SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
Autism คืออะไร

          โรค Autism เป็นความผิดปกติในสมอง
เด็กที่เป็นจะมีปัญหาเรื่อง การสื่อสาร
ความสัมพันธ์ กับคนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม
เด็กบางคนสามารถสื่อสารกับผู้อื่นและก็มีความ
ฉลาด แต่เด็กบางคนเป็นเด็กปัญญาอ่อน ไม่พูด
เด็กบางคนก็มีพฤติกรมท้าซ้้าซาก
เด็กออทิสติก

        หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการแตกต่างไป
จากเด็กปกติ และส่งผลกระทบต่อการมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความสามารถในการ
สื่อสาร การใช้จินตนาการ อารมณ์ และ
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของเด็ก
สาเหตุ


          1. ทางพันธุกรรม อยู่ในระหว่างการศึกษา ค้นคว้า ยังไม่พบค้าตอบที่
ชัดเจน แต่พบว่าฝาแฝดจากไข่ใบเดียวกัน ถ้าคนหนึ่งเป็นออทิสติก อีกคนจะเป็นด้วย
          2. โรคติดเชื้อ ปัจจุบันยังไม่พบว่า เชื้อโรคชนิดใด ที่ก่อให้เกิด กลุ่มอาการ
ออทิสซึม
          3. ประสาทวิทยา จากการศึกษาของ Magaret Bauman กุมาร
แพทย์ จากโรงพยาบาล บอสตันซิติ พบว่า ออทิสติก จะมีความผิดปกติในสมอง
3 แห่ง คือ limbic system, cerebellum และ cerebellar
circuits
ลักษณะอาการ

ความบกพร่องทางปฏิสัมพันธ์สังคม
          เช่น ไม่มองสบตา ไม่มีการแสดงออกทางสีหน้า กิริยาท่าทาง จึง
ไม่มีความสามารถที่จะผูกสัมพันธ์กับใคร เล่นกับเพื่อนไม่เป็น ไม่สนใจที่จะ
ท้างานร่วมกับใคร มักจะอยู่ในโลกของตัวเอง

ความบกพร่องทางการสื่อสาร
          เด็กจะมีความล่าช้าทางภาษาและการพูดในหลายระดับ ตั้งแต่ไม่
สามารถพูดสื่อความหมายได้เลย หรือบางคนพูดได้ แต่ไม่สามารถสนทนา
โต้ตอบกับผูอื่นได้อย่างเข้าใจและเหมาะสม บางคนจะมีลักษณะการพูดแบบ
           ้
เสียงสะท้อน หรือการพูดเลียนแบบ ทวนค้าพูด หรือบางคนพูดซ้้าแต่ในเรื่อง
ที่ตนเองสนใจ
ลักษณะทางพฤติกรรมและอารมณ์ที่บกพร่อง
         เด็กออทิสติกจะมีพฤติกรรมซ้้าๆ ผิดปกติ เช่น เล่นมือ โบกมือไป
มา หรือหมุนตัวไปรอบๆ มีความหมกมุ่นติดสิ่งของบางอย่าง เด็กบางคน
แสดงออกทางอารมณ์ บางครั้งร้องไห้ หรือหัวเราะโดยไม่มีเหตุผล บางคนมี
ปัญหาด้านการปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยจะ
อาละวาด หรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เช่น ร้องไห้ ดิ้น กรีดร้อง


ความบกพร่องด้านการเลียนแบบและจินตนาการ
           ด้านการเลียนแบบ เด็กบางคนต้องมีการกระตุ้นอย่าง มาก จึง
จะเล่นเลียนแบบได้ เช่น เลียนแบบการเคลื่อนไหว การพูด บางคน ไม่
สามารถเลียนแบบได้เลยแม้แต่การกระท้าง่ายๆ
           ด้านจินตนาการ ไม่สามารถแยกเรื่องจริง และเรื่องสมมุติ
ประยุกต์วิธีการจากเหตุการณ์หนึ่งไปอีกเหตุการณ์หนึ่งไม่ได้ เข้าใจสิ่งที่เป็น
นามธรรมได้ยาก
ความบกพร่องด้านการเรียนรู้ทางประสาทสัมผัส
           บางคนชอบมองวัตถุหรือแสงมากกว่ามองเพื่อน ไม่มองจ้องตา
คนอื่น บางคนเอาของมาส่องดูใกล้ๆตา บางคนตอบสนองต่อเสียงผิดปกติ
เช่น ไม่หันตามเสียงเรียกทั้งที่ได้ยน บางคนรับเสียงบางเสียงไม่ได้จะปิดหู
                                   ิ
ด้านการสัมผัสกลิ่นและรส บางคนมีการตอบสนองที่ไวหรือช้ากว่าหรือ
แปลกกว่าปกติ เช่น ดมของเล่น หรือเล่นแบบแปลกๆ


ความบกพร่องด้านการใช้อวัยวะต่างๆ อย่างประสานสัมพันธ์
          การใช้ส่วนต่างๆ ของร่ากาย รวมถึงการประสานสัมพันธ์ของ
กลไก กล้าม เนื้อมัดใหญ่และมัดเล็กมีความบกพร่อง บางคนมีการ
เคลื่อนไหวที่ งุ่มง่าม ผิดปกติ ไม่คล่องแคล่ว ท่าทางการเดิน หรือการวิ่งดู
แปลก การใช้กล้าม เนื้อมัดเล็ก การหยิบจับ เช่น ช้อนส้อม ไม่ประสานกัน
เด็กที่เป็น Autism                                  เด็กปกติ
                           การสื่อสาร
   ไม่มองตา                                     ดูหน้าแม่
   เหมือนคนหูหนวก                               หันไปตามเสียง
   เคยพูดได้ต่อมาหยุดพูด                        เรียนรู้ค้าพูดเพิมเติม
                                                                   ่
                  ความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง

   เด็กจะไม่สนใจคนรอบข้าง                       เด็กจะร้องเมื่อออกจากห้อง หรือมีคนแปลกหน้าเข้าใกล้
   ท้าร้ายคนโดยไม่มีสาเหตุ                      ร้องเมื่อหิวหรือหงุดหงิด
   จ้าคนไม่ได้                                  จ้าหน้าแม่ได้

                  ความสัมพันธ์กับสิงแวดล้อม
                                   ่

   นั่งเล่นอย่างใดอย่างหนึ่ง                    เปลี่ยนของเล่น
   มีพฤติกรมแปลกๆเช่นนั่งโบกมือ                 การเคลื่อนไหวเป็นไปอย่างมีจุดมุ่งหมาย เช่นการหยิบของ
   ดมหรือเลียตุ๊กตา                             ส้ารวจและเล่นตุ๊กตา
   ไม่รู้สึกเจ็บปวด ชอบท้าร้ายตัวเอง            ชอบความสุขและกลัวความเจ็บ
สภาพที่เป็นข้อจากัดต่อ
การเรียนรู้ของเด็กออทิสติก
  ข้อจ้ากัดด้านภาษาและการสื่อความหมาย
  ข้อจ้ากัดด้านสังคมและอารมณ์
  ข้อจ้ากัดด้านพฤติกรรมและพฤติกรรมซ้้า
  ข้อจ้ากัดด้านการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส
  ข้อจ้ากัดด้านการคิดอย่างมีจินตนาการ
  ข้อจ้ากัดด้านการเรียนรู้
  ข้อจ้ากัดด้านพัฒนาการทางกายบางด้าน
เทคนิคการสอนเด็กออทิสติก



        การสอนทักษะทางภาษาควรเน้นการรับรู้ทางภาษาและการ
 แสดงออกทางภาษา
        จัดกิจวัตรประจ้าวันให้เป็นระบบและด้าเนินการตามเดิมทุกวัน
 หากมีการเปลี่ยนแปลงจะต้องบอกและอธิบายให้เข้าใจ
        ใช้กระบวนการปรับพฤติกรรมควบคู่ไปกับการสอน
        หลีกเลี่ยงการลงโทษหรือเปลี่ยนเป็นการให้แรงเสริมแทนการ
 ลงโทษ
การเรียนการสอนควรให้เพื่อนเป็นแบบอย่างที่ดีให้มากที่สุด
เท่าที่จะท้าได้
           ควรเน้นทักษะทางสังคมและเลือกใช้วิธีปรับพฤติกรรมให้
เหมาะสม
           เมื่อพบว่าเด็กออทิสติกบางคนมีพฤติกรรมที่ผิดปกติมากครูจึง
จ้าเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
           เด็กบางคนอาจเรียนรู้ช้าและใช้เวลานานมากในการแสดงทักษะ
ง่ายๆครูบางคนอาจลดเกณฑ์ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและลด
เนื้อหาวิชาลง
จัดทาโดย
1. นางสาวดาริกา     รูปดี รหัสนักศึกษา 53181400110
2. นางสาวเบญจวรรณ   หน้างาม รหัสนักศึกษา 53181400122
3. นางสาวสุธินี     แซ่ซิน รหัสนักศึกษา 53181400142
4. นางสาวอัญชัน     จิโนสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 53181400146

           สาขาวิชา คณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)Donnapha Bor-sap
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...Pitchayakarn Nitisahakul
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 

Viewers also liked

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
สื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาสื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาPrutaporn Lalitanurak
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินBenjarat Meechalat
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642Jainn JNz
 
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreIncrease Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาพัน พัน
 
Sensory Integration Techniques
Sensory Integration TechniquesSensory Integration Techniques
Sensory Integration TechniquesKristine Garcia
 
sensory integration presentation
sensory integration presentationsensory integration presentation
sensory integration presentationjqborja
 
Sensory Integration Therapy
Sensory Integration TherapySensory Integration Therapy
Sensory Integration Therapysharadello
 
Sensory Processing Disorder Powerpoint
Sensory Processing Disorder PowerpointSensory Processing Disorder Powerpoint
Sensory Processing Disorder Powerpointteeneejs
 
Understanding Sensory Processing Disorder
Understanding Sensory Processing Disorder Understanding Sensory Processing Disorder
Understanding Sensory Processing Disorder Shari Stein Jackson
 

Viewers also liked (20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
Autistic presen
Autistic presenAutistic presen
Autistic presen
 
Autism
AutismAutism
Autism
 
Autism
AutismAutism
Autism
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f
 
สื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาสื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตา
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642
 
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreIncrease Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
 
Autism
AutismAutism
Autism
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
Sensory Integration Techniques
Sensory Integration TechniquesSensory Integration Techniques
Sensory Integration Techniques
 
sensory integration presentation
sensory integration presentationsensory integration presentation
sensory integration presentation
 
Sensory Integration Therapy
Sensory Integration TherapySensory Integration Therapy
Sensory Integration Therapy
 
Sensory Processing Disorder Powerpoint
Sensory Processing Disorder PowerpointSensory Processing Disorder Powerpoint
Sensory Processing Disorder Powerpoint
 
พรบ คนพิการ 2551 ย่อ
พรบ คนพิการ 2551 ย่อพรบ คนพิการ 2551 ย่อ
พรบ คนพิการ 2551 ย่อ
 
Autism pp
Autism ppAutism pp
Autism pp
 
Understanding Sensory Processing Disorder
Understanding Sensory Processing Disorder Understanding Sensory Processing Disorder
Understanding Sensory Processing Disorder
 

Similar to เด็กออทิสติก

พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวมสพฐ
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ครูบ้านนอก จนจน
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 
Deaktidgame
DeaktidgameDeaktidgame
Deaktidgameayattar
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินKhuanruthai Pomjun
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 

Similar to เด็กออทิสติก (20)

2010111209582136
20101112095821362010111209582136
2010111209582136
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวม
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
Deaktidgame
DeaktidgameDeaktidgame
Deaktidgame
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 

More from Darika Roopdee

นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมDarika Roopdee
 
งานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนืองานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนือDarika Roopdee
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211Darika Roopdee
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1Darika Roopdee
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1Darika Roopdee
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1Darika Roopdee
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาDarika Roopdee
 
แผนการ์ตูน
แผนการ์ตูนแผนการ์ตูน
แผนการ์ตูนDarika Roopdee
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินDarika Roopdee
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากDarika Roopdee
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11Darika Roopdee
 

More from Darika Roopdee (12)

นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
งานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนืองานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนือ
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
แผนการ์ตูน
แผนการ์ตูนแผนการ์ตูน
แผนการ์ตูน
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
 

เด็กออทิสติก

  • 1.
  • 2. Autism คืออะไร โรค Autism เป็นความผิดปกติในสมอง เด็กที่เป็นจะมีปัญหาเรื่อง การสื่อสาร ความสัมพันธ์ กับคนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม เด็กบางคนสามารถสื่อสารกับผู้อื่นและก็มีความ ฉลาด แต่เด็กบางคนเป็นเด็กปัญญาอ่อน ไม่พูด เด็กบางคนก็มีพฤติกรมท้าซ้้าซาก
  • 3. เด็กออทิสติก หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการแตกต่างไป จากเด็กปกติ และส่งผลกระทบต่อการมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความสามารถในการ สื่อสาร การใช้จินตนาการ อารมณ์ และ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของเด็ก
  • 4. สาเหตุ 1. ทางพันธุกรรม อยู่ในระหว่างการศึกษา ค้นคว้า ยังไม่พบค้าตอบที่ ชัดเจน แต่พบว่าฝาแฝดจากไข่ใบเดียวกัน ถ้าคนหนึ่งเป็นออทิสติก อีกคนจะเป็นด้วย 2. โรคติดเชื้อ ปัจจุบันยังไม่พบว่า เชื้อโรคชนิดใด ที่ก่อให้เกิด กลุ่มอาการ ออทิสซึม 3. ประสาทวิทยา จากการศึกษาของ Magaret Bauman กุมาร แพทย์ จากโรงพยาบาล บอสตันซิติ พบว่า ออทิสติก จะมีความผิดปกติในสมอง 3 แห่ง คือ limbic system, cerebellum และ cerebellar circuits
  • 5. ลักษณะอาการ ความบกพร่องทางปฏิสัมพันธ์สังคม เช่น ไม่มองสบตา ไม่มีการแสดงออกทางสีหน้า กิริยาท่าทาง จึง ไม่มีความสามารถที่จะผูกสัมพันธ์กับใคร เล่นกับเพื่อนไม่เป็น ไม่สนใจที่จะ ท้างานร่วมกับใคร มักจะอยู่ในโลกของตัวเอง ความบกพร่องทางการสื่อสาร เด็กจะมีความล่าช้าทางภาษาและการพูดในหลายระดับ ตั้งแต่ไม่ สามารถพูดสื่อความหมายได้เลย หรือบางคนพูดได้ แต่ไม่สามารถสนทนา โต้ตอบกับผูอื่นได้อย่างเข้าใจและเหมาะสม บางคนจะมีลักษณะการพูดแบบ ้ เสียงสะท้อน หรือการพูดเลียนแบบ ทวนค้าพูด หรือบางคนพูดซ้้าแต่ในเรื่อง ที่ตนเองสนใจ
  • 6. ลักษณะทางพฤติกรรมและอารมณ์ที่บกพร่อง เด็กออทิสติกจะมีพฤติกรรมซ้้าๆ ผิดปกติ เช่น เล่นมือ โบกมือไป มา หรือหมุนตัวไปรอบๆ มีความหมกมุ่นติดสิ่งของบางอย่าง เด็กบางคน แสดงออกทางอารมณ์ บางครั้งร้องไห้ หรือหัวเราะโดยไม่มีเหตุผล บางคนมี ปัญหาด้านการปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยจะ อาละวาด หรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เช่น ร้องไห้ ดิ้น กรีดร้อง ความบกพร่องด้านการเลียนแบบและจินตนาการ ด้านการเลียนแบบ เด็กบางคนต้องมีการกระตุ้นอย่าง มาก จึง จะเล่นเลียนแบบได้ เช่น เลียนแบบการเคลื่อนไหว การพูด บางคน ไม่ สามารถเลียนแบบได้เลยแม้แต่การกระท้าง่ายๆ ด้านจินตนาการ ไม่สามารถแยกเรื่องจริง และเรื่องสมมุติ ประยุกต์วิธีการจากเหตุการณ์หนึ่งไปอีกเหตุการณ์หนึ่งไม่ได้ เข้าใจสิ่งที่เป็น นามธรรมได้ยาก
  • 7. ความบกพร่องด้านการเรียนรู้ทางประสาทสัมผัส บางคนชอบมองวัตถุหรือแสงมากกว่ามองเพื่อน ไม่มองจ้องตา คนอื่น บางคนเอาของมาส่องดูใกล้ๆตา บางคนตอบสนองต่อเสียงผิดปกติ เช่น ไม่หันตามเสียงเรียกทั้งที่ได้ยน บางคนรับเสียงบางเสียงไม่ได้จะปิดหู ิ ด้านการสัมผัสกลิ่นและรส บางคนมีการตอบสนองที่ไวหรือช้ากว่าหรือ แปลกกว่าปกติ เช่น ดมของเล่น หรือเล่นแบบแปลกๆ ความบกพร่องด้านการใช้อวัยวะต่างๆ อย่างประสานสัมพันธ์ การใช้ส่วนต่างๆ ของร่ากาย รวมถึงการประสานสัมพันธ์ของ กลไก กล้าม เนื้อมัดใหญ่และมัดเล็กมีความบกพร่อง บางคนมีการ เคลื่อนไหวที่ งุ่มง่าม ผิดปกติ ไม่คล่องแคล่ว ท่าทางการเดิน หรือการวิ่งดู แปลก การใช้กล้าม เนื้อมัดเล็ก การหยิบจับ เช่น ช้อนส้อม ไม่ประสานกัน
  • 8. เด็กที่เป็น Autism เด็กปกติ การสื่อสาร  ไม่มองตา  ดูหน้าแม่  เหมือนคนหูหนวก  หันไปตามเสียง  เคยพูดได้ต่อมาหยุดพูด  เรียนรู้ค้าพูดเพิมเติม ่ ความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง  เด็กจะไม่สนใจคนรอบข้าง  เด็กจะร้องเมื่อออกจากห้อง หรือมีคนแปลกหน้าเข้าใกล้  ท้าร้ายคนโดยไม่มีสาเหตุ  ร้องเมื่อหิวหรือหงุดหงิด  จ้าคนไม่ได้  จ้าหน้าแม่ได้ ความสัมพันธ์กับสิงแวดล้อม ่  นั่งเล่นอย่างใดอย่างหนึ่ง  เปลี่ยนของเล่น  มีพฤติกรมแปลกๆเช่นนั่งโบกมือ  การเคลื่อนไหวเป็นไปอย่างมีจุดมุ่งหมาย เช่นการหยิบของ  ดมหรือเลียตุ๊กตา  ส้ารวจและเล่นตุ๊กตา  ไม่รู้สึกเจ็บปวด ชอบท้าร้ายตัวเอง  ชอบความสุขและกลัวความเจ็บ
  • 9. สภาพที่เป็นข้อจากัดต่อ การเรียนรู้ของเด็กออทิสติก ข้อจ้ากัดด้านภาษาและการสื่อความหมาย ข้อจ้ากัดด้านสังคมและอารมณ์ ข้อจ้ากัดด้านพฤติกรรมและพฤติกรรมซ้้า ข้อจ้ากัดด้านการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส ข้อจ้ากัดด้านการคิดอย่างมีจินตนาการ ข้อจ้ากัดด้านการเรียนรู้ ข้อจ้ากัดด้านพัฒนาการทางกายบางด้าน
  • 10. เทคนิคการสอนเด็กออทิสติก การสอนทักษะทางภาษาควรเน้นการรับรู้ทางภาษาและการ แสดงออกทางภาษา จัดกิจวัตรประจ้าวันให้เป็นระบบและด้าเนินการตามเดิมทุกวัน หากมีการเปลี่ยนแปลงจะต้องบอกและอธิบายให้เข้าใจ ใช้กระบวนการปรับพฤติกรรมควบคู่ไปกับการสอน หลีกเลี่ยงการลงโทษหรือเปลี่ยนเป็นการให้แรงเสริมแทนการ ลงโทษ
  • 11. การเรียนการสอนควรให้เพื่อนเป็นแบบอย่างที่ดีให้มากที่สุด เท่าที่จะท้าได้ ควรเน้นทักษะทางสังคมและเลือกใช้วิธีปรับพฤติกรรมให้ เหมาะสม เมื่อพบว่าเด็กออทิสติกบางคนมีพฤติกรรมที่ผิดปกติมากครูจึง จ้าเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ เด็กบางคนอาจเรียนรู้ช้าและใช้เวลานานมากในการแสดงทักษะ ง่ายๆครูบางคนอาจลดเกณฑ์ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและลด เนื้อหาวิชาลง
  • 12.
  • 13. จัดทาโดย 1. นางสาวดาริกา รูปดี รหัสนักศึกษา 53181400110 2. นางสาวเบญจวรรณ หน้างาม รหัสนักศึกษา 53181400122 3. นางสาวสุธินี แซ่ซิน รหัสนักศึกษา 53181400142 4. นางสาวอัญชัน จิโนสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 53181400146 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์