SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ระบบสารสนเทศ
(IntroductiontoInformationSystem)
1
สารสนเทศ(Information)
“สารสนเทศ” เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนินธุรกิจ
องค์กรต่าง ๆ จึงต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นมาเพื่อใช้ในการ
ประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็น “สารสนเทศ” ที่มีความถูกต้อง แม่นยา
และน่าเชื่อถือ ดังนั้น ในหัวข้อนี้จึงข้อกล่าวถึง “สารสนเทศ” โดยเริ่มต้นที่
คาว่า “ข้อมูล” ซึ่งมีความแตกต่างจาก “สารสนเทศ” ดังรายละเอียดต่อไปนี้
2
ความแตกต่างระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ
• ข้อมูล (Data) หมายถึง เหตุการณ์หรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในการดาเนิน
ธุรกิจขององค์กรในแต่ละวัน เช่น รายการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า รายการ
ส่งสินค้า ชื่อที่อยู่ลูกค้า ยอดขายในแต่ละวัน เป็นต้น ข้อมูลอาจเป็นได้
หลายชนิด เช่น ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ รูปถ่าย หรือแม้กระทั่งเสียง
• สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บ
รวบรวมและเรียบเรียง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ เช่น
การนาเสนอยอดขายรายเดือนต่อผู้บริหาร ซึ่งยอดขายรายเดือนนั้นได้มา
จากการรวบรวมยอดขายของตัวแทนขายในแต่ละวัน
3
การได้สารสนเทศ
ข้อมูล
(Data)
การประมวลผล
(Processing)
สารสนเทศ
(Information)
คุณลักษณะของสารสนเทศ
• สารสนเทศที่ดีย่อมนาไปสู่การตัดสินใจที่มีความผิดพลาดน้อยที่สุด หรือ
ช่วยแก้ปัญหาให้ได้มากที่สุด เมื่อผ่านกระบวนการนาเข้าข้อมูลที่มีความ
ถูกต้องและสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ การคานึงถึงค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นหาก
เกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจ ดังนั้นการคานึงถึงความมี
ประสิทธิภาพของสารสนเทศจะช่วยให้สามารถลดข้อผิดพลาดและ
ค่าใช้จ่ายที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดีมีดังนี้
1. มีความถูกต้อง (Accurate) สารสนเทศจะต้องไม่นาข้อมูลที่ผิดพลาดเข้าสู่ระบบ เพราะเมื่อนาไป
ประมวลผลแล้ว จะทาให้ได้สารสนเทศที่ผิดพลาดตามไปด้วย ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า “Garbage in-
Garbage out (GIGO)”
2. มีความสมบูรณ์ (Complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีข้อมูลในส่วนสาคัญครบถ้วนเช่น ถ้าเป็น
รายงานการสั่งซื้อวัตถุดิบรายเดือน หากไม่มียอดสั่งซื้อรวมแล้ว ก็ถือว่าเป็นสารสนเทศที่ไม่สมบูรณ์
3. มีความคุ้มทุน (Economical) สารสนเทศที่ดีจะต้องผ่านกระบวนการที่มีต้นทุนน้อยกว่าหรือ
เท่ากับกาไรที่ได้จากการผลิต
4. มีความยืดหยุ่น (Flexible) จะต้องสามารถนาสารสนเทศไปใช้ได้กับบุคคลหลายกลุ่ม เช่น
รายงานยอดคงเหลือของวัตถุดิบที่มีอยู่จริง สามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจเพื่อสั่งซื้อวัตถุดิบได้โดย
ฝ่ายจัดซื้อ สามารถนาไปใช้ในการคานวณการลงทุนได้และสามารถนาไปใช้ในการคานวณยอดขาย
ได้เป็นต้น
5. มีความเชื่อถือได้ (Reliable) ความน่าเชื่อถือของสารสนเทศนั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้
6. ตรงประเด็น (Relevant) สารสนเทศที่ดีต้องมีความสัมพันธ์กับงานที่ต้องการวิเคราะห์
หากเป็นสารสนเทศที่ไม่ตรงประเด็นจะทาให้เสียเวลาในการทางาน
7. มีความง่าย (Simple) สารสนเทศที่ดีต้องไม่ซับซ้อน กล่าวคือ ง่ายตอการทาความเข้าใจ
เพราะความซับซ้อนคือการมีรายละเอียดปลีกย่อยมากเกินไปจนทาให้ไม่ทราบความสาคัญที่
แท้จริงของสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจนั้น
8. มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน(Timely) ต้องเป็นสารสนเทศที่มีความทันสมัย
อยู่เสมอ เมื่อต้องการใช้เพื่อการตัดสินใจจะทาให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น เช่น ยอดจาหน่าย
เสื้อกันหนาวในระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคมได้
9. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) สารสนเทศที่ดีต้องสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้
โดยอาจตรวจสอบจากแหล่งที่มาของสารสนเทศ เป็นต้น
ประเภทของสารสนเทศ
•เมื่อจาแนกตามรูปแบบของการนาเสนอสารสนเทศ มีดังนี้
1. สารสนเทศส่วนที่เป็นรายละเอียด (Detailed Information)
2. สารสนเทศส่วนที่เป็นผลสรุป (Summary Information)
3. สารสนเทศเพื่อการพยากรณ์ (Prediction Information)
4. สารสนเทศกรณีเฉพาะ (Exception Information)
ชนิดของระบบสารสนเทศ
•ปัจจุบันระบบสารสนเทศได้รับการพัฒนาขึ้นให้เป็นเครื่องมือที่
ช่วยในการทางานทางด้านต่าง ๆ มากมายในองค์กร ไม่ว่าจะเป็น
ด้านการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจ ช่วยในการทารายงาน
เพื่อนาเสนอข้อมูล ช่วยประมวลผลข้อมูลที่เกิดขึ้นประจาวัน ช่วย
วิเคราะห์หาทางออกของปัญหา เป็นต้น หากจาแนกระบบ
สารสนเทศตามระดับการจัดการภายในองค์กรแล้ว สามารถแบ่ง
ได้เป็น 6 ชนิด
ชนิดของระบบสารสนเทศ
ตามระดับการจัดการภายในองค์กร
1.ระบบประมวลผลข้อมูล (TransactionProcessingSystem:TPS)
• เป็นระบบที่ช่วยในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
คุณลักษณะของระบบการประมวลผลข้อมูล
1. สามารถจัดเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นประจาวันของการดาเนินธุรกิจได้ เช่น ประวัติลูกค้า
รายการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า เป็นต้น
2. สามารถสร้างข้อมูลเพื่อใช้ในการดาเนินธุรกิจได้ เช่น ออกใบกากับภาษี ออกใบแจ้ง
หนี้ ออกใบรายการสินค้า เป็นต้น
3. บารุงรักษาข้อมูล (Data Maintenance) โดยการปรับปรุงข้อมูล (เพิ่ม ลบ แก้ไข) ให้
เป็นปัจจุบันมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ชื่อที่อยู่ของสินค้า
รหัสสินค้า เป็นต้น
4. เกิดจากเหตุการณ์ประจาวันของธุรกิจ
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(ManagementInformationSystem:MIS)
• เป็นระบบที่นาสารสนเทศมาช่วยในการจัดทารายงานลักษณะต่าง ๆ เพื่อ
วางแผนและควบคุมการดาเนินงานทางธุรกิจ โดยสารสนเทศดังกล่าวจะ
ได้มาจากระบบการประมวลผลข้อมูล (TPS) นั่นเอง
คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. สามารถสร้างสารสนเทศที่อ้างอิงได้ตามหลักการด้านการจัดการ ด้านคณิตศาสตร์
หรือ สถิติ ที่เป็นที่ยอมรับได้
2. โดยปกติแล้วสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้ได้มาจากฐานข้อมูลที่มีการเก็บข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลมากมาย ซึ่งแหล่งข้อมูลนั้นหมายรวมถึงระบบการประมวลผลข้อมูลด้วย
3. สามารถสร้างสารสนเทศ (รายงาน) ได้ทั้ง 4 รูปแบบ ได้แก่
• สารสนเทศส่วนที่เป็นรายละเอียด (Detailed Information)
• สารสนเทศส่วนที่เป็นผลสรุป (Summary Information)
• สารสนเทศเพื่อการพยากรณ์ (Predicted Information)
• สารสนเทศกรณีเฉพาะ (Exception Information)
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DecisionSupportSystem:DSS)
• เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ซึ่งมีเป้ าหมายเพื่อเตรียม
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้ที่เป็นผู้บริหาร โดยสารสนเทศนี้มัก
เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision)
หรือแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structured Decision) ที่เป็นการตัดสินใจต่อ
เหตุการณ์ที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าหรือได้ยาก ระบบDSS เป็น
ระบบที่ส่งเสริมให้ผู้ใช้สามารถกระทาการตัดสินใจได้ด้วยความฉลาด แต่
ทั้งนี้ไม่ได้ใช้ระบบ DSS เพื่อการตัดสินใจแทน
คุณลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1. จัดเตรียมสารสนเทศซึ่งได้ทาการประมวลผลแล้วจากระบบประมวล (TPS) เพื่อช่วยใน
การตัดสินใจ
2. สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision) หรือแบบกึ่ง
โครงสร้าง (Semi structured Decision)
3. สนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
• ระบุถึงปัญหาหรือโอกาสในการทาการตัดสินใจ
• ระบุถึงความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจนั้น ๆ
• เตรียมสารสนเทศที่จาเป็นต่อการแก้ปัญหาหรือที่จาเป็นต่อการกระทาการตัดสินใจ
• ทาการวิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจที่เป็นไปได้
• เลียนแบบทางเลือกและผลลัพธ์ของการตัดสินใจที่เป็นไปได้
•นอกจากนี้แล้ว DSS ต้องอาศัยสารสนเทศจากฐานข้อมูล
(Database) ซึ่งมีการเตรียมสารสนเทศที่เหมาะสาหรับการ
ตัดสินใจไว้โดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการดึงสารสนเทศ
นั้นมาใช้งาน จึงได้มีการแยกฐานข้อมูลของสารสนเทศที่เตรียมไว้
สาหรับ DSS และระบบอื่นที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ เรียกฐานข้อมูล
ดังกล่าวว่า “คลังข้อมูล (Data Warehouse)”
4.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
(ExecutiveInformationSystem:EIS)
• ระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทางานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้
ผู้บริหารระดับสูงสามารถเข้าถึง รวบรวมวิเคราะห์และประมวลผล
สารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรตามความต้องการได้อย่าง
สะดวกและรวดเร็วขึ้นนั้นก็เพื่อนาสารสนเทศดังกล่าวมาใช้ในการ
บริหารงานที่รับผิดชอบ
• เช่น การกาหนดนโยบาย การวางแผนกลยุทธ์ และการจัดตั้งงบประมาณ
เป็นต้น บางครั้งอาจเรียกระบบสารสนเทศชนิดนี้ได้อีกอย่างหนึ่งว่า
“ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System : ESS)”
คุณลักษณะของระบบ
ดังที่ทราบกันแล้วว่าระบบ EIS เป็นระบบซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ
อานวยความสะดวกในการทางานของผู้บริหารระดับสูง ดังนั้น
ระบบ EIS ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมา จึงประกอบไปด้วยคุณลักษณะ
หลายประการ ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
ตารางแสดงคุณลักษณะและความสามารถของระบบEISทั่วไป
คุณภาพของสารสนเทศ
มีความยืดหยุ่นสูง เป็นสารสนเทศที่มีความสมบูรณ์
เป็นสารสนเทศที่มีความทันสมัย เชื่อมโยงข้อมูลส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกันได้
เป็นสารสนเทศที่เชื่อถือได้ เป็นสารสนเทศที่สามารถตรวจสอบได้
ความสะดวกของผู้ใช้
ใช้งานง่าย เนื่องจากแสดงผลในรูปแบบเว็บ
เพจ
ใช้งานร่วมกับฮาร์ดแวร์ได้หลากหลาย
รูปแบบ
แสดงผลในรูปแบบ GUI ได้ดี มีระบบความปลอดภัยและควบคุมการเข้าใช้
เชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ มีระบบแนะนาการใช้งาน
ตารางแสดงคุณลักษณะและความสามารถของระบบEISทั่วไป(ต่อ)
ความสามารถทางเทคนิค
เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ทั่วโลก สืบค้นข้อมูลเก่าและปัจจุบันได้พร้อมกัน
เข้าถึงข้อมูลภายในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ ใช้พยากรณ์ข้อมูลได้
เรียกใช้งานข้อมูลจากภายนอกได้ บ่งชี้ปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้
เขียนคาอธิบายข้อมูลได้ มีระบบวิเคราะห์แบบ Ad Hoc
ประโยชน์ที่ได้รับ
เพิ่มประสิทธิภาพของระบบสนับสนุนการ
ตัดสินใจ
เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก
ประหยัดเวลา ทาให้วางแผนงานได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูล ช่วยค้นหาปัญหาและทางแก้ไข
5.ระบบผู้เชี่ยวชาญ(ExpertSystem:ES)
• ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบที่ทาหน้าที่เสมือนผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาปรึกษาแก่ผู้บริหาร
ระดับสูง เนื่องจากบางครั้งอาจต้องตัดสินใจปัญหาที่มีความซับซ้อนเกินกว่าจะ
ตัดสินใจตามลาพังได้ดังนั้น ผู้บริหารอาจใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คาแนะนา หรือ
ให้คาปรึกษา ค้นหาช่องทางและโอกาส เพื่อจัดการกับปัญหาที่เผชิญอยู่
• โดยระบบจะนาองค์ความรู้ (สารสนเทศที่ผ่านการคัดเลือกสาหรับแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม) และสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสบการณ์ในการตัดสินใจแก้ไข
ปัญหาต่าง ๆ โดยเลือกสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับปัญหาที่ต้องการแก้ไขในขณะนั้น
มาทาการประมวลผล จนได้เป็นคาตอบให้กับผู้บริหาร
• จะเห็นได้ว่าระบบผู้เชี่ยวชาญได้รับการพัฒนาขึ้นโดยลอกเลียนการทางานของ
ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์
คุณลักษณะของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ES จะทาการเลียนแบบวิธีการคิดและเหตุผลของผู้เชี่ยวชาญจากประสบการณ์ใน
การแก้ปัญหาจริงในด้านต่าง ๆ
2. อาจนา ES มาใช้ร่วมงานกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)
เรียกการทางานร่วมกันว่า “Expert System Shells”
3. มีการดึงสารสนเทศจากคลังข้อมูลเช่นเดียวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
• จะเห็นได้ว่า ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(DSS) กับระบบผู้เชี่ยวชาญ
(ES) จะมีลักษณะคล้ายกัน แตกต่างกันตรงที่ DSS เป็นระบบที่เสนอ
ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือตัดสินใจเพื่อให้ผู้ใช้ได้ตัดสินใจเอง ส่วน
ES นั้นเป็นระบบที่ตัดสินใจแทนผู้ใช้โดยอาศัยสารสนเทศที่รวบรวมมา
จากเหตุผลและประสบการณ์จริง
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (OfficeAutomationSystem:OAS)
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ระบบสารสนเทศเพื่อสานักงาน (Office
Information System : OIS )” เป็นระบบที่สนับสนุนกิจกรรมการ
ทางานในสานักงานที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน รวมทั้งช่วยในการ
ติดต่อสื่อสารของบุคลากรไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่เดียวกันหรือไม่ก็
ตาม เช่น การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล การ
จัดทาเอกสาร การนาเสนอข้อมูล เป็นต้น
คุณลักษณะของระบบสานักงานอัตโนมัติ
1. มีการเก็บรวบรวมสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลทุกกลุ่มไว้เพื่อการใช้
งาน
2. ช่วยการทางานอัตโนมัติด้านต่าง ๆ ได้แก่
- การประมวลผลคา (Word Processing)
- ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
- การทางานร่วมกันด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Work Group Computer)
- การกาหนดการทางานร่วมกัน (Work Group Scheduling)
- เอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือรูปภาพ (Electronic Document)
- การจัดการกระแสการทางาน (Work Flow management)
3. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีร่วมกันระหว่าง OAS กับ TPS อันได้แก่
- เทคโนโลยีการสร้างแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Form Technology) เป็น
การช่วยสร้างแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลของ
ระบบประมวลผลข้อมูล
- เทคโนโลยีการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม (Work Group Technology) เพื่อเตรียมวิธีการ
สาหรับการทางานที่มีการใช้งานของผู้ใช้หลาย ๆ คนเพื่อเข้าถึง และปรับปรุงข้อมูล
ร่วมกัน จากการทางานที่เกิดขึ้นประจาวัน
- เทคโนโลยีข้อความอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Messaging Technology) พนักงานสามารถ
ติดต่อสื่อสารกันได้ด้วยการส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์
- เทคโนโลยีชุดโปรแกรมสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Suite Technology)
นาโปรแกรมที่ใช้ในสานักงานมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน
- เทคโนโลยีรูปภาพ (Imaging Technology) เป็นการผสมผสานกันระหว่างรูปภาพและ
แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการทางาน หรือเป็นการสแกนรูปภาพนั่นเอง
ระบบสารสนเทศในการจัดการข้อมูลระดับต่างๆในองค์กร
• ระบบสารสนเทศทั้ง 6 ชนิด จะสนับสนุนการจัดการในแต่ละระดับต่างกันไป ซึ่ง
การจัดการในแต่ละระดับก็จะเป็นการบริหารงานของทุกแผนก เช่น แผนกการเงิน
และการบัญชี (Finance and Accounting) แผนกการตลาด (Marketing) แผนก
ทรัพยากรบุคคล (Human Resource) แผนกวิจัยและพัฒนา (Research and
Development) เป็นต้น
• เมื่อนาระบบสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการทางานแล้วจะทาให้การทางานของทุก
แผนกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ระบบสารสนเทศทุกชนิดไม่ว่าจะอยู่
ในการจัดการระดับใดก็ตาม ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเตรียมสารสนเทศที่เป็น
ประโยชน์ และตรงกับความต้องการของผู้บริหารในทุกระดับ หรือแม้แต่พนักงาน
ระดับปฏิบัติการในระดับล่างให้ได้มากที่สุด
คาถาม ???

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)anda simil
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsPa'rig Prig
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Look-wa Airin
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจAssumption College Rayong
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจToy Varintorn
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินKritsakorn Niyomthai
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจPhutawan Murcielago
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ohmchen
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจKasamesak Posing
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจLooktan Minisize
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจOtorito
 

What's hot (17)

ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
 

Similar to 1intro information system

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆpattanan sabumoung
 
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptCh5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptPasiriRiyakul1
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจtung tung
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจtung tung
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญBoom Sar
 
คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่Boom Sar
 

Similar to 1intro information system (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
 
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.pptCh5_DigitalFirm_52.ppt
Ch5_DigitalFirm_52.ppt
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Data Governance
Data GovernanceData Governance
Data Governance
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่
 

More from Thamonwan Theerabunchorn

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรThamonwan Theerabunchorn
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวThamonwan Theerabunchorn
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

More from Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastestLesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastest
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson6 7
Lesson6 7Lesson6 7
Lesson6 7
 

1intro information system