบก็สามารถทาให้เกิดอาการปวดกระดูกได้ทั้งคู่ สาหรับอาการและอาการแสดงของมะเร็งกระดูกชนิด
ทุติยภูมิ คือ
ปวดกระดูก ส่วนมากจะพบเป็นอาการแรก การปวดช่วงแรก ๆ มักจะเป็น ๆ หาย ๆ ปวดมากในตอนกลางคืน ถ้ามี
การเคลื่อนไหวจะดีขึ้น หลังจากนั้นอาการปวดจะเป็นบ่อยขึ้นและอาจแย่ลงถ้ามีการเคลื่อนไหวร่างกาย
กระดูกหัก ซึ่งมักเกิดจากการหกล้ม ยกของ อุบัติเหตุ หรือแม้กระทั่งในขณะที่กาลังทากิจวัตรประจาวันตามปกติ โดย
ตาแหน่งที่พบได้บ่อย ๆ คือ กระดูกขา กระดูกแขน และกระดูกสันหลัง เมื่อกระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการปวดอย่าง
รุนแรงขึ้นมาอย่างกะทันหันและไม่สามารถเคลื่อนไหวส่วนที่หักได้
การกดทับไขสันหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการชา อ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือมีปัญหาเรื่องการปัสสาวะ
ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง ผู้ป่วยจะมีอาการท้องผูก คลื่นไส้ เบื่ออาหาร กระหายน้า ปัสสาวะบ่อย ร่างกายขาดน้า
สับสน ง่วงซึม หมดสติ
เห็นก้อนไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นข้อแตกต่างกับมะเร็งชนิดปฐมภูมิที่จะเด่นเรื่องก้อน ส่วนมะเร็งชนิดนี้จะไม่เด่นเรื่องก้อน แต่
จะมีภาวการณ์เป็นอัมพาตหรือการอ่อนแรงเกิดขึ้นได้
ระยะของโรคมะเร็งกระดูก
โรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมิแบ่งออกเป็น 4 ระยะเช่นเดียวกับโรคมะเร็งอื่น ๆ และบางระยะยังแบ่งย่อยได้อีก แต่ที่
แตกต่างจากโรคมะเร็งชนิดอื่น คือ ระยะของโรคจะขึ้นอยู่กับการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
คือ เซลล์มะเร็งแบ่งตัวสูง และเซลล์มะเร็งแบ่งตัวต่า ซึ่งทั้ง 4 ระยะของโรค คือ
ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่จุดเดียวในกระดูกและเป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวต่า
ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งลุกลามจุดเดียวในกระดูก แต่เป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวสูง
ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งลุกลามหลายจุดในกระดูก หรือลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงกระดูก
ระยะที่ 4 โรคมะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้าเหลือง และ/หรือแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งมักแพร่กระจายไปสู่กระดูก
ชนิดอื่น ๆ ปอด และไขกระดูก
7
ความรุนแรงของโรคมะเร็งกระดูก
โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิค่อนข้างรุนแรง ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาจะมีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ซึ่งเป็นชนิดที่พบบ่อยในเด็กมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง
ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้ในระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี แต่โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้ก็มีข้อดีคือ
ถ้าตรวจพบในระยะแรกและมะเร็งยังไม่มีการแพร่กระจาย ผู้ป่วยอาจได้รับการรักษาให้หายขาดได้ เพียงแต่ว่า
โรคมะเร็งกระดูกจะไม่เหมือนกับโรคมะเร็งชนิดอื่นตรงที่ไม่สามารถตรวจก่อนได้ จาเป็นต้องอาศัยความสงสัยจาก
ผู้ปกครองว่าบุตรหลานมีความผิดปกติหรือไม่อย่างไร
สาหรับโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับชนิดของมะเร็งที่แพร่กระจายมาด้วย เช่น ผู้ป่วย
โรคมะเร็งเต้านมที่พบว่ามีการกระจายไปที่กระดูกอย่างเดียว ผู้ป่วยอาจจะสามารถมีชีวิตอยู่ไปอีกนาน แต่ในทาง
ตรงกันข้ามถ้าผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดกระจายมาที่กระดูก ในระยะเวลาประมาณ 6 เดือน ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตได้
การวินิจฉัยโรคมะเร็งกระดูก
แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคนี้ได้จากประวัติอาการ การตรวจร่างกาย การตรวจกระดูกส่วนที่เกิดโรค และจากการตรวจ
ภาพกระดูกด้วยเอกซเรย์ธรรมดา (X-ray) หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT- scan) หรือการถ่ายภาพด้วยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ซึ่งจะช่วยบอกขนาดของมะเร็งที่แท้จริงได้ (มีประโยชน์ในแง่ของการวางแผนในการผ่าตัดรักษา
รวมถึงสามารถบอกผู้ป่วยได้ว่าควรจะเก็บขาหรือแขนเอาไว้หรือควรตัดออก) แต่การตรวจวินิจฉัยที่ให้ผลแน่นอน คือ
การตัดชิ้นเนื้อจากก้อนเนื้อในกระดูกเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา (นอกจากจะช่วยวินิจฉัยโรคได้แล้ว ยังช่วยบอก
ระยะของโรคได้ด้วย ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากต่อการวางแผนการรักษาผู้ป่วย)
นอกจากนั้น คือ การตรวจเพื่อจัดระยะโรคมะเร็งและเพื่อประเมินสุขภาพของผู้ป่วย เช่น การตรวจเลือดเพื่อดูการ
ทางานของไขกระดูก ตับ และของไต, การตรวจปัสสาวะเพื่อดูการทางานของไต, การตรวจภาพปอดด้วยการเอกซเรย์
เพื่อดูว่ามะเร็งมีการแพร่กระจายเข้าสู่ปอดหรือไม่ (เพราะโดยปกติมะเร็งกระดูกมักจะแพร่กระจายไปที่ 2 อวัยวะหลัก
คือ ปอดและที่กระดูกชิ้นอื่น) รวมทั้งอาจมีการตรวจไขกระดูก ภาพตับ และการสแกนกระดูก (Bone scan) ทั้งตัว
เพื่อดูการแพร่กระจายของมะเร็งเข้าสู่อวัยวะต่าง ๆ เหล่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะของโรค ชนิดของเซลล์มะเร็ง และ
ดุลยพินิจของแพทย์
วิธีรักษาโรคมะเร็งกระดูก
การรักษาโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในปัจจุบันการรักษาหลัก คือ การผ่าตัดและการให้ยาเคมีบาบัด ส่วน
การให้รังสีรักษาจะเป็นการรักษาร่วม และการให้ยารักษาตรงเป้านั้นยังอยู่ในขั้นตอนของการศึกษา โดยถ้าเป็นมะเร็ง
ในระยะแรก การรักษาหลักจะเป็นการผ่าตัดเอาส่วนเนื้องอกและเนื้อเยื่อรอบข้างออก แต่ถ้าเป็นมะเร็งในระยะท้าย
แล้ว การรักษามักใช้หลายวิธีร่วมกัน คือ การผ่าตัดร่วมกับการให้ยาเคมีบาบีด และการให้รังสีรักษาร่วมด้วย โดย
จุดมุ่งหมายในการรักษามะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้แพทย์จะมีเป้าหมายเพื่อนาเนื้องอกออกให้หมดและหวังให้ผู้ป่วย
หายขาดจากโรค โดยวิธีการรักษานี้จะแบ่งออกเป็น
1.การผ่าตัด ศัลยแพทย์จะทาการผ่าตัดเนื้องอกและเนื้อเยื่อรอบข้างออก ซึ่งประมาณ 75-80% สามารถผ่าตัดเอาเนื้อ
งออกโดยไม่ต้องตัดแขนหรือขาที่เป็นโรคแล้ว หลังจากนั้นศัลยแพทย์จะใส่เหล็กหรือกระดูกจากส่วนอื่นของร่างกาย
8
เข้าไปแทนที่กระดูกที่ถูกตัดออกไป แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจจาเป็นต้องตัดแขนหรือขา (เช่น ในผู้ป่วยที่แพทย์ไม่
สามารถตัดเนื้องอกมะเร็งออกได้หมด ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทากายภาพบาบัดได้) โดยการผ่าตัดจะมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ
การตัดอวัยวะ และการเก็บอวัยวะ
-การตัดอวัยวะ คือ การตัดแขนหรือขาส่วนที่เป็นมะเร็งออกไป โดยแพทย์จะตัดเฉพาะส่วนของตัวกระดูกที่เป็นเนื้อ
งอกออกไป และให้ผู้ป่วยใส่แขนเทียมหรือขาเทียม แต่การรักษานี้จะไม่สามารถใช้ได้กับผู้ป่วยทุกราย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ขนาดของก้อนมะเร็งและความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย (ในสมัยก่อนการตัดอวัยวะเป็นเรื่องที่ผู้ป่วยทุกคนเป็น
กังวล แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีเรื่องของขาเทียมนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทั้งในเรื่องของวัสดุที่มีคุณภาพและความ
สะดวกสบายในการปรับใช้ ทาให้ผู้ป่วยสามารถทาทุกอย่างได้เหมือนคนปกติ ดังนั้น การใช้ขาเทียมจึงแทบไม่เป็น
ปัญหาอะไร ส่วนที่เหลือคือผู้ป่วยจะต้องมีการฝึกเดินและปรับเปลี่ยนความคิดว่าการตัดขาไม่ใช่การสิ้นสุดของชีวิต)
-การเก็บอวัยวะ คือ การตัดเอาเฉพาะส่วนที่เป็นก้อนเนื้องอกออกและนากระดูกมาทดแทนส่วนที่ตัดออกไป (การ
เปลี่ยนกระดูก) ซึ่งในสมัยก่อนนั้นเราจะนากระดูกจากผู้ป่วยที่เสียชีวิตแล้วมาทดแทนส่วนที่ตัดออกไป เพราะมีข้อดีคือ
ผู้ป่วยไม่ต้องทานยากดภูมิคุ้มกันเหมือนการเปลี่ยนอวัยวะอื่น ๆ (เนื่องจากกระดูกเป็นโครงสร้างและไม่มีเนื้อเยื่อ การ
ใส่กระดูกเข้าไปในผู้ป่วยจึงไม่เกิดภาวะต้าน หรือถ้าหากเกิดก็เกิดขึ้นได้น้อยมาก) แต่เนื่องจากกระดูกที่นามาใช้นั้น
โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นกระดูกของผู้สูงอายุ เมื่อนามาเปลี่ยนให้กับเด็ก กระดูกเหล่านี้จึงมีการสลายได้ง่ายหรือมีการ
หักได้ง่ายขึ้น (แต่หากผู้ป่วยรู้จักวิธีการดูแลรักษากระดูก กระดูกก็จะอยู่ได้นานหลายปี) และเป็นเรื่องที่น่าเสียดายเป็น
อย่างมากที่ในปัจจุบันการบริจาคกระดูกยังคงมีน้อยมากเพราะคนไม่ค่อยรู้จักและทางสภากาชาดไทยเองก็ไม่มี
นโยบายที่จะทาเรื่องนี้ (ในปัจจุบันธนาคารกระดูก หรือ Bone Bank มีอยู่ 2 แห่งด้วยกันที่ทาเรื่องนี้ คือ ศิริราชและ
พระมงกุฎเกล้า ซึ่งถ้าเป็นเมื่อก่อนแพทย์จะใช้วิธีการเก็บกระดูกจากผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่ไร้ญาติเพื่อนามาใช้เปลี่ยน
กระดูกให้ผู้ป่วยได้ แต่ปัจจุบันนี้มีข้อห้ามทางกฎหมายและไม่สามารถทาได้แล้ว การนามาใช้จึงต้องมีผู้บริจาค แต่
เนื่องจากไม่มีการประชาสัมพันธ์ในเรื่องนี้ ประกอบกับความเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ จึงทาให้การบริจาคกระดูกยังไม่
เป็นที่นิยมในประเทศไทย จนส่งผลให้ในปัจจุบันแทบจะไม่มีกระดูกใช้เลย) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันได้มีการนา
เทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่นที่เรียกว่า การทา “Recycling Bones” มาใช้ โดยจะเป็นการนากระดูกของผู้ป่วยที่เป็น
โรคมะเร็งกระดูกที่ถูกตัดออกมาแล้วนามาทาลายเซลล์มะเร็ง ซึ่งการทาลายเซลล์มะเร็งนี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายวิธี เช่น
การฉายรังสี (โดยใช้ปริมาณรังสีที่สูงมากจึงทาให้เซลล์มะเร็งที่อยู่ในกระดูกตายหมด จากนั้นจึงเอาตัวเซลล์มะเร็งที่
ตายออก แล้วนากระดูกชั้นนั้นมาใส่เหล็กและนากลับเข้าไปใส่ในผู้ป่วยเหมือนเดิม) หรือการนากระดูกไปแช่ใน
ไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิลบ 167 องศาเซลเซียส แต่การนากระดูกเหล่านี้ไปผ่านกรรมวิธีดังกล่าวจะทาให้กระดูกเสีย
คุณภาพได้ ดังนั้น กระดูกอาจจะหักได้ง่ายไม่เหมือนกระดูกทั่วไป และมีระยะเวลาในการใช้งานเพียงประมาณ 5 ปี
-การใช้ข้อเทียม การรักษาจะเป็นการใส่ข้อเทียมที่เป็นโลหะสาหรับโรคมะเร็งทดแทนที่เรียกว่า “Endoprosthesis”
โดยไม่ต้องตัดแขนหรือขาอย่างในสมัยก่อน หลังการผ่าตัดผู้ป่วยสามารถลุกเดิน ลงน้าหนัก และขยับแขนขาได้ภายใน
ระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งจะส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (การใช้ข้อเทียมในการรักษาโรคมะเร็งกระดูกจะไม่
เหมือนกับการใช้ข้อเทียมแบบอื่น เพราะข้อเทียมที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งกระดูกจะต้องใช้โลหะที่มีความแข็งแรง
มากกว่า ส่วนกรรมวิธีในการผลิตก็จะมากกว่าด้วยเช่นกัน)
-การผ่าตัดแบบเจาะรู (Minimal invasive surgery) เป็นวิธีการผ่าตัดที่ถูกพัฒนาขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นการรักษาในผู้ป่วย
ระยะแรกที่มาพบแพทย์เร็ว โดยวิธีการคือ เมื่อแพทย์ตรวจพบว่าผู้ป่วยเริ่มมีการก่อเซลล์มะเร็งขึ้นในจุดใดจุดหนึ่งของ
9
กระดูก แพทย์ก็จะเจาะรูที่กระดูกตรงนั้น แล้วจะใช้ Probe ตัวเส้นที่ให้ความร้อนผ่านระบบแรงสั่นสะเทือนเข้าไป
ทาลายมะเร็ง ซึ่งพบว่าได้ผลดี เพียงแต่ผู้ป่วยจะต้องเข้ามารักษาในระยะแรกเท่านั้น
2. การให้ยาเคมีบาบัด เนื่องจากการผ่าตัดเพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอต่อการรักษามะเร็งกระดูก (โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ที่พบได้เป็นส่วนใหญ่และตอบสนองได้ดีต่อยาเคมี
บาบัด) เพราะบางครั้งมะเร็งอาจมีการแพร่กระจายออกไปยังอวัยวะอื่นได้ (ที่พบบ่อยที่สุด คือ ปอด) ซึ่งการให้ยาเคมี
บาบัดจะสามารถช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งกระดูกบางชนิดได้ ซึ่งแพทย์มักจะให้ยาเคมีบาบัด 3-4
รอบก่อนการผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีการแพร่กระจายของมะเร็ง หรือในกรณีที่มะเร็งมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วหรือเป็น
มะเร็งกระดูกระยะสุดท้ายแล้ว เพื่อลดขนาดของก้อนมะเร็งเพื่อช่วยให้การผ่าตัดทาได้ง่ายขึ้น และยังช่วยเพิ่มอัตรา
การรอดชีวิตได้ด้วย และหลังการผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องได้รับยาเคมีบาบัดอีกเพื่อทาลายเซลล์มะเร็งที่เหลืออยู่
3) การให้รังสีรักษา เป็นการรักษาร่วมที่แพทย์จะเลือกใช้เฉพาะในรายที่ผ่าตัดไม่ได้หรือเมื่อโรคแพร่กระจายแล้ว หรือ
ในรายที่ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกไม่หมดหรือยังมีเซลล์มะเร็งหลงเหลืออยู่ในร่างกาย โดยการรักษาจะเป็นการใช้รังสี
เอ็กซ์หรืออนุภาคอื่น ๆ ในการทาลายเซลล์มะเร็ง การใช้รังสีรักษาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท ประเภทแรกจะเป็นการ
ใช้เครื่องฉายรังสีจากภายนอกร่างกาย (External beam radiation therapy) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกว่าประเภทที่สองคือ
การฝังแร่ในร่างกาย (Internal beam radiation therapy) การใช้รังสีรักษานี้มีทั้งการใช้ก่อนการผ่าตัดเพื่อลดขนาด
ของก้อนเนื้องอกและการใช้หลังผ่าตัดเพื่อกาจัดเซลล์มะเร็งที่หลงเหลืออยู่ในร่างกาย นอกจากนี้การใช้รังสีรักษายังมี
ส่วนช่วยในการลดขนาดของการผ่าตัดทาให้ไม่ต้องตัดแขนหรือขาส่วนที่เป็นมะเร็งออก และช่วยลดความเจ็บปวดใน
ผู้ป่วยมะเร็งกระดูกระยะสุดท้ายได้ด้วย
4) การให้ยารักษาตรงเป้า (Targeted therapy) เป็นการรักษาโดยใช้ยาที่เข้าไปรักษายีนโดยตรง ซึ่งตอนนี้ยังอยู่ใน
ขั้นตอนการศึกษาและก็มีการค้นพบเรื่อย ๆ ในเรื่องของยีนที่เฉพาะเจาะจงกับโรคมะเร็งกระดูก แต่ว่ามะเร็งกระดูกจะ
แตกต่างจากมะเร็งชนิดอื่น คือ ในก้อนมะเร็งกระดูกจะมียีนอยู่หลายชนิด และยีนแต่ละชนิดก็ไม่เหมือนกัน จึงไม่
สามารถบอกได้ว่ามะเร็งกระดูกมียีนที่เป็นยีนชนิดเดียวกัน ดังนั้นการรักษาด้วยวิธีนี้จึงยังเข้าไม่ถึงจนกว่าจะสามารถ
ทราบได้ว่ามะเร็งกระดูกมียีนอะไรที่เกี่ยวข้องบ้าง
5) การติดตามการรักษาเป็นระยะ ภายหลังการรักษาแพทย์จะมีการติดตามการรักษาเป็นระยะ ๆ เพื่อสอบถาม
อาการ (เช่น อาการปวดกระดูก บวม เป็นต้น), ตรวจร่างกาย, ตรวจเลือด และตรวจเอกซเรย์หรือสแกนกระดูก
(Bone scan) เพื่อสืบค้นว่าผู้ป่วยมีการกลับมาเป็นซ้าของมะเร็งหรือไม่ และมะเร็งมีการกระจายไปที่ปอดหรือ
กระจายไปที่กระดูกส่วนอื่นหรือไม่ เพราะประมาณ 80% ของผู้ป่วยจะมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าภายใน 2 ปี และอีก
ประมาณ 20% ที่เหลือจะมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าเมื่อครบประมาณ 5 ปี แต่พอหลังจาก 5 ปีไปแล้ว โอกาสการเกิดซ้า
ของโรคมะเร็งหรือการกระจายของมะเร็งจะลดลงไปมาก คือ ถ้าเกิน 5 ปีไปแล้ว ไม่มีการเกิดของโรคซ้าอีก จึงจะ
เรียกว่าหายขาดได้
6 ) การดูแลตนเอง ผู้ป่วยหลังการผ่าตัดจะต้องทากายภาพบาบัดเพื่อฟื้นฟูร่างกายร่วมด้วย ผู้ป่วยที่หายจากมะเร็ง
กระดูกแล้วจะต้องดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกาลังกายตามควรแก่สุขภาพ
ควบคุมน้าหนักให้ดี งดการสูบบุหรี่ และตรวจเช็กมะเร็งกระดูกเป็นระยะ ทั้งนี้ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมในการ
ปฏิบัติตัว
การรักษาโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ
10
โดยปกติแพทย์จะมุ่งรักษามะเร็งต้นกาเนิดก่อนเป็นหลัก ส่วนการรักษามะเร็งกระดูกทุติยภูมิจะเป็นรักษารอง
(ซึ่งมักจะเป็นการรักษาร่วม คือ การให้ยาเคมีบาบัดหรือการให้รังสีรักษา ส่วนการผ่าตัดจะเป็นแค่ส่วนหนึ่งของการ
รักษาเท่านั้น ทั้งนี้แพทย์จะพิจารณาจากชนิดของมะเร็งตั้งต้น, ตาแหน่งของกระดูกและจานวนกระดูกที่มะเร็ง
แพร่กระจายไป, การเปลี่ยนแปลงของกระดูกที่เกิดจากเซลล์มะเร็งว่าเป็นชนิดที่ถูกทาลายหรือถูกสร้างเพิ่ม, ชนิดของ
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับอยู่ก่อน และสภาพร่างกายของผู้ป่วยในขณะนั้น) โดยจุดมุ่งหมายในการรักษามะเร็งกระดูก
ชนิดทุติยภูมินี้แพทย์จะไม่ได้รักษาเพื่อหวังให้ผู้ป่วยรอดชีวิต แต่การรักษาจะเป็นไปเพื่อทาให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดี
ขึ้น โดยจะมีหลักในการรักษา คือ 1.) ผู้ป่วยจะต้องไม่ปวด, 2.) ทาอย่างไรจะให้ผู้ป่วยกลับมาใช้อวัยวะข้างที่เป็นอยู่ได้
ทันที (เช่น กระดูกขาของผู้ป่วยหัก เมื่อผ่าตัดเสร็จ เขาก็สามารถกลับมาเดินได้ เป็นต้น) และ 3.) ทาอย่างไรจะให้
ผู้ป่วยพึ่งผู้อื่นได้น้อยที่สุด (เพราะถ้าผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ เขาก็จะมีความภาคภูมิใจในตัวเอง และไม่รู้สึก
เสียคุณค่าของตัวเองไป จึงทาให้ผู้ป่วยยังอยากที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป)
1.การให้ยาเคมีบาบัด เป็นการรักษาหลักในมะเร็งที่แพร่กระจายหลายชนิด โดยมีทั้งแบบฉีดเข้าเส้นเลือดและแบบ
รับประทาน ซึ่งยาจะเข้าไปในกระแสเลือดและไปยังเซลล์มะเร็งทั่วร่างกาย จึงช่วยลดอาการปวดของผู้ป่วยลงได้
2.การรักษาด้วยฮอร์โมนบาบัด เช่น การตัดรังไข่ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม หรือการตัดอัณฑะในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก
(เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนที่สร้างจากรังไข่และฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนที่สร้างจากอัณฑะจะสามารถเพิ่มการ
เจริญเติบโตของมะเร็งเต้านมและมะเร็งต่อมลูกหมากได้ ดังนั้น จึงมีการรักษาเพื่อพยายามลดระดับฮอร์โมนเหล่านี้ลง)
นอกจากนี้ยังมีการใช้ฮอร์โมนเพื่อยับยั้งการสร้างฮอร์โมนดังกล่าวด้วย เช่น luteinizing-releasing hormone
(LHRH)
3.การให้ยาบิสฟอสโฟเนต (Bisphosphonate) ปกติเป็นยาที่ใช้รักษาโรคกระดูกพรุน แต่ผู้ป่วยมะเร็งที่กระจายมาที่
กระดูก ยาตัวนี้จะช่วยลดอาการปวดกระดูก ลดอัตราการทาลายกระดูกของเซลล์มะเร็ง ลดภาวะแคลเซียมในเลือดสูง
และช่วยลดความความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักได้
4.การให้ยาลดอาการปวดที่เกิดจากมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่กระดูก แพทย์มักจะเริ่มต้นด้วยการให้ยาแก้ปวด เช่น
พาราเซตามอล หรือยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) แต่ถ้าไม่สามารถควบคุมอาการปวดได้ แพทย์จะ
พิจารณาให้ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์ (Opioid) เช่น โคเดอีน (Codeine), ไฮโดรโคโดน (Hydrocodone), มอร์ฟีน
(Morphine) หรือออกซิโคโดน (Oxycodone) ซึ่งยาในกลุ่มนี้จะมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการลดอาการปวดที่เกิดจาก
มะเร็ง
5.การให้รังสีรักษา เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงหรืออนุภาคในการทาลายเซลล์มะเร็ง การฉายรังสีสามารถทาได้ 2 แบบ
คือ การฉายรังสีในปริมาณมากเพียงครั้งเดียว และการฉายรังสีในปริมาณน้อยหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งส่วนมากแพทย์จะ
แนะนาให้ฉายรังสีหลายครั้งมากกว่า เนื่องจากผู้ป่วยจะมีโอกาสกลับมามีอาการปวดได้น้อยกว่า แต่การฉายรังสีนี้จะ
เหมาะกับโรคมะเร็งที่ยังแพร่กระจายไปไม่มาก เช่น 1-2 แห่ง แต่ถ้าแพร่กระจายไปทั่วร่างกายแล้วอาจจะไม่เหมาะ
(ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปหลายตาแหน่งแล้ว แพทย์อาจฉีดสารเภสัชรังสี ซัมมาเรียม-153 (sm-153) เข้าทาง
หลอดเลือดดา ซึ่งสารดังกล่าวจะเข้าไปจับกับบริเวณที่มะเร็งกระจายที่กระดูกแล้วปลดปล่อยรังสีบริเวณนั้นทาให้
อาการปวดของผู้ป่วยทุเลาลง)
11
6.การจี้ก้อนเนื้องอกด้วยความร้อน ความเย็น หรือสารเคมี (ที่นิยมที่สุดคือ การจี้ด้วยกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะต้องทาใน
ขณะที่ผู้ป่วยได้รับยาสลบ) แต่วิธีนี้ยังไม่เป็นที่นิยมใช้ในการรักษา
7.การผ่าตัด ส่วนใหญ่การผ่าตัดจะเป็นเรื่องของการเสริมกระดูกที่เสียหายให้แข็งแรงขึ้น ป้องกันกระดูกหัก เช่น ผู้ป่วย
มะเร็งกระจายไปที่กระดูกสันหลัง ทาให้กระดูกสันหลังยุบตัว การผ่าตัดจะเป็นไปเพื่อใส่เหล็กเข้าไปค้าเพื่อไม่ให้
กระดูกทรุดตัว หรือเมื่อมีการกดไขสันหลัง การผ่าตัดจะทาเพื่อไปตัดตาแหน่งที่กดทับออกไป เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้
การฉีดสาร Polymethyl methacrylate (PMMA) ซึ่งทาหน้าที่คล้ายซีเมนต์หรือกาวเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กระดูก
และสามารถช่วยลดอาการปวดกระดูกให้แก่ผู้ป่วยด้วย
8.การผ่าตัดแบบตัดกระดูกออกไป เป็นวิธีที่แทบจะไม่ค่อยได้ทาในผู้ป่วยโรคมะเร็งกลุ่มนี้
การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคมะเร็งกระดูก
การดูแลตนเองจะเหมือนกับโรคมะเร็งอื่น ๆ ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไปในเรื่อง การดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคมะเร็ง, การ
ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง, การดูแลตนเองและการดูแลผู้ป่วยเคมีบาบัด
ผลการรักษาโรคมะเร็งกระดูก
โรคมะเร็งกระดูกเป็นโรคที่มีความรุนแรง ผลการรักษาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระยะของโรค, ชนิดของ
เซลล์มะเร็ง (เช่น ชนิดอีวิงจะมีอัตรารอดชีวิตที่ 5 ปี ต่ากว่าชนิดอื่น), ขนาดของก้อนมะเร็ง (ยิ่งก้อนโตความรุนแรง
ของโรคยิ่งสูงขึ้น), การตอบสนองของโรคต่อยาเคมีบาบัด, การผ่าตัด (ถ้าผ่าตัดไม่ได้ เพราะตาแหน่งของโรคหรือผู้ป่วย
มีสุขภาพไม่ดี ความรุนแรงของโรคก็จะสูงขึ้น) รวมถึงอายุและสุขภาพของผู้ป่วย โดย
ในโรคมะเร็งออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma)
ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 75-80%
ระยะที่ 2 ประมาณ 60-75%
ระยะที่ 3 ประมาณ 30-50%
ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-10%
ในโรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma)
ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 70%
ระยะที่ 2 ประมาณ 60-70%
ระยะที่ 3 ประมาณ 20-40%
ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-5%
ผลข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งกระดูก
ผลข้างเคียงจากการรักษาจะขึ้นอยู่กับวิธีรักษา ผลข้างเคียงจะสูงขึ้นเมื่อใช้วิธีรักษาหลายวิธีร่วมกัน ในเด็กเล็ก
ผู้สูงอายุ ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค
12
ไขมันในเลือดสูง และโรคที่ก่อให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เช่น โรคภูมิต้านตนเอง หรือ Autoimmune
disease)
การผ่าตัด เช่น การเสียเลือด การสูญเสียเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ แผลผ่าตัดติดเชื้อ และเสี่ยงต่อการดมยาสลบ
ยาเคมีบาบัด คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ผมร่วง ภาวะเลือดออกง่ายจากการมีเกล็ด
เลือดต่า ภาวะซีด และเพิ่มโอกาสการติดเชื้อจากภาวะเม็ดเลือดขาวต่า แต่ผลข้างเคียงเหล่านี้จะหมดไปเมื่อการรักษา
สิ้นสุด
รังสีรักษา คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ผลข้างเคียงต่อผิวหนัง และเพิ่มโอกาสทาให้กระดูกหักในส่วนที่ได้รับรังสี
ยารักษาตรงเป้า ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ คือ การเกิดสิวขึ้นทั่วตัวรวมทั้งใบหน้า และยาบางชนิดอาจก่อให้เกิดภาวะ
เลือดออกได้ง่าย เมื่อเกิดบาดแผลจะทาให้แผลติดยาก และอาจเป็นสาเหตุทาให้ผนังลาไส้ทะลุได้
วิธีป้องกันโรคมะเร็งกระดูก
เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีวิธีในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิตั้งแต่ยังไม่มีอาการได้ อีกทั้งปัจจัย
เสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มักเป็นปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น จึงยังไม่มีวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกได้ แต่ที่
พอทาได้ก็คือ การสังเกตตนเอง เมื่อพบว่ามีอาการผิดปกติดังกล่าวเกิดขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและ
รับการรักษาโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ปกครองเองก็ควรเอาใจใส่และคอยสังเกตดูบุตรหลานอยู่เสมอ (เพราะโรคมะเร็ง
กระดูกปฐมภูมิมักเกิดกับคนในช่วงอายุ 10-20 ปี) ถ้าพบว่าบุตรหลานไม่สบายมีอาการเจ็บที่แขนขา ควรรีบไปพบ
แพทย์ อย่ารอให้เป็นมากแล้วจึงค่อยพาไป และการไปพบแพทย์ควรไปพบแพทย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านนี้โดยตรง
เนื่องจากผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกจาเป็นต้องได้รับการติดตามในระยะยาว
ส่วนการป้องกันโรคมะเร็งชนิดทุติยภูมิ คือ การตรวจพบมะเร็งตั้งแต่เริ่มต้นก่อนที่จะแพร่กระจายและรักษาด้วยการ
ผ่าตัด ยาเคมีบาบัด หรือรังสีรักษา ซึ่งในปัจจุบันแพทย์แนะนาให้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ และมะเร็ง
ปากมดลูก แต่หากผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ได้แก่ ปวดหลัง (อาจมีอาการปวดหลังร้าวลง
ขา), ชาที่ขาหรือช่วงท้อง, ขาอ่อนแรงหรือมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว หรือไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ หรือมีปัญหา
เรื่องการปัสสาวะ ซึ่งอาการเหล่านี้จัดเป็นภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูก หากไม่ได้รับ
การรักษาอย่างทันท่วงทีอาจทาให้เกิดอัมพาตได้
วิธีดำเนินงำน
แนวทำงกำรดำเนินงำน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
13
งบประมำณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดำเนินงำน
ลำดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
11 12
1
3
14
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
14
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้ำงอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0
%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/
https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0
%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/

More Related Content

Similar to 2560 project

2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)0910797083
 
Project com
Project comProject com
Project comWuLizhu
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16asirwa04
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1 midfill69
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariyaguntjetnipat
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานพีพี ปฐพี
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanika Panyana
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian foodkrong555
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย Sutthinee Sudchai
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17ssuserbed7e4
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 

Similar to 2560 project (20)

2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian food
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน มะเร็งกระดูก (Malignant bone tumor) ชื่อผู้ทาโครงงาน อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… อัญชลี จันทร์นวล เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) มะเร็งกระดูก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Malignant bone tumor ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน อัญชลี จันทร์นวล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ที่มาโรคมะเร็งกระดูก (Bone cancer หรือ Malignant bone tumor) เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อย สามารถเกิด ได้กับคนทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุต่ากว่า 35 ปี พบได้มากที่สุดในช่วงอายุ 10- 20 ปี (ในเด็กโต วัยรุ่น และคนวัยหนุ่มสาว) และพบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเล็กน้อย ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกนี้จะพบได้ เพียงประมาณ 6% ของโรคมะเร็งในเด็กทั้งหมด ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยใหม่เป็นโรคนี้เพียงประมาณปีละ 650-700 ราย ทั้งนี้พบได้มากกว่าในเด็กหญิงประมาณ 2- 3 เท่า ส่วนในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2544-2546 พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ในเพศชาย 1.1 รายต่อประชากรชาย 100,000 คนต่อปี และพบในเพศหญิง 0.8 รายต่อประชากรหญิง 100,000 คนต่อปี วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคมะเร็งกระดูก 2.เพื่อศึกษาอาการโรคมะเร็งกระดูก 3.เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ถึงอันตรายและสาเหตุของมะเร็งกระดูก 4.เพื่อให้ทุกคนรู้จักป้องกันและรับมือ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่สนใจและผู้ที่มีคนรู้จักเป็นโรคมะเร็งกระดูก
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ชนิดของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่ต้นเหตุเกิดในกระดูก) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ค่อนข้าง น้อย และชนิดปฐมภูมิ (มะเร็งที่เกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งจากที่อื่น) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้เป็นส่วนใหญ่ โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (Primary bone cancer) คือ โรคมะเร็งที่เกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อกระดูกเอง โดย มักจะเกิดในอวัยวะพวกรยางค์แขนขา ซึ่งตาแหน่งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นใกล้กับข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อไหล่ เป็นต้น โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้เป็นกลุ่มมะเร็งที่พบได้ค่อนข้างน้อย (จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบ อุบัติการณ์ของโรคประมาณ 0.8 รายต่อประชากร 100,000 คน) พบเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบในวัยเด็ก ค่อนข้างมาก ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมินี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่พบได้บ่อย ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ ชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูก” เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด มักพบในเด็ก และวัยหนุ่มสาว โดยเฉพาะในช่วงอายุประมาณ 10-20 ปี ชนิดคอนโดรซาร์โคมา (Chondrosarcoma) หรือเรียกว่า “มะเร็งเซลล์กระดูกอ่อน” เป็นชนิดที่พบได้ในคนอายุ มากกว่า 50 ปี ชนิดอีวิง (Ewing’s sarcoma) เป็นชนิดที่พบได้มากในเด็กและคนอายุน้อยกว่า 30 ปี ส่วนชนิดอื่น ๆ ที่พบได้น้อย คือ ชนิดคอร์โดมา (Chordoma) ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่มักเกิดบริเวณกระดูกสันหลัง ส่วนล่าง นอกจากนี้ยังมีชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) และชนิดไฟโบรซาร์โคมา (Fibrosarcoma) ซึ่งเป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่ออ่อนที่เกิดขึ้นในกระดูกซึ่งพบได้น้อยมาก โดยชนิด Malignant fibrous histiocytoma (MFH) ส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ใหญ่ บริเวณที่พบบ่อยคือ แขนและขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเข่า ส่วนชนิดไฟโบรซาร์โค มา (Fibrosarcoma) จะพบได้บ่อยในผู้ใหญ่วัยกลางคนและมักพบที่ต้นขา โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (Secondary bone cancer) หรือเรียกว่า “โรคมะเร็งแพร่กระจายเข้าสู่กระดูก” คือ โรคมะเร็งกระดูกที่เกิดจากโรคมะเร็งอื่น ๆ ที่แพร่กระจายมาที่กระดูก ซึ่งประมาณ 30-40% ของมะเร็งที่กระจายมา จะพบที่แขนขา และประมาณ 50-60% จะกระจายมาตรงส่วนกลางของร่างกาย เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน เป็นต้น (เซลล์มะเร็งจะแพร่กระจายทางเลือดไปยังระบบน้าเหลืองและไปยังอวัยวะ ต่าง ๆ ซึ่งตาแหน่งที่พบการแพร่กระจายได้บ่อย คือ กระดูก ตับ และปอด) โรคมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่กระดูกมีได้เกือบทุกชนิดและมักจะกระจายมาที่กระดูกในช่วงระยะท้าย ๆ ของโรค แต่ จะมีโรคมะเร็งเพียง 5 ชนิดที่กระจายมาที่กระดูกตั้งแต่ในระยะแรกของโรค ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็ง ต่อมลูกหมาก มะเร็งต่อมไทรอยด์ และมะเร็งไต โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมินี้จึงเป็นกลุ่มที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็งที่เป็นอยู่ จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ 30,000 คนต่อปี และมะเร็งได้แพร่กระจายไปที่กระดูกประมาณ 20% ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะท้าย ๆ ของโรค โรคมะเร็งกระดูกเกิดได้กับกระดูกส่วนใดบ้าง
  • 4. 4 โรคมะเร็งกระดูกสามารถพบเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย แต่โดยส่วนใหญ่มักเกิดกับกระดูกเพียงชิ้นเดียว แต่ สามารถแพร่กระจายทางกระแสเลือดไปสู่กระดูกชิ้นอื่น ๆ ได้ในลักษณะเดียวกับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้โอกาสเกิด ในด้านซ้ายและด้านขวามีใกล้เคียงกัน โดยโรคมะเร็งกระดูกแต่ละชนิดก็พบเกิดได้แตกต่างกันไป เช่น โรคมะเร็งออสตี โอซาร์โคมา (Osteosarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขน โดยเฉพาะบริเวณใกล้ ๆ กับข้อกระดูก โดยจะพบ เกิดกับ กระดูกต้นขาประมาณ 50% กระดูกขาส่วนล่างประมาณ 30% กระดูกต้นแขนประมาณ 10% กระดูกลาตัว (สะโพกหรือกระดูกซี่โครง) ประมาณ 5% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 2% โรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma) มักพบเกิดกับกระดูกขาและแขนได้มากกว่ากระดูกส่วนอื่น ๆ เช่นกัน แต่มักเกิด ตรงกลางของท่อนกระดูก นอกจากนั้นจะพบเกิดกับกระดูกของลาตัวได้สูง โดยจะพบเกิดกับ กระดูกลาตัวประมาณ 50% กระดูกต้นขาและกระดูกขาประมาณ 30% กระดูกต้นแขนและกระดูกแขนประมาณ 15% กระดูกใบหน้าและกะโหลกประมาณ 3% กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออีกประมาณ 5-10% สาเหตุของโรคมะเร็งกระดูก ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ คือ ความผิดปกติ ทางพันธุกรรม เพราะพบโรคนี้ได้สูงขึ้นในผู้ที่มีพันธุกรรมผิดปกติบางชนิด การเป็นโรคมะเร็งบางชนิดมาก่อน เช่น โรคมะเร็งจอตาในเด็ก (Retinoblastoma) ซึ่งเด็กที่เป็นโรคมะเร็งชนิดนี้จะมี โอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ได้สูงกว่าคนทั่วไป (ส่วนผู้ที่มีประวัติคนใน ครอบครัวเป็นโรคมะเร็งจอตาในเด็กมาก่อนก็มีความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งชนิดนี้ด้วยเช่นกัน) เชื้อชาติ เพราะพบโรคนี้ได้สูงในคนผิวขาวและผิวดามากกว่าคนเอเชียประมาณ 2 เท่า เกิดจากการรักษาในปัจจุบัน เช่น การให้ยาเคมีบาบัด การให้รังสีรักษา ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดโรคมะเร็งได้ง่าย โดยเฉพาะโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) เช่น ในผู้ที่มีประวัติที่กระดูกเคยได้รับรังสีบาง ชนิดในปริมาณสูงในวัยเด็กจากการฉายรังสีรักษามะเร็งชนิดอื่น ๆ เนื้องอกชนิดไม่ลุกลามหรือโรคของกระดูกอื่น ๆ เช่น Paget’s disease และ Fibrousdysplasia จะเพิ่มความเสี่ยงใน การเกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) การกระตุ้นโดยสิ่งแวดล้อม เช่น สารเคมี ยาฆ่าแมลง สารรังสี เป็นต้น ซึ่งคนที่ทางานที่อยู่กับสารเคมีหรือทางานใน โรงงานที่เกี่ยวข้องกับรังสีหรือทางการแพทย์ จะทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งได้
  • 5. 5 การเปลี่ยนแปลงทางโลกาภิวัตน์ อาจทาให้มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งกระดูกได้สูงขึ้น เพราะในปัจจุบันเราพบผู้ป่วยที่เป็น โรคนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิด และในอนาคตข้างหน้าอาจจะมีการเพิ่มของโรคมากขึ้น กว่าเดิม ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ ฯลฯ ก็จัดเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งกระดูกด้วย เช่นกัน ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิก็คือ ปัจจัยเสี่ยงใด ๆ ก็ตามที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง เช่น การ สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การขาดการออกกาลังกาย ภาวะดื่ม เป็นต้น (ปัจจัยข้างต้นนี้มีส่วนในการก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้สูงถึง 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็ง ในขณะที่ปัจจัยทางพันธุกรรมมีผล เพียง 5-10%) ซึ่งโรคมะเร็งแต่ละชนิดก็มีปัจจัยเสี่ยงที่จาเพาะแตกต่างกันไป เช่น การสูบบุหรี่ทาให้เกิดมะเร็งปอด เป็นต้น ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่กระดูกได้นั้นยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบว่า ผู้ป่วย 2 รายที่เป็นมะเร็งชนิดเดียวกัน ผู้ป่วยรายที่มีเนื้องอกมะเร็งที่ใหญ่กว่าและมีการแพร่กระจายไปยังต่อม น้าเหลืองจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปที่กระดูกได้มากกว่า และสาหรับโรคมะเร็งบางชนิดและโรคมะเร็งที่มี ระดับความรุนแรงสูงจะมีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปยังกระดูกได้มากกว่า สาเหตุที่ทาให้โรคมะเร็งบางชนิดมีการแพร่กระจายมาที่กระดูก เนื่องจากเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดจะมีความสามารถใน การเกาะยึดกับเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน มะเร็งที่มักเกิดการแพร่กระจายมาที่กระดูกจะมีความสามารถในการจับกับเซลล์ กระดูกได้ดี นอกจากนี้เซลล์กระดูกยังมีการสร้างสารทาให้มะเร็งเจริญได้ดีอีกด้วย อาการของโรคมะเร็งกระดูก อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการปวดและบวม ซึ่งการปวดอาจเป็น ๆ หาย ๆ ใน ระยะแรก (ส่วนใหญ่จะปวดในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน) และจะค่อย ๆ ปวดมากขึ้นและปวดตลอดเวลาใน ระยะเวลาต่อมา (อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายหรือต้องใช้แขนหรือขา) เมื่อก้อนมะเร็งโตขึ้นผู้ป่วยจะคลาได้ก้อนแข็งหรือปุ่มยื่นออกมาจากกระดูกตรงกระดูกส่วนที่เป็นโรค ซึ่งส่วนใหญ่จะ พบที่กระดูกขา (บริเวณรอบ ๆ เข่า) และกระดูกแขน มีส่วนน้อยที่พบที่บริเวณอื่น ๆ ถ้าเกิดใกล้บริเวณข้อจะส่งผลให้ เกิดอาการข้อบวม เจ็บ เกิดการติดขัดของการใช้ข้อหรือข้อยึดติด ส่วนกระดูกแตกหรือหักจะพบได้ในระยะท้าย ๆ ของโรค (กระดูกหักเป็นผลสืบเนื่องมาจากโรค ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งกระดูก) ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจมาพบ แพทย์ด้วยอาการกระดูกแตกหักจากการกระทบกระแทกเล็กน้อยหรือเดินแล้วหัก และเข้าใจผิดคิดว่าเป็นกระดูก แตกหักจากอุบัติเหตุทั่วไปได้ นอกจากนี้ยังอาจพบอาการอื่น ๆ เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ซีด น้าหนักตัวลดลง เป็นต้น เมื่อโรคลุกลาม อาจส่งผลให้ก้อนเนื้อแตกเป็นแผลเลือดออกเรื้อรัง หรือโรคแพร่กระจายไปที่ปอดทาให้มีอาการหอบ เหนื่อย หรือแพร่กระจายเข้าไขกระดูกก่อให้เกิดภาวะซีดและอ่อนเพลีย บางครั้งอาจมีไข้ต่า ๆ เมื่อโรคลุกลาม ส่วนอีก อาการที่อาจพบได้ คือ คลาพบต่อมน้าเหลืองข้อพับที่ใกล้กับกระดูกที่เกิดโรคโต แต่ไม่เจ็บ เช่น ต่อมน้าเหลืองที่ขา หนีบโตเมื่อโรคเกิดกับกระดูกต้นขา เป็นต้น
  • 6. 6 อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกบางรายอาจมีรอยโรคเกิดขึ้นแต่ไม่มีอาการก็ได้ และแพทย์มักตรวจพบจากการที่ ผู้ป่วยมาตรวจสุขภาพประจาปี หรือเกิดอุบัติเหตุ เล่นกีฬา และมาตรวจเอกซเรย์แล้วพบ ซึ่งปัจจุบันมักจะพบลักษณะ นี้มากขึ้น อาการมะเร็งกระดูก อาการของมะเร็งกระดูก IMAGE SOURCE : prohealthblog.com, www.bestonlinemd.com อาการโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ เมื่อมะเร็งแพร่กระจายมาที่กระดูกจะทาให้กระดูกอ่อนลงและหักง่าย ทั้งนี้เป็น เพราะเซลล์มะเร็งจะสร้างสารทาลายกระดูก เมื่อกระดูกสลายก็จะทาให้แคลเซียมเข้าสู่กระแสเลือดและก่อให้เกิด ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงตามมา ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยหมดสติหรือชักได้ นอกจากนี้ในบางกรณียังพบว่า เซลล์มะเร็ง สามารถทาให้กระดูกหนาขึ้นผิดปกติ (Osteoblastic) ซึ่งพบได้น้อยกว่าแบบที่สลายกระดูก (Osteolytic) อย่างไรก็ ตาม ทั้งสองแบบก็สามารถทาให้เกิดอาการปวดกระดูกได้ทั้งคู่ สาหรับอาการและอาการแสดงของมะเร็งกระดูกชนิด ทุติยภูมิ คือ ปวดกระดูก ส่วนมากจะพบเป็นอาการแรก การปวดช่วงแรก ๆ มักจะเป็น ๆ หาย ๆ ปวดมากในตอนกลางคืน ถ้ามี การเคลื่อนไหวจะดีขึ้น หลังจากนั้นอาการปวดจะเป็นบ่อยขึ้นและอาจแย่ลงถ้ามีการเคลื่อนไหวร่างกาย กระดูกหัก ซึ่งมักเกิดจากการหกล้ม ยกของ อุบัติเหตุ หรือแม้กระทั่งในขณะที่กาลังทากิจวัตรประจาวันตามปกติ โดย ตาแหน่งที่พบได้บ่อย ๆ คือ กระดูกขา กระดูกแขน และกระดูกสันหลัง เมื่อกระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการปวดอย่าง รุนแรงขึ้นมาอย่างกะทันหันและไม่สามารถเคลื่อนไหวส่วนที่หักได้ การกดทับไขสันหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการชา อ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือมีปัญหาเรื่องการปัสสาวะ ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง ผู้ป่วยจะมีอาการท้องผูก คลื่นไส้ เบื่ออาหาร กระหายน้า ปัสสาวะบ่อย ร่างกายขาดน้า สับสน ง่วงซึม หมดสติ เห็นก้อนไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นข้อแตกต่างกับมะเร็งชนิดปฐมภูมิที่จะเด่นเรื่องก้อน ส่วนมะเร็งชนิดนี้จะไม่เด่นเรื่องก้อน แต่ จะมีภาวการณ์เป็นอัมพาตหรือการอ่อนแรงเกิดขึ้นได้ ระยะของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกปฐมภูมิแบ่งออกเป็น 4 ระยะเช่นเดียวกับโรคมะเร็งอื่น ๆ และบางระยะยังแบ่งย่อยได้อีก แต่ที่ แตกต่างจากโรคมะเร็งชนิดอื่น คือ ระยะของโรคจะขึ้นอยู่กับการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ เซลล์มะเร็งแบ่งตัวสูง และเซลล์มะเร็งแบ่งตัวต่า ซึ่งทั้ง 4 ระยะของโรค คือ ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่จุดเดียวในกระดูกและเป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวต่า ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งลุกลามจุดเดียวในกระดูก แต่เป็นเซลล์มะเร็งชนิดแบ่งตัวสูง ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งลุกลามหลายจุดในกระดูก หรือลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงกระดูก ระยะที่ 4 โรคมะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้าเหลือง และ/หรือแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งมักแพร่กระจายไปสู่กระดูก ชนิดอื่น ๆ ปอด และไขกระดูก
  • 7. 7 ความรุนแรงของโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิค่อนข้างรุนแรง ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาจะมีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ซึ่งเป็นชนิดที่พบบ่อยในเด็กมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้ในระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี แต่โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้ก็มีข้อดีคือ ถ้าตรวจพบในระยะแรกและมะเร็งยังไม่มีการแพร่กระจาย ผู้ป่วยอาจได้รับการรักษาให้หายขาดได้ เพียงแต่ว่า โรคมะเร็งกระดูกจะไม่เหมือนกับโรคมะเร็งชนิดอื่นตรงที่ไม่สามารถตรวจก่อนได้ จาเป็นต้องอาศัยความสงสัยจาก ผู้ปกครองว่าบุตรหลานมีความผิดปกติหรือไม่อย่างไร สาหรับโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับชนิดของมะเร็งที่แพร่กระจายมาด้วย เช่น ผู้ป่วย โรคมะเร็งเต้านมที่พบว่ามีการกระจายไปที่กระดูกอย่างเดียว ผู้ป่วยอาจจะสามารถมีชีวิตอยู่ไปอีกนาน แต่ในทาง ตรงกันข้ามถ้าผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดกระจายมาที่กระดูก ในระยะเวลาประมาณ 6 เดือน ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตได้ การวินิจฉัยโรคมะเร็งกระดูก แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคนี้ได้จากประวัติอาการ การตรวจร่างกาย การตรวจกระดูกส่วนที่เกิดโรค และจากการตรวจ ภาพกระดูกด้วยเอกซเรย์ธรรมดา (X-ray) หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT- scan) หรือการถ่ายภาพด้วยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ซึ่งจะช่วยบอกขนาดของมะเร็งที่แท้จริงได้ (มีประโยชน์ในแง่ของการวางแผนในการผ่าตัดรักษา รวมถึงสามารถบอกผู้ป่วยได้ว่าควรจะเก็บขาหรือแขนเอาไว้หรือควรตัดออก) แต่การตรวจวินิจฉัยที่ให้ผลแน่นอน คือ การตัดชิ้นเนื้อจากก้อนเนื้อในกระดูกเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา (นอกจากจะช่วยวินิจฉัยโรคได้แล้ว ยังช่วยบอก ระยะของโรคได้ด้วย ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากต่อการวางแผนการรักษาผู้ป่วย) นอกจากนั้น คือ การตรวจเพื่อจัดระยะโรคมะเร็งและเพื่อประเมินสุขภาพของผู้ป่วย เช่น การตรวจเลือดเพื่อดูการ ทางานของไขกระดูก ตับ และของไต, การตรวจปัสสาวะเพื่อดูการทางานของไต, การตรวจภาพปอดด้วยการเอกซเรย์ เพื่อดูว่ามะเร็งมีการแพร่กระจายเข้าสู่ปอดหรือไม่ (เพราะโดยปกติมะเร็งกระดูกมักจะแพร่กระจายไปที่ 2 อวัยวะหลัก คือ ปอดและที่กระดูกชิ้นอื่น) รวมทั้งอาจมีการตรวจไขกระดูก ภาพตับ และการสแกนกระดูก (Bone scan) ทั้งตัว เพื่อดูการแพร่กระจายของมะเร็งเข้าสู่อวัยวะต่าง ๆ เหล่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะของโรค ชนิดของเซลล์มะเร็ง และ ดุลยพินิจของแพทย์ วิธีรักษาโรคมะเร็งกระดูก การรักษาโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ ในปัจจุบันการรักษาหลัก คือ การผ่าตัดและการให้ยาเคมีบาบัด ส่วน การให้รังสีรักษาจะเป็นการรักษาร่วม และการให้ยารักษาตรงเป้านั้นยังอยู่ในขั้นตอนของการศึกษา โดยถ้าเป็นมะเร็ง ในระยะแรก การรักษาหลักจะเป็นการผ่าตัดเอาส่วนเนื้องอกและเนื้อเยื่อรอบข้างออก แต่ถ้าเป็นมะเร็งในระยะท้าย แล้ว การรักษามักใช้หลายวิธีร่วมกัน คือ การผ่าตัดร่วมกับการให้ยาเคมีบาบีด และการให้รังสีรักษาร่วมด้วย โดย จุดมุ่งหมายในการรักษามะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมินี้แพทย์จะมีเป้าหมายเพื่อนาเนื้องอกออกให้หมดและหวังให้ผู้ป่วย หายขาดจากโรค โดยวิธีการรักษานี้จะแบ่งออกเป็น 1.การผ่าตัด ศัลยแพทย์จะทาการผ่าตัดเนื้องอกและเนื้อเยื่อรอบข้างออก ซึ่งประมาณ 75-80% สามารถผ่าตัดเอาเนื้อ งออกโดยไม่ต้องตัดแขนหรือขาที่เป็นโรคแล้ว หลังจากนั้นศัลยแพทย์จะใส่เหล็กหรือกระดูกจากส่วนอื่นของร่างกาย
  • 8. 8 เข้าไปแทนที่กระดูกที่ถูกตัดออกไป แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจจาเป็นต้องตัดแขนหรือขา (เช่น ในผู้ป่วยที่แพทย์ไม่ สามารถตัดเนื้องอกมะเร็งออกได้หมด ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทากายภาพบาบัดได้) โดยการผ่าตัดจะมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ การตัดอวัยวะ และการเก็บอวัยวะ -การตัดอวัยวะ คือ การตัดแขนหรือขาส่วนที่เป็นมะเร็งออกไป โดยแพทย์จะตัดเฉพาะส่วนของตัวกระดูกที่เป็นเนื้อ งอกออกไป และให้ผู้ป่วยใส่แขนเทียมหรือขาเทียม แต่การรักษานี้จะไม่สามารถใช้ได้กับผู้ป่วยทุกราย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขนาดของก้อนมะเร็งและความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย (ในสมัยก่อนการตัดอวัยวะเป็นเรื่องที่ผู้ป่วยทุกคนเป็น กังวล แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีเรื่องของขาเทียมนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทั้งในเรื่องของวัสดุที่มีคุณภาพและความ สะดวกสบายในการปรับใช้ ทาให้ผู้ป่วยสามารถทาทุกอย่างได้เหมือนคนปกติ ดังนั้น การใช้ขาเทียมจึงแทบไม่เป็น ปัญหาอะไร ส่วนที่เหลือคือผู้ป่วยจะต้องมีการฝึกเดินและปรับเปลี่ยนความคิดว่าการตัดขาไม่ใช่การสิ้นสุดของชีวิต) -การเก็บอวัยวะ คือ การตัดเอาเฉพาะส่วนที่เป็นก้อนเนื้องอกออกและนากระดูกมาทดแทนส่วนที่ตัดออกไป (การ เปลี่ยนกระดูก) ซึ่งในสมัยก่อนนั้นเราจะนากระดูกจากผู้ป่วยที่เสียชีวิตแล้วมาทดแทนส่วนที่ตัดออกไป เพราะมีข้อดีคือ ผู้ป่วยไม่ต้องทานยากดภูมิคุ้มกันเหมือนการเปลี่ยนอวัยวะอื่น ๆ (เนื่องจากกระดูกเป็นโครงสร้างและไม่มีเนื้อเยื่อ การ ใส่กระดูกเข้าไปในผู้ป่วยจึงไม่เกิดภาวะต้าน หรือถ้าหากเกิดก็เกิดขึ้นได้น้อยมาก) แต่เนื่องจากกระดูกที่นามาใช้นั้น โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นกระดูกของผู้สูงอายุ เมื่อนามาเปลี่ยนให้กับเด็ก กระดูกเหล่านี้จึงมีการสลายได้ง่ายหรือมีการ หักได้ง่ายขึ้น (แต่หากผู้ป่วยรู้จักวิธีการดูแลรักษากระดูก กระดูกก็จะอยู่ได้นานหลายปี) และเป็นเรื่องที่น่าเสียดายเป็น อย่างมากที่ในปัจจุบันการบริจาคกระดูกยังคงมีน้อยมากเพราะคนไม่ค่อยรู้จักและทางสภากาชาดไทยเองก็ไม่มี นโยบายที่จะทาเรื่องนี้ (ในปัจจุบันธนาคารกระดูก หรือ Bone Bank มีอยู่ 2 แห่งด้วยกันที่ทาเรื่องนี้ คือ ศิริราชและ พระมงกุฎเกล้า ซึ่งถ้าเป็นเมื่อก่อนแพทย์จะใช้วิธีการเก็บกระดูกจากผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่ไร้ญาติเพื่อนามาใช้เปลี่ยน กระดูกให้ผู้ป่วยได้ แต่ปัจจุบันนี้มีข้อห้ามทางกฎหมายและไม่สามารถทาได้แล้ว การนามาใช้จึงต้องมีผู้บริจาค แต่ เนื่องจากไม่มีการประชาสัมพันธ์ในเรื่องนี้ ประกอบกับความเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ จึงทาให้การบริจาคกระดูกยังไม่ เป็นที่นิยมในประเทศไทย จนส่งผลให้ในปัจจุบันแทบจะไม่มีกระดูกใช้เลย) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันได้มีการนา เทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่นที่เรียกว่า การทา “Recycling Bones” มาใช้ โดยจะเป็นการนากระดูกของผู้ป่วยที่เป็น โรคมะเร็งกระดูกที่ถูกตัดออกมาแล้วนามาทาลายเซลล์มะเร็ง ซึ่งการทาลายเซลล์มะเร็งนี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายวิธี เช่น การฉายรังสี (โดยใช้ปริมาณรังสีที่สูงมากจึงทาให้เซลล์มะเร็งที่อยู่ในกระดูกตายหมด จากนั้นจึงเอาตัวเซลล์มะเร็งที่ ตายออก แล้วนากระดูกชั้นนั้นมาใส่เหล็กและนากลับเข้าไปใส่ในผู้ป่วยเหมือนเดิม) หรือการนากระดูกไปแช่ใน ไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิลบ 167 องศาเซลเซียส แต่การนากระดูกเหล่านี้ไปผ่านกรรมวิธีดังกล่าวจะทาให้กระดูกเสีย คุณภาพได้ ดังนั้น กระดูกอาจจะหักได้ง่ายไม่เหมือนกระดูกทั่วไป และมีระยะเวลาในการใช้งานเพียงประมาณ 5 ปี -การใช้ข้อเทียม การรักษาจะเป็นการใส่ข้อเทียมที่เป็นโลหะสาหรับโรคมะเร็งทดแทนที่เรียกว่า “Endoprosthesis” โดยไม่ต้องตัดแขนหรือขาอย่างในสมัยก่อน หลังการผ่าตัดผู้ป่วยสามารถลุกเดิน ลงน้าหนัก และขยับแขนขาได้ภายใน ระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งจะส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (การใช้ข้อเทียมในการรักษาโรคมะเร็งกระดูกจะไม่ เหมือนกับการใช้ข้อเทียมแบบอื่น เพราะข้อเทียมที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งกระดูกจะต้องใช้โลหะที่มีความแข็งแรง มากกว่า ส่วนกรรมวิธีในการผลิตก็จะมากกว่าด้วยเช่นกัน) -การผ่าตัดแบบเจาะรู (Minimal invasive surgery) เป็นวิธีการผ่าตัดที่ถูกพัฒนาขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นการรักษาในผู้ป่วย ระยะแรกที่มาพบแพทย์เร็ว โดยวิธีการคือ เมื่อแพทย์ตรวจพบว่าผู้ป่วยเริ่มมีการก่อเซลล์มะเร็งขึ้นในจุดใดจุดหนึ่งของ
  • 9. 9 กระดูก แพทย์ก็จะเจาะรูที่กระดูกตรงนั้น แล้วจะใช้ Probe ตัวเส้นที่ให้ความร้อนผ่านระบบแรงสั่นสะเทือนเข้าไป ทาลายมะเร็ง ซึ่งพบว่าได้ผลดี เพียงแต่ผู้ป่วยจะต้องเข้ามารักษาในระยะแรกเท่านั้น 2. การให้ยาเคมีบาบัด เนื่องจากการผ่าตัดเพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอต่อการรักษามะเร็งกระดูก (โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งโรคมะเร็งกระดูกชนิดออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ที่พบได้เป็นส่วนใหญ่และตอบสนองได้ดีต่อยาเคมี บาบัด) เพราะบางครั้งมะเร็งอาจมีการแพร่กระจายออกไปยังอวัยวะอื่นได้ (ที่พบบ่อยที่สุด คือ ปอด) ซึ่งการให้ยาเคมี บาบัดจะสามารถช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งกระดูกบางชนิดได้ ซึ่งแพทย์มักจะให้ยาเคมีบาบัด 3-4 รอบก่อนการผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีการแพร่กระจายของมะเร็ง หรือในกรณีที่มะเร็งมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วหรือเป็น มะเร็งกระดูกระยะสุดท้ายแล้ว เพื่อลดขนาดของก้อนมะเร็งเพื่อช่วยให้การผ่าตัดทาได้ง่ายขึ้น และยังช่วยเพิ่มอัตรา การรอดชีวิตได้ด้วย และหลังการผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องได้รับยาเคมีบาบัดอีกเพื่อทาลายเซลล์มะเร็งที่เหลืออยู่ 3) การให้รังสีรักษา เป็นการรักษาร่วมที่แพทย์จะเลือกใช้เฉพาะในรายที่ผ่าตัดไม่ได้หรือเมื่อโรคแพร่กระจายแล้ว หรือ ในรายที่ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกไม่หมดหรือยังมีเซลล์มะเร็งหลงเหลืออยู่ในร่างกาย โดยการรักษาจะเป็นการใช้รังสี เอ็กซ์หรืออนุภาคอื่น ๆ ในการทาลายเซลล์มะเร็ง การใช้รังสีรักษาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท ประเภทแรกจะเป็นการ ใช้เครื่องฉายรังสีจากภายนอกร่างกาย (External beam radiation therapy) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกว่าประเภทที่สองคือ การฝังแร่ในร่างกาย (Internal beam radiation therapy) การใช้รังสีรักษานี้มีทั้งการใช้ก่อนการผ่าตัดเพื่อลดขนาด ของก้อนเนื้องอกและการใช้หลังผ่าตัดเพื่อกาจัดเซลล์มะเร็งที่หลงเหลืออยู่ในร่างกาย นอกจากนี้การใช้รังสีรักษายังมี ส่วนช่วยในการลดขนาดของการผ่าตัดทาให้ไม่ต้องตัดแขนหรือขาส่วนที่เป็นมะเร็งออก และช่วยลดความเจ็บปวดใน ผู้ป่วยมะเร็งกระดูกระยะสุดท้ายได้ด้วย 4) การให้ยารักษาตรงเป้า (Targeted therapy) เป็นการรักษาโดยใช้ยาที่เข้าไปรักษายีนโดยตรง ซึ่งตอนนี้ยังอยู่ใน ขั้นตอนการศึกษาและก็มีการค้นพบเรื่อย ๆ ในเรื่องของยีนที่เฉพาะเจาะจงกับโรคมะเร็งกระดูก แต่ว่ามะเร็งกระดูกจะ แตกต่างจากมะเร็งชนิดอื่น คือ ในก้อนมะเร็งกระดูกจะมียีนอยู่หลายชนิด และยีนแต่ละชนิดก็ไม่เหมือนกัน จึงไม่ สามารถบอกได้ว่ามะเร็งกระดูกมียีนที่เป็นยีนชนิดเดียวกัน ดังนั้นการรักษาด้วยวิธีนี้จึงยังเข้าไม่ถึงจนกว่าจะสามารถ ทราบได้ว่ามะเร็งกระดูกมียีนอะไรที่เกี่ยวข้องบ้าง 5) การติดตามการรักษาเป็นระยะ ภายหลังการรักษาแพทย์จะมีการติดตามการรักษาเป็นระยะ ๆ เพื่อสอบถาม อาการ (เช่น อาการปวดกระดูก บวม เป็นต้น), ตรวจร่างกาย, ตรวจเลือด และตรวจเอกซเรย์หรือสแกนกระดูก (Bone scan) เพื่อสืบค้นว่าผู้ป่วยมีการกลับมาเป็นซ้าของมะเร็งหรือไม่ และมะเร็งมีการกระจายไปที่ปอดหรือ กระจายไปที่กระดูกส่วนอื่นหรือไม่ เพราะประมาณ 80% ของผู้ป่วยจะมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าภายใน 2 ปี และอีก ประมาณ 20% ที่เหลือจะมีโอกาสกลับมาเป็นซ้าเมื่อครบประมาณ 5 ปี แต่พอหลังจาก 5 ปีไปแล้ว โอกาสการเกิดซ้า ของโรคมะเร็งหรือการกระจายของมะเร็งจะลดลงไปมาก คือ ถ้าเกิน 5 ปีไปแล้ว ไม่มีการเกิดของโรคซ้าอีก จึงจะ เรียกว่าหายขาดได้ 6 ) การดูแลตนเอง ผู้ป่วยหลังการผ่าตัดจะต้องทากายภาพบาบัดเพื่อฟื้นฟูร่างกายร่วมด้วย ผู้ป่วยที่หายจากมะเร็ง กระดูกแล้วจะต้องดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกาลังกายตามควรแก่สุขภาพ ควบคุมน้าหนักให้ดี งดการสูบบุหรี่ และตรวจเช็กมะเร็งกระดูกเป็นระยะ ทั้งนี้ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมในการ ปฏิบัติตัว การรักษาโรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ
  • 10. 10 โดยปกติแพทย์จะมุ่งรักษามะเร็งต้นกาเนิดก่อนเป็นหลัก ส่วนการรักษามะเร็งกระดูกทุติยภูมิจะเป็นรักษารอง (ซึ่งมักจะเป็นการรักษาร่วม คือ การให้ยาเคมีบาบัดหรือการให้รังสีรักษา ส่วนการผ่าตัดจะเป็นแค่ส่วนหนึ่งของการ รักษาเท่านั้น ทั้งนี้แพทย์จะพิจารณาจากชนิดของมะเร็งตั้งต้น, ตาแหน่งของกระดูกและจานวนกระดูกที่มะเร็ง แพร่กระจายไป, การเปลี่ยนแปลงของกระดูกที่เกิดจากเซลล์มะเร็งว่าเป็นชนิดที่ถูกทาลายหรือถูกสร้างเพิ่ม, ชนิดของ การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับอยู่ก่อน และสภาพร่างกายของผู้ป่วยในขณะนั้น) โดยจุดมุ่งหมายในการรักษามะเร็งกระดูก ชนิดทุติยภูมินี้แพทย์จะไม่ได้รักษาเพื่อหวังให้ผู้ป่วยรอดชีวิต แต่การรักษาจะเป็นไปเพื่อทาให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดี ขึ้น โดยจะมีหลักในการรักษา คือ 1.) ผู้ป่วยจะต้องไม่ปวด, 2.) ทาอย่างไรจะให้ผู้ป่วยกลับมาใช้อวัยวะข้างที่เป็นอยู่ได้ ทันที (เช่น กระดูกขาของผู้ป่วยหัก เมื่อผ่าตัดเสร็จ เขาก็สามารถกลับมาเดินได้ เป็นต้น) และ 3.) ทาอย่างไรจะให้ ผู้ป่วยพึ่งผู้อื่นได้น้อยที่สุด (เพราะถ้าผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ เขาก็จะมีความภาคภูมิใจในตัวเอง และไม่รู้สึก เสียคุณค่าของตัวเองไป จึงทาให้ผู้ป่วยยังอยากที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป) 1.การให้ยาเคมีบาบัด เป็นการรักษาหลักในมะเร็งที่แพร่กระจายหลายชนิด โดยมีทั้งแบบฉีดเข้าเส้นเลือดและแบบ รับประทาน ซึ่งยาจะเข้าไปในกระแสเลือดและไปยังเซลล์มะเร็งทั่วร่างกาย จึงช่วยลดอาการปวดของผู้ป่วยลงได้ 2.การรักษาด้วยฮอร์โมนบาบัด เช่น การตัดรังไข่ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม หรือการตัดอัณฑะในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก (เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนที่สร้างจากรังไข่และฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนที่สร้างจากอัณฑะจะสามารถเพิ่มการ เจริญเติบโตของมะเร็งเต้านมและมะเร็งต่อมลูกหมากได้ ดังนั้น จึงมีการรักษาเพื่อพยายามลดระดับฮอร์โมนเหล่านี้ลง) นอกจากนี้ยังมีการใช้ฮอร์โมนเพื่อยับยั้งการสร้างฮอร์โมนดังกล่าวด้วย เช่น luteinizing-releasing hormone (LHRH) 3.การให้ยาบิสฟอสโฟเนต (Bisphosphonate) ปกติเป็นยาที่ใช้รักษาโรคกระดูกพรุน แต่ผู้ป่วยมะเร็งที่กระจายมาที่ กระดูก ยาตัวนี้จะช่วยลดอาการปวดกระดูก ลดอัตราการทาลายกระดูกของเซลล์มะเร็ง ลดภาวะแคลเซียมในเลือดสูง และช่วยลดความความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักได้ 4.การให้ยาลดอาการปวดที่เกิดจากมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่กระดูก แพทย์มักจะเริ่มต้นด้วยการให้ยาแก้ปวด เช่น พาราเซตามอล หรือยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) แต่ถ้าไม่สามารถควบคุมอาการปวดได้ แพทย์จะ พิจารณาให้ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์ (Opioid) เช่น โคเดอีน (Codeine), ไฮโดรโคโดน (Hydrocodone), มอร์ฟีน (Morphine) หรือออกซิโคโดน (Oxycodone) ซึ่งยาในกลุ่มนี้จะมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการลดอาการปวดที่เกิดจาก มะเร็ง 5.การให้รังสีรักษา เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงหรืออนุภาคในการทาลายเซลล์มะเร็ง การฉายรังสีสามารถทาได้ 2 แบบ คือ การฉายรังสีในปริมาณมากเพียงครั้งเดียว และการฉายรังสีในปริมาณน้อยหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งส่วนมากแพทย์จะ แนะนาให้ฉายรังสีหลายครั้งมากกว่า เนื่องจากผู้ป่วยจะมีโอกาสกลับมามีอาการปวดได้น้อยกว่า แต่การฉายรังสีนี้จะ เหมาะกับโรคมะเร็งที่ยังแพร่กระจายไปไม่มาก เช่น 1-2 แห่ง แต่ถ้าแพร่กระจายไปทั่วร่างกายแล้วอาจจะไม่เหมาะ (ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปหลายตาแหน่งแล้ว แพทย์อาจฉีดสารเภสัชรังสี ซัมมาเรียม-153 (sm-153) เข้าทาง หลอดเลือดดา ซึ่งสารดังกล่าวจะเข้าไปจับกับบริเวณที่มะเร็งกระจายที่กระดูกแล้วปลดปล่อยรังสีบริเวณนั้นทาให้ อาการปวดของผู้ป่วยทุเลาลง)
  • 11. 11 6.การจี้ก้อนเนื้องอกด้วยความร้อน ความเย็น หรือสารเคมี (ที่นิยมที่สุดคือ การจี้ด้วยกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะต้องทาใน ขณะที่ผู้ป่วยได้รับยาสลบ) แต่วิธีนี้ยังไม่เป็นที่นิยมใช้ในการรักษา 7.การผ่าตัด ส่วนใหญ่การผ่าตัดจะเป็นเรื่องของการเสริมกระดูกที่เสียหายให้แข็งแรงขึ้น ป้องกันกระดูกหัก เช่น ผู้ป่วย มะเร็งกระจายไปที่กระดูกสันหลัง ทาให้กระดูกสันหลังยุบตัว การผ่าตัดจะเป็นไปเพื่อใส่เหล็กเข้าไปค้าเพื่อไม่ให้ กระดูกทรุดตัว หรือเมื่อมีการกดไขสันหลัง การผ่าตัดจะทาเพื่อไปตัดตาแหน่งที่กดทับออกไป เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้ การฉีดสาร Polymethyl methacrylate (PMMA) ซึ่งทาหน้าที่คล้ายซีเมนต์หรือกาวเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กระดูก และสามารถช่วยลดอาการปวดกระดูกให้แก่ผู้ป่วยด้วย 8.การผ่าตัดแบบตัดกระดูกออกไป เป็นวิธีที่แทบจะไม่ค่อยได้ทาในผู้ป่วยโรคมะเร็งกลุ่มนี้ การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคมะเร็งกระดูก การดูแลตนเองจะเหมือนกับโรคมะเร็งอื่น ๆ ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไปในเรื่อง การดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคมะเร็ง, การ ดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง, การดูแลตนเองและการดูแลผู้ป่วยเคมีบาบัด ผลการรักษาโรคมะเร็งกระดูก โรคมะเร็งกระดูกเป็นโรคที่มีความรุนแรง ผลการรักษาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระยะของโรค, ชนิดของ เซลล์มะเร็ง (เช่น ชนิดอีวิงจะมีอัตรารอดชีวิตที่ 5 ปี ต่ากว่าชนิดอื่น), ขนาดของก้อนมะเร็ง (ยิ่งก้อนโตความรุนแรง ของโรคยิ่งสูงขึ้น), การตอบสนองของโรคต่อยาเคมีบาบัด, การผ่าตัด (ถ้าผ่าตัดไม่ได้ เพราะตาแหน่งของโรคหรือผู้ป่วย มีสุขภาพไม่ดี ความรุนแรงของโรคก็จะสูงขึ้น) รวมถึงอายุและสุขภาพของผู้ป่วย โดย ในโรคมะเร็งออสตีโอซาร์โคมา (Osteosarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 75-80% ระยะที่ 2 ประมาณ 60-75% ระยะที่ 3 ประมาณ 30-50% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-10% ในโรคมะเร็งอีวิง (Ewing’s sarcoma) ระยะที่ 1 อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ประมาณ 70% ระยะที่ 2 ประมาณ 60-70% ระยะที่ 3 ประมาณ 20-40% ระยะที่ 4 อัตราการรอดชีวิตที่ 2 ปี ประมาณ 0-5% ผลข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งกระดูก ผลข้างเคียงจากการรักษาจะขึ้นอยู่กับวิธีรักษา ผลข้างเคียงจะสูงขึ้นเมื่อใช้วิธีรักษาหลายวิธีร่วมกัน ในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค
  • 12. 12 ไขมันในเลือดสูง และโรคที่ก่อให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เช่น โรคภูมิต้านตนเอง หรือ Autoimmune disease) การผ่าตัด เช่น การเสียเลือด การสูญเสียเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ แผลผ่าตัดติดเชื้อ และเสี่ยงต่อการดมยาสลบ ยาเคมีบาบัด คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ผมร่วง ภาวะเลือดออกง่ายจากการมีเกล็ด เลือดต่า ภาวะซีด และเพิ่มโอกาสการติดเชื้อจากภาวะเม็ดเลือดขาวต่า แต่ผลข้างเคียงเหล่านี้จะหมดไปเมื่อการรักษา สิ้นสุด รังสีรักษา คือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ผลข้างเคียงต่อผิวหนัง และเพิ่มโอกาสทาให้กระดูกหักในส่วนที่ได้รับรังสี ยารักษาตรงเป้า ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ คือ การเกิดสิวขึ้นทั่วตัวรวมทั้งใบหน้า และยาบางชนิดอาจก่อให้เกิดภาวะ เลือดออกได้ง่าย เมื่อเกิดบาดแผลจะทาให้แผลติดยาก และอาจเป็นสาเหตุทาให้ผนังลาไส้ทะลุได้ วิธีป้องกันโรคมะเร็งกระดูก เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีวิธีในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิตั้งแต่ยังไม่มีอาการได้ อีกทั้งปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มักเป็นปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น จึงยังไม่มีวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็งกระดูกได้ แต่ที่ พอทาได้ก็คือ การสังเกตตนเอง เมื่อพบว่ามีอาการผิดปกติดังกล่าวเกิดขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและ รับการรักษาโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ปกครองเองก็ควรเอาใจใส่และคอยสังเกตดูบุตรหลานอยู่เสมอ (เพราะโรคมะเร็ง กระดูกปฐมภูมิมักเกิดกับคนในช่วงอายุ 10-20 ปี) ถ้าพบว่าบุตรหลานไม่สบายมีอาการเจ็บที่แขนขา ควรรีบไปพบ แพทย์ อย่ารอให้เป็นมากแล้วจึงค่อยพาไป และการไปพบแพทย์ควรไปพบแพทย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านนี้โดยตรง เนื่องจากผู้ป่วยโรคมะเร็งกระดูกจาเป็นต้องได้รับการติดตามในระยะยาว ส่วนการป้องกันโรคมะเร็งชนิดทุติยภูมิ คือ การตรวจพบมะเร็งตั้งแต่เริ่มต้นก่อนที่จะแพร่กระจายและรักษาด้วยการ ผ่าตัด ยาเคมีบาบัด หรือรังสีรักษา ซึ่งในปัจจุบันแพทย์แนะนาให้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ และมะเร็ง ปากมดลูก แต่หากผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ได้แก่ ปวดหลัง (อาจมีอาการปวดหลังร้าวลง ขา), ชาที่ขาหรือช่วงท้อง, ขาอ่อนแรงหรือมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว หรือไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ หรือมีปัญหา เรื่องการปัสสาวะ ซึ่งอาการเหล่านี้จัดเป็นภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูก หากไม่ได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงทีอาจทาให้เกิดอัมพาตได้ วิธีดำเนินงำน แนวทำงกำรดำเนินงำน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 13. 13 งบประมำณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดำเนินงำน ลำดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 11 12 1 3 14 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คำดว่ำจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 14. 14 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้ำงอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0 %B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/ https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0 %B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81/