SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
การจัดตั้งธุรกิจ
รูปแบบธุรกิจในประเทศไทยโดยทั่วไป
9 รูปแบบ
1.การประกอบการแบบเจ้าของคนเดียว
2.ห้างหุ้นส่วน
3.บริษัทจากัด
4.บริษัทมหาชนจากัด
5.กิจการร่วมค้า
6.กองทุนธุรกิจ
7.โฮลดิงคอมพานี
8.สหกรณ์
9.รัฐวิสาหกิจ
ธุรกิจเจ้าของคนเดียว
 เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมที่สุดในประเทศไทย
ข้อดี
o การจัดตั้ง และเลิกกิจการทาได้สะดวก
o การดาเนินงานมีอิสระ คล่องตัว ง่ายต่อการตัดสินใจดาเนินงาน
o กฎหมายระเบียบข้อบังคับมีน้อย ไม่ต้องทาบัญชี ไม่ต้องส่งงบดุล เสียภาษีไม่ยุ่งยาก
o ควบคุมพนักงานได้ง่าย
o ถ้ามีความลับทางธุรกิจ ก็สามารถป้องกันการรั่วไหลได้ดี
ธุรกิจเจ้าของคนเดียว
ข้อเสีย
o มีทุนจากัด จะขยายกิจการให้ใหญ่โตหรือทาธุรกิจใหญ่ไม่ได้
o ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายแต่เพียงผู้เดียว
o ความรู้ความสามารถมีจากัดเพราะประกอบการคนเดียว
o ขาดความต่อเนื่องในกิจการเมื่อเจ้าของมีปัญหา เช่น ป่วย หรือเสียชีวิต
ธุรกิจเจ้าของคนเดียว
สถานการณ์ที่เหมาะแก่การดาเนินธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว
 ธุรกิจนั้นต้องการเงินทุนไม่มากนัก เพราะเป็นเงินทุนที่มาจาก
ผู้ประกอบการเพียงคนเดียว ไม่ได้มีการระดมทุน
 การดาเนินการมีขอบเขตไม่กว้างขวางมากนัก ผู้ประกอบการมี
โอกาสพบปะพูดคุยกับลูกค้าเองได้โดยตรง
 เป็นกิจการที่ลูกค้าตอ้งได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นรายบุคคล
 เป็นธุรกิจที่มีความเสี่ยงน้อย เช่น มีการแข่งขันน้อย เป็นกิจการที่
จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต มีตลาดกว้างขวาง
ห้างหุ้นส่วน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ห้างหุ้นส่วนแบ่งออกเป็น
2 ประเภท
 ห้างหุ้นส่วนสามัญ
 ห้างหุ้นส่วนจากัด
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
 เป็นการร่วมลงทุนของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เรียกว่า หุ้นส่วน
 หุ้นส่วนแต่ละคน มีหน้าที่ลงทุน และต้องรับผิดชอบต่อภาระหนี้สิน
ที่จะเกิดขึ้นอย่างไม่จากัด
 สิ่งที่นามาลงทุน เป็นได้ทั้ง เงิน ทรัพย์สิน และแรงงาน
 กฎหมายไม่ได้บังคับให้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
 ถ้าจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะมีสภาพเป็น นิติบุคคล
ต้องใช้ชื่อว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
 ถ้าไม่ได้จดทะเบียนนิติบุคคล จะมีสภาพเป็น บุคคลธรรมดา
 กรณีเป็น บุคคลธรรมดา แล้วประกอบกิจการพาณิชย์ ต้องจดทะเบียน
พาณิชย์ภายใน 30 วัน และใช้ชื่อกิจการโดยไม่มีคาว่า ห้างหุ้นส่วนก็ได้
เช่น ห้างค้าดี ค้าดี ห้างหุ้นส่วนค้าดี
ห้างหุ้นส่วนจากัด
 ต้องมีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
 แบ่งเป็น 2 จาพวก
1.จาพวก จากัดความรับผิด
o หากมีหนี้สินที่เกิดจากการดาเนินการให้รับผิดเท่าที่ลงหุ้น
o หุ้นส่วนไม่มีสิทธิเข้าจัดการงานของห้าง
2.จาพวก ไม่จากัดความรับผิด
o หากมีหนี้สินที่เกิดจากการดาเนินการต้องรับผิดชอบโดย
ไม่จากัดจานวน
o หุ้นส่วนมีสิทธิเข้าจัดการงานของห้างได้
ห้างหุ้นส่วนจากัด
การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน
 ต้องยื่นขอจดทะเบียน ณ สานักงานจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท
แห่งท้องที่ซึ่งสานักงานใหญ่ของห้างหุ้นส่วนตั้งอยู่
 สิทธิประโยชน์ด้านภาษี
o กรณีจดทะเบียน การคิดภาษีที่ต้องจ่ายจะคิดจาก กาไร ของกิจการ
ห้างปีใดไม่มีกาไร ก็ไม่ต้องจ่ายภาษี
o กรณีไม่จดทะเบียน การคิดภาษีจะคิดจาก รายรับ ไม่ว่าจะขาดทุนเท่าใด
ก็ต้องจ่ายภาษี
ห้างหุ้นส่วน
ข้อดี
 มีเงินทุนมากขึ้น ถ้ามีหุ้นส่วนมากก็ระดมทุนได้มาก
 การจัดตั้งและเลิกกิจการไม่ยุ่งยาก
 เป็นการรวมความรู้ความสามารถหลายด้านช่วยกัน ทาให้กิจการเจริญ
และขยายตัวได้ดี
 มีเครดิต หรือน่าเชื่อถือกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว
 มีกฏหมายเอื้อเรื่องภาษี
ห้างหุ้นส่วน
ข้อเสีย
 ทุนจากัดถ้าหุ้นส่วนมีน้อยราย
 มีปัญหาเรื่องความซื่อสัตย์ของหุ้นส่วนบางคน
 ความรับผิดชอบของหุ้นส่วนไม่จากัด ทาให้ไม่กล้าเสี่ยงขยายกิจการ
 ทุนที่เข้าหุ้นถอนได้ยาก จนกว่าจะเลิกกิจการ
การจัดการห้างหุ้นส่วน
 การแต่งตั้งผู้จัดการห้างหุ้นส่วน อาจเป็นคนเดียว หรือหลายคนก็ได้
 ผู้จัดการห้างย่อมมีอานาจจัดการงานทั้งหลายตามวัตถุประสงค์การค้า
 หน้าที่ของหุ้นส่วนผู้จัดการ
o ต้องจัดการงานของห้างด้วยตัวเอง
o ต้องจัดการงานของห้างด้วยความรอบคอบระมัดระวัง
o ต้องส่งเงินและทรัพย์สินที่ทาในนามของห้าง
o ต้องชดใช้แก่ห้างเมื่อเกิดความเสียหายเพราะความประมาทเลินเล่อ
หรือกระทาการนอกเหนือขอบเขต
o ต้องรายงานความก้าวหน้าของกิจการให้หุ้นส่วนทราบ
การเลิกกิจการห้างหุ้นส่วน
 เมื่อเกิดเหตุให้เลิกตามที่ระบุไว้ในสัญญา
 เลิกตามอายุกิจการที่กาหนดไว้ในสัญญา
 เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งบอกเลิกกิจการ ล่วงหน้า 6 เดือน
ก่อนสิ้นรอบปีในทางบัญชีการเงินของห้างหุ้นส่วนนั้น
 เมื่อสัญญากาหนดไว้ว่าต้องเลิกเมื่อทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งสาเร็จ
 เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย หรือล้มละลาย หรือ
ตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ
บริษัทจากัด
บริษัท
คือ องค์การธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนออกเป็นหน่วยเล็กๆ
เรียกว่า “หุ้น” โดยแต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่าๆกัน ผู้ร่วมกิจการเรียกว่า “ผู้ถือหุ้น”
บริษัทจากัด
แบ่งเป็น 2 ประเภท
 บริษัทจากัด
 บริษัทจากัด มหาชน
บริษัทจากัด
ลักษณะสาคัญของบริษัทจากัด
 ต้องมีผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 คน
 หุ้นมีค่าเท่าๆกัน หุ้นละไม่ต่ากว่า 5 บาท
 มีคาว่า บริษัทนาหน้าชื่อ และลงท้ายด้วย จากัด เสมอ
 การดาเนินการของบริษัทเป็นหน้าที่ของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นไม่มี
อานาจเข้ามาจัดการ
 ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เป็นผู้กาหนดนโยบาย แต่งตั้ง หรือ ถอดถอนกรรมการ
และมีหน้าที่กาหนดเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น
 บริษัทจะต้องออก ใบหุ้น ให้แก่ผู้ถือหุ้นยึดถือไว้
บริษัทจากัด
ข้อดี
 สามารถระดมทุนได้มากด้วยการขายหุ้นให้แก่ผู้ที่สนใจ
 ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นมีจากัดเพียงมูลค่าที่ถือหุ้น
 อายุของบริษัทจากัดยาวนาน มั่นคง ถาวร
 หุ้น สามารถเปลี่ยนมือได้โดยการโอนหรือขายหุ้น ซึ่งกระทาได้โดยง่าย
 บริษัทขยายทุนได้ง่าย โดยออกหุ้นเพิ่ม
 การจัดการมีประสิทธิภาพ เพราะมอบหมายให้กรรมการบริษัทสรรหา
ผู้มีความรู้ความสามารถเข้ามาดาเนินการ
บริษัทจากัด
ข้อเสีย
 การจัดตั้งมีความซับซ้อนยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายในการก่อตั้งแพง
 การบริหารอาจผิดพลาด หากผู้บริหาร และพนักงานไม่กระตือรือร้นในการ
ทางาน เพราะเป็นกิจการที่ผู้ถือหุ้นไม่ได้ดาเนินการเอง
 ต้องเสียภาษีสูงกว่าการประกอบธุรกิจในรูปแบบอื่น
 มีข้อจากัดด้านกฎหมายมาก เพราะต้องการให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ถือหุ้น
 อาจมีการขัดแย้งด้านการดาเนินงานระหว่างผู้บริหารงานกับผู้ถือหุ้น หากคิด
เห็นไม่ตรงกัน
การจัดตั้งบริษัทจากัด
ขั้นที่1 มี ”ผู้ริเริ่มก่อการ” ตั้งบริษัทตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เข้าชื่อกันทาหนังสือ
บริคณห์สนธิ แล้วนาไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียน
องค์ประกอบของหนังสือบริคณห์สนธิ
o ชื่อบริษัท
o ที่ตั้งสานักงานใหญ่
o วัตถุประสงค์ของบริษัท
o จานวนทุน หรือหุ้นที่จดทะเบียน
o ถ้อยคาที่แสดงว่าความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นมีจากัด
o ชื่อ อาชีพ ลายมือชื่อผู้ก่อการ พร้อมระบุจานวนหุ้นที่แต่ละคนถือ
การจัดตั้งบริษัทจากัด
ขั้นที่2 จัดการให้หุ้นทั้งหมดของบริษัทนั้นได้มีผู้ลงชื่อจองจนครบ
ขั้นที่3 ผู้เริ่มก่อการ
o ต้องนัดบรรดาผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นมาประชุมกันเป็นการประชุมใหญ่ โดยไม่ชักช้า
o เรียกว่า “การประชุม ก่อตั้งบริษัท”
o ดาเนินการเลือกตั้งกรรมการและพนักงานสอบบัญชี
o พร้อมระบุอานาจหน้าที่ของคนเหล่านี้
ขั้นที่4 ผู้เริ่มก่อการตั้งบริษัทจะต้องมอบกิจการทั้งปวงให้กรรมการที่เลือกตั้งขึ้น
ดาเนินการต่อไป และผู้เริ่มก่อการตั้งบริษัทก็หมดหน้าที่
ขั้นที่5 กรรมการบริษัทต้องไปขอจดทะเบียนบริษัทภายใน 3 เดือนนับแต่วัน
ประชุมก่อตั้งบริษัท เมื่อนายทะเบียนตรวจสอบความถูกต้องแล้วจะออก
ใบสาคัญการจดทะเบียนบริษัทให้ และบริษัทก็จะมีสภาพเป็นนิติบุคคล
ชนิดของหุ้น
หุ้น
หุ้นทุน หุ้นกู้
หุ้นทุนบุริมสิทธิ หุ้นทุนสามัญ
หุ้นทุน
หุ้นทุน คือ
o ทุนของบริษัทที่แบ่งออกเป็นหุ้น หุ้นละเท่าๆกัน
o ผู้ถือหุ้นถือว่าเป็นเจ้าของบริษัท
o ผู้ถือหุ้นทุนจะได้รับผลตอบแทนเป็นการปันผลกาไรจากการประกอบกิจการ
o ผู้ถือหุ้นทุนจะมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม
o แบ่งเป็น หุ้นทุนบุริมสิทธิ และหุ้นทุนสามัญ
หุ้นทุน
หุ้นทุนบุริมสิทธิ
 เป็นหุ้นของผู้ก่อการตั้งบริษัท
 มีสิทธิพิเศษในการรับเงินปันผลกาไร โดยจะได้รับการปันผลกาไร
ก่อนหุ้นทุนสามัญ
 มีสิทธิพิเศษในการได้รับส่วนแบ่งทรัพย์สินคืนในกรณีบริษัท
มีการเลิกกิจการก่อนหุ้นประเภทอื่น
หุ้นทุนสามัญ
 เป็นหุ้นที่ขายให้แก่คนทั่วไปที่เป็นผู้สนใจลงทุนในกิจการช่วงก่อนจด
ทะเบียนตั้งบริษัท
 ได้รับผลประโยชน์เป็นเงินปันผลกาไรที่เหลือจากหักให้หุ้นบุริมสิทธิ
หุ้นกู้
หุ้นกู้คือ
o หุ้นที่บริษัทขายให้แก่ประชาชนทั่วไปหลังจดทะเบียนตั้งบริษัท
o โดยบริษัทจะให้ค่าตอบแทนเป็นดอกเบี้ย
o บริษัทสัญญาจะจ่ายเงินต้นคืนให้แก่ผู้ถือหุ้นกู้เมื่อครบกาหนดเวลา
o ผู้ถือหุ้นกู้ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม
o บริษัทจะขายหุ้นกู้เมื่อต้องการขยายกิจการ
การจัดการบริษัทจากัด
 ต้องมีคณะกรรมการบริหารบริษัท จานวนเท่าใดก็ได้
 กรรมการมีอานาจควบคุมดูแลกิจการงานทั้งปวงของบริษัท
 กรรมการต้องดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของบริษัท
 ต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง เรียกว่า ประชุมสามัญ
 กรรมการต้องรับผิดชอบร่วมกันในการ
o จัดให้มีและรักษาไว้ซึ่งสมุดบัญชีและเอกสารที่กฎหมายกาหนด
o จัดให้มีการจ่ายปันผลหรือดอกเบี้ยให้เป็นไปตามกฎหมาย
o การดาเนินการให้เป็นไปตามมติที่ประชุมใหญ่
 กรรมการต้องจัดให้มีการทางบดุล งบกาไรขาดทุน และมีผู้ตรวจสอบ
บัญชีเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สามัญทุกปี
บริษัทจากัด มหาชน
บริษัทจากัด มหาชน มีลักษณะคล้ายบริษัทจากัด แต่แตกต่างกัน ดังนี้
 ต้องมีผู้เริ่มก่อการไม่น้อยกว่า 15 คนขึ้นไป
 หุ้นหนึ่งมีมูลค่าตั้งแต่ 1 บาทขึ้นไป
 ต้องเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไปอย่างน้อย 50%ของหุ้นทั้งหมด
 ชื่อบริษัทต้องมีคาว่า บริษัท นาหน้า และมีคาว่า จากัด(มหาชน) ลงท้าย
การจัดตั้งบริษัทมหาชน
ขั้นที่1 ผู้เริ่มก่อการไม่น้อยกว่า 15 คนทาหนังสือบริคณห์สนธิ บุคคล
เหล่านี้ครึ่งหนึ่งต้องมีที่อยู่ในประเทศไทย และมีการจองหุ้นรวมกัน
ไม่น้อยกว่า 5%ของทุนจดทะเบียน
องค์ประกอบหนังสือบริคณห์สนธิ
o คล้ายบริษัทจากัด
o ชื่อบริษัทต้องมีคาว่า จากัด(มหาชน) หรือ บมจ.
o มีวัตถุประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชนและชี้ชวนให้
ประชาชนซื้อหุ้นด้วย แต่บริษัทจากัดจะชี้ชวนประชาชนซื้อหุ้นไม่ได้
การจัดตั้งบริษัทมหาชน
ขั้นที่2 ผู้ก่อการตั้งบริษัทต้องขออนุญาตต่อสานักงานคณะกรรมการ
กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) และรอจนกว่าจะ
ได้รับอนุญาต
ขั้นที่3 เสนอขายหุ้นต่อประชาชนให้ได้ไม่ต่ากว่า 50%ของทุนทั้งหมด
โดยทาเป็นหนังสือชี้ชวน
ขั้นที่4 เปิดให้จองหุ้นโดยผ่านบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ (broker)
หรือธนาคาร
ขั้นที่5 ประชุมก่อตั้งบริษัท โดยผู้ก่อการเรียกผู้จองหุ้นทั้งหมดมาประชุม
เพื่อพิจารณาข้อบังคับของบริษัท เลือกตั้งกรรมการบริษัท เสร็จแล้ว
ผู้ก่อการตั้งบริษัทมอบกิจการทั้งหมดให้แก่คณะกรรมการที่เลือกขึ้น
ขั้นที่6 กรรมการบริษัทดาเนินการจดทะเบียนบริษัทภายใน 3 เดือนนับแต่วัน
ประชุมก่อตั้งบริษัทเสร็จ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าNattakorn Sunkdon
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSChatchamon Uthaikao
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกพัน พัน
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมBenjamas Kamma
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationDenpong Soodphakdee
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทยi_cavalry
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกDarika Roopdee
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
swot
swotswot
swot
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรม
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก
 

Similar to 2การจัดตั้งธุรกิจ

ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวthnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนNetsai Tnz
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานเกวลิน เผ่าภูไพร
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานเกวลิน เผ่าภูไพร
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handoutCharin Sansuk
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 

Similar to 2การจัดตั้งธุรกิจ (20)

ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
Organization&Management part1
Organization&Management part1Organization&Management part1
Organization&Management part1
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วน
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
1
11
1
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
Bus lesson1
Bus lesson1Bus lesson1
Bus lesson1
 

More from Thamonwan Theerabunchorn

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรThamonwan Theerabunchorn
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวThamonwan Theerabunchorn
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

More from Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastestLesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastest
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson6 7
Lesson6 7Lesson6 7
Lesson6 7
 

2การจัดตั้งธุรกิจ