SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Lesson 6-7
กลยุทธ์วางแผนจัดซื้อ
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
ภารกิจอย่างหนึ่งของผู้บริหารการจัดซื้อที่สาคัญ คือ การวางแผนการจัดซื้อ
ให้สอดคล้องกับแผนของหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์การตามงบประมาณที่ได้
จัดสรรไว้ของแต่ละหน่วยงาน
วัตถุประสงค์ของการวางแผนการจัดซื้อ มีองค์ประกอบที่ควรพิจารณาดังนี้
1. คุณภาพของสินค้าหรือวัตถุดิบ
บริษัทขนาดกลางและบริษัทขนาดใหญ่จะมีหน่วย
งานควบคุมคุณภาพ ที่จะทาหน้าที่ประสานงานกับฝ่ายจัดซื้อ เพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ก่อนทาการจัดซื้อ การตรวจสอบสามารถทาได้หลายประการ เช่น ใช้เครื่องมือ
วิทยาศาสตร์ ตรวจสอบจากเอกสารประกาศนียบัตร ISO 9000 มอก. สมอ. อย.
ในรับรอง ประสบการณ์ การตรวจสอบคุณภาพช่วยให้สินค้าที่ผลิตออกมาเป็นไปตาม
มารตรฐานสากล ได้รับความน่าเชื่อถือจากกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายและลูกค้าประจา
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
2. ราคาและเงื่อนไข
ราคาและเงื่อนไขที่ยุติธรรมจะช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขาย มีไมตรีจิตที่ดีต่อกัน
การซื้อขายดาเนินไปอย่างมิตรภาพ เกิดความจริงใจ ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถ
จัดสรรผลประโยชน์กันอย่างลงตัว ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องสามารถดาเนินภารกิจได้
อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ถ้าผู้ซื้อและผู้ขายขาดความจริงใจเอารัดเอาเปรียบ ราคา
ไม่ยุติธรรม สินค้ามีการปนปลอม คุณภาพลดลง ส่งมอบล่าช้า ความเสียหาย
ย่อมเกิดกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ราคาและเงื่อนไข จะต้องเกิดจากความ
พึงพอใจ ของผู้ซื้อและผู้ขายที่ยอมรับกันได้ และแบ่งผลประโยชน์กันอย่างลงตัว
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
3. การสร้างความสัมพันธ์กับแหล่งผู้ขาย
ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อสามารถคัดเลือกแหล่งผู้ขายได้ง่าย และสามารถ
เลือกแหล่งผู้ขายได้มากกว่าแหล่งผู้ซื้อ แต่ไม่ควรคิดว่าเป็นจุดแข็ง
เพราะจุดแข็งที่แท้จริงคือ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย เช่นในภาวะสินค้า
บางอย่างกาลังจะขาดแคลน หากมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
จะทาให้ผู้ขายส่งสัญญาณบางอย่างให้แก่ผู้ซื้อ ทาให้ผู้ซื้อสามารถเตรียมการ
ได้ล่วงหน้า ป้ องกันปัญหาสินค้าขาดช่วงได้
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
4. การหมุนเวียนของสินค้าหรือวัตถุดิบ
มีคากล่าวว่า “กาไรของธุรกิจนั้น ขึ้นอยู่กับอัตราการหมุนเวียนของสินค้า
หรือวัตถุดิบ” สภาพคล่องของสินค้าหรือวัตถุดิบจะต้องอยู่ในสภาพที่เหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด หมายความว่าสินค้าที่ฝ่ายบริหารการ
จัดซื้อดาเนินการอยู่ต้องไม่ตกค้าง อยู่ในคลังสินค้ามากหรือน้อยเกินไป สามารถ
นามาดาเนินการขาย หรือผลิตได้อย่างต่อเนื่อง เกิดความคล่องตัวของการหมุน
เวียนสินค้า โดยฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้องจะต้องดาเนินการภายใต้ข้อมูลข่าวสาร
ที่ถูกต้องและเกาะติดสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ทบทวนแก้ไขจุดอ่อน และ
อุปสรร ให้เป็นจุดแข็งและโอกาส
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
5. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ
ผู้บริหารการจัดซื้อจะต้องวางแผน กาหนดระเบียบวิธีการข้อบังคับ ค่าใช้จ่าย
ในการจัดซื้ออย่างรัดกุด เคร่งครัด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับทราบปฏิบัติเพื่อ
ผลประโยชน์ของบริษัท ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าแต่ละครั้งที่สูงเกินไปจะเป็น
ค่าใช้จ่ายผันแปร ทาให้ต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาสูงในแต่ละครั้ง มีผลต่อการตั้งราคาสินค้า
การแข่งขัน จุดคุ้มทุน จานวนสินค้าเขยิบตัวออกไป ทาให้การบริหารสินค้าคงคลัง
ไม่เกิดสภาพคล่องตัว ซึ่งจะมีผลกระทบต่อธุรกิจเหมือนลูกโซ่
องค์ประกอบวัตถุประสงค์การวางแผนการจัดซื้อ
6. การเคลื่อนย้ายสินค้าหรือวัตถุดิบ
แปลว่าเป็นการขนจากสถานที่ของผู้ขายมายังสถานที่ของผู้ซื้อ ซึ่งค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึ้นนี้จะเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญา ว่าฝ่ายใดเป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนการเคลื่อน
ย้ายสินค้าจากคลังสินค้าไปยังพื้นที่ขาย (Selling Floor) หรือในพื้นที่ผลิต
(Production Floor) ควรอยู่ในพื้นที่ใกล้กันที่จะไม่ทาให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่ม
โดยค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ทางฝ่ายผู้ขายจะเป็นผู้รับผิดชอบ
กระบวนการวางแผนการจัดซื้อ
การวางแผนการจัดซื้อ เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับแผนของฝ่ายอื่น ๆ อย่าง
ต่อเนื่อง เช่น แผนการผลิต แผนการตลาด แผนการขาย แผนการเงินและงบ
ประมาณ แผนการคลังสินค้า โดยแผนการดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับแผน
ของกิจการ สามารถปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ โดยยึดหลัก
ต่อไปนี้
1. การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการของกิจการ
2. การคาดคะเนระดับราคาในระยะสั้นและระยะยาว
3. การกาหนดระยะเวลาการจัดซื้อ
4. การกาหนดแผนการจัดซื้อ
5. การประเมินผลการจัดซื้อ
การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการของกิจการ
1.เมื่อยอดขายมีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบปกติ
(Simple Moving Everage Forcast Model)
การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการของกิจการ
1.เมื่อยอดขายมีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบแปรปรวน
(Weight Moving Everage Forcast Model)
การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการของกิจการ
1.เมื่อยอดขายมีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบแปรปรวน
(Weight Moving Everage Forcast Model)
หมายเหตุ ค่า W เมื่อรวมกัน แล้วได้ เท่ากับ 1 หรือมีค่าระหว่าง 0-1 โดยเมื่อ
ระยะเวลายิ่งใกล้จุดคานวณ ค่าความแปรปรวนจะยิ่งมากขึ้น
การคาดคะเนระดับราคาในระยะสั้นและระยะยาว
ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับราคา เงื่อนไข อุปสงค์ อุปทาน
จากแหล่งผู้ขายสินค้าหรือวัตถุดิบ ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อจะต้องคาดคะเนหรือ
พยากรณ์ ว่ามีแนวโน้มราคาจะเปลี่ยนแปลงในระยะสั้นหรือยาว การเปลี่ยน
แปลงราคาที่เพิ่มขึ้น แล้วจะลดลงมาสู่ระดับเดิม หรือยืนยันระดับราคาใหม่
ตลอดไป การเปลี่ยนแปลงทุกครั้งจะต้องมีการส่งสัญญาณให้เกิดการรับรู้
ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อจะต้องรายงานเหตุการณ์ แนวโน้มข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน
อนาคต ให้กับผู้บริหารระดับสูงได้ทราบ เพื่อป้องกันการขาดแคลนสินค้า
การปรับราคาขายปลีกของบริษัทในอนาคต เช่น มีแนวโน้มราคาวัตถุดิบกระดาษ
สาหรับผลิตหนังสือพิมพ์เพิ่มขึ้น 20% จากราคาเดิม ฝ่ายจัดซื้อจะต้องคานวณ
ว่าต้องจัดซื้อวัตถุดิบกระดาษเข้ามาเก็บไว้ในคลังสินค้าจานวนเท่าใดจึงจะเพียงพอสาหรับ
กระบวนการผลิต หรือติดต่อแหล่งผู้ขายอื่นเพิ่มขึ้น
การคาดคะเนระดับราคาในระยะสั้นและระยะยาว
อย่างไรก็ตาม การคาดคะเน หรือพยากรณ์ แนวโน้มของระดับราคาได้อย่างถูกต้อง
แม่นยา ขึ้นกับประสบการณ์ ความชานาญ การศึกษาข้อมูลในอดีต ทาให้การตัดสินใจ
ของผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อเป็นไปตามแผนงานที่กาหนดไว้
การกาหนดระยะเวลาการจัดซื้อ
ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อ และทีมงานจะทาแผนการจัดซื้อสินค้าและวัตถุดิบ
โดยมีแผนภูมิตารางกาหนดระยะเวลาการสั่งซื้อ (Gantt Chart)
ไว้ล่วงหน้าในปีงบประมาณ สามารถยืดหยุ่นได้ตามตัวเลขประมาณการ
และมีงบประมาณกลางมาสมทบ เมื่อการจัดซื้อต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์เปลี่ยนแปลง การกาหนดระยะเวลาจัดซื้อมีจุดแข็งคือ
ทาให้ความต้องการสินค้าหรือวัตถุดิบไม่เกิดการขาดแคลน เพราะปริมาณ
สารองจะถูกทดแทนจากการซื้อเพิ่ม ความเสี่ยงจากการจัดซื้อครั้งละมากๆ
จะลดลง เงินลงทุนจะไม่จมไปกับสินค้าหรือวัตถุดิบในคลังสินค้า ทาให้
อัตราการหมุนเวียนของการบริหารเงินลงทุนมีสภาพคล่องตัว
การกาหนดแผนการจัดซื้อ
การกาหนดระยะเวลาจัดซื้อที่มีคุณภาพจะต้องวิเคราะห์ แผนการขาย
แผนการผลิต และสินค้าคงเหลือล่วงหน้า จึงจะสามารถกาหนดแผนการ
จัดซื้อโดยยึดหลักจานวนสินค้า หรือวัตถุดิบในช่วงของการผลิต
ช่วงฤดูการขาย โดยบันทึกช่วงที่ใช้ต่าสูด สูงสุด เพื่อไม่ให้เกิดภาวการณ์ขาด
ช่วงของการผลิต การขาดช่วงของการส่งสินค้าให้กับลูกค้า
การประเมินผลการจัดซื้อ
คือการรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น รอบ 6 เดือน
รอบ 12 เดือน โดยแสดงถึงตัวเลข การเปรียบเทียบช่วงเวลาเดียวกันในอดีต
และปัจจุบัน ความสอดคล้องกับแผนงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้
สินค้าหรือวัตถุดิบ ความสัมพันธ์ของแผนการบริหารเงิน และงบประมาณการ
จัดซื้อ การบริหารสินค้าคงเหลือ ความเสียหายของสินค้า ค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน
จัดซื้อ ปัญหาอุปสรรค แนวทางการแก้ไข และพัฒนางานจัดซื้อ เพื่อรายงาน
ให้ผู้บริหารระดับสูงได้ทราบและพิจารณา
งบประมาณการจัดซื้อ
คือ แผนการใช้จ่ายเงินที่ได้ทาไว้ล่วงหน้า เพื่อ
• พยากรณ์ความต้องการใช้สินค้าให้เพียงพอกับความต้องการในระยะเวลาที่กาหนด
• กาหนดมูลค่าของสินค้า โดยมีการวางแผนควบคุมด้วยงบประมาณ ของสินค้า
แต่ละประเภท เช่น ประเภทเสื้อผ้า เครื่องกีฬา หนังสือ เครื่องเขียน
ข้อมูลที่ใช้ในการทาแผน จะได้รับความร่วมมือจากฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาใช้วางแผน
การจัดซื้อที่ถูกต้อง ไม่เกิดการขัดแย้ง
งบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ
การวางแผนด้วยงบประมาณการจัดซื้อ

More Related Content

Similar to Lesson6 7

Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...
Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...
Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...TK Tof
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737gam030
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10benty2443
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nattawad147
 

Similar to Lesson6 7 (20)

แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...
Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...
Key elements for implementing a strategic sustainability perspective in the p...
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
L5
L5L5
L5
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
14321
1432114321
14321
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
L1
L1L1
L1
 
L1
L1L1
L1
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 

More from Thamonwan Theerabunchorn

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรThamonwan Theerabunchorn
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวThamonwan Theerabunchorn
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

More from Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastestLesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastest
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 

Lesson6 7