SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ยกันตภน ประทุม2ต.าน เาลยขนทพี่ ร1ัตน์ โพธิ์จันดี เล3.นายภควัต นามวงษ์ เลขที่ 10
4.นางสาวรุ่งฤดี มะลิ 
เลิศ เลขที่ 32 
5.นางสาวสายชล พันมณี เลข
เรียงความคือ การนำาเอาคำามา 
ประกอบแต่งเป็นเรื่องราวอาจใช้วิธีการ 
เขียนหรือการพูด ก็ได้ การเขียน จดหมาย 
รายงาน ตอบคำาถาม ข่าว บทความ ฯลฯ 
อาศัยเรียงความเป็นพื้นฐาน ทั้งนั้น ดังนั้น 
การเขียนเรียงความจึงมีความสำาคัญ ช่วย 
ให้พูดหรือเขียนในรูปแบบต่าง ๆได้ดี 
นอกจากนี้ก่อนเรียงเขียนความเราต้อง 
ค้นคว้า รวบรวมความรู้ ความคิด และนำา 
มาจัดเป็นระเบียบ จึงเท่ากับเป็นการฝึกสิ่ง 
เหล่านี้ให้กับตนเองได้อย่างดีอีกด้วย
เรียงความเรื่องหนึ่งประกอบด้วยส่วน 
สำาคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนนำา ส่วนเนื้อเรื่อง 
และส่วนท้ายหรือสรุป ส่วนนำาเรื่องจะเป็น 
ส่วนที่แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค์ 
ของเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง เป็นส่วนขยาย 
โครงเรื่องที่วางเอาไว้ส่วนนี้จะประกอบ 
ด้วยย่อหน้าหลายย่อหน้า ส่วนท้ายของ 
เรื่องจะเป็นการเน้นยำ้าประเด็นหลักหรือ 
จุดประสงค์ 
ดังได้กล่าวแล้วว่าส่วนนำาเป็นส่วนที่ 
แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค์ของ 
เรื่อง ดังนั้น ส่วนนำาจึงเป็นการบอกผู้อ่าน
นำำเสนอและยังเป็นกำรเร้ำควำมสนใจให้ 
อยำกอ่ำน เรื่องจนจบ กำรเขียนส่วนนำำ 
เพอื่เร้ำควำมสนใจนั้นมีหลำยวิธี แล้วแต่ผู้ 
เขียนจะเลือกตำมควำมเหมำะสม 
เนื้อเรื่องเป็นส่วนสำำคัญที่สุดของเรียง 
ควำม เพรำะเป็นส่วนที่ต้องแสดงควำมรู้ 
ควำมคิดเห็น ให้ผู้อ่ำนทรำบตำมโครงเรื่อง 
ที่วำงไว้ เนื้อเรื่องที่ต้องแสดงออกถึงควำม 
รู้ ควำมคิดเห็นอย่ำงชัดแจ้ง มีรำยละเอียด 
ที่เป็นข้อเท็จจริงและมีกำรอธิบำยอย่ำง 
เป็นลำำดับขั้น มีกำรหยิบยกอุทำหรณ์
ส่วนท้ำยหรือส่วนสรุป ส่วนปิดเรื่อง 
เป็นส่วนที่มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับ 
เนื้อหำส่วนอื่น ๆ โดยตลอด และเป็นส่วน 
ที่บอกผู้อ่ำนว่ำเรื่องรำวที่เสนอมำนั้นได้ 
สิ้นสุดลงแล้ว วิธีกำรเขียนส่วนท้ำยมีด้วย 
กันหลำยวิธี เช่น เน้นยำ้ำประเด็นหลัก 
เสนอคำำถำมหรือข้อคิด สรุปเรื่อง เสนอ 
ควำมคิดของผู้เขียน ขยำยจุดประสงค์ 
ของผู้เขียน หรือสรุปด้วยสุภำษิต คำำคม 
สำำนวนโวหำร คำำพังเพยอ้ำงคำำพูดของ 
บุคคล อ้ำงทฤษฎี หลักศำสนำ หรือคำำ 
สอนและ บทร้อยกรอง ฯลฯ
เมื่อได้ศึกษำองค์ประกอบอันจะนำำไป 
ใช้ในกำรเขียนเรียงควำมแล้ว ก่อนที่จะ 
ลงมือเขียนเรียงควำม ผเู้ขียนต้องเลือก 
เรื่องและประเภทของเรื่องทจี่ะเขียน หลัง 
จำกนั้นจึงวำงโครงเรื่องให้ชัดเจนเพื่อ 
เรียบเรียงเนื้อหำ ซึ่งกำรเรียบเรียงเนื้อหำ 
นี้ต้องอำศัยควำมสำมำรถในกำรเขียน 
ย่อหน้ำ และกำรเชื่อมโยงย่อหน้ำให้เป็น 
เนื้อหปำัญเดหียำวสกำำันคัญประกำรหนึ่งของผู้เขียน 
ที่ไม่สำมำรถเริ่มต้นเขียนได้ คือ ไม่ทรำบ 
จะเขียนเรื่องอะไร วิธีกำรแก้ปัญหำดัง 
กล่ำวคือ หัดเขียนเรื่องใกล้ตัวของผเู้ขียน 
หรือเรื่องที่ผู้เขียนมีประสบกำรณ์ดีรวมทั้ง
ที่ผู้เขียนมีควำมรู้เป็นอย่ำงดีหรือเขียน 
เรื่องที่สนใจ เป็นเรื่องรำว หรือที่กำำลังอยู่ 
ในควำมสนใจของบุคคลทั่วไป นอกจำกนี้ 
ผู้เขียนอำจพิจำรณำองค์ประกอบ 4 
ประกำร เพอื่เป็นแนวทำงในกำรตัดสินใจ 
เลือกเรื่องที่จะเขียน ดังต่อไปนี้ก็ได้ 
1.1 กลุ่มผู้อ่ำน ผู้เขียนควรเลือกเขียน 
เรื่องสำำหรับกลุ่มผู้อ่ำนเฉพำะและควร 
เป็นกลุ่มผู้อ่ำนที่ผู้เขียนรู้จักดีทั้งในด้ำน 
กำรศึกษำ 
ประสบกำรณ์ วัย ฐำนะ ควำมสนใจและ 
ควำมเชื่อ 
1.2 ลักษณะเฉพำะของเรื่อง เรื่องที่มี
1.3 เวลำ เรื่องที่จะเขียนหำกเป็นเรื่อง 
ที่อยใู่นกำลสมัยหรือเป็นปัจจุบัน จะมีผู้ 
สนใจอ่ำนมำก ส่วนเรื่องที่พ้นสมัยจะมีผู้ 
อ่ำนน้อย นอกจำกนี้กำรให้เวลำในกำร 
เขียนของผู้เขียนก็เป็นสงิ่สำำคัญ ถ้ำผู้เขียน 
มี 
เวลำมำก ก็จะมีเวลำค้นคว้ำหำข้อมูลเพอื่ 
กำรเขียนและกำรอ้ำงอิงได้มำก 
ถ้ำผู้เขียนมีเวลำน้อย กำรเขียนด้วยเวลำ 
เร่งรัด ก็อำจทำำให้เนื้อหำขำดควำม 
สมบูรณ์ ด้ำนกำรอ้ำงอิง 
1.4 โอกำส กำรเขียนเรื่องประเภทใด
การแบ่งประเภทของเรื่องที่จะเขียน 
นั้นพิจารณาจากจุดมงุ่หมายในการเขียน 
ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 
2.1 เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ เป็นการ 
ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์รวมทั้ง 
หลักการตลอดจนข้อเท็จจริงต่างๆ ใช้วิธี 
เขียนบอกเล่าหรือบรรยายรายละเอียด 
2.2 เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ 
เป็นการอธิบายให้ผอูื้่นเข้าใจความรู้ หลัก 
การ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ การเขียน 
เพื่อความเข้าใจมักควบคู่ไปกับการเขียน
ยอมรับ เพอื่ให้ผอู้่านได้รับอรรถรสทางใจ 
ให้สนุกสนาน เพลิดเพลินไปกับข้อเขียน 
นั้น ๆ 
การเขียนเรียงความเป็นการเสนอ 
ความคิดต่อผู้อ่าน ผู้เขียนจึงต้องรวบรวม 
เลือกสรรและจัดระเบียบความคิด แล้วนำา 
มาเรียบเรียงเป็นโครงเรื่อง การรวบรวม 
ความคิด อาจจะรวบรวม ข้อมูลจาก 
ประสบการณ์ของผู้เขียนเอง นำาส่วนที่เป็น 
ประสบการณ์ตรงและประสบการณ์ทาง 
อ้อม 
ซึ่งเกิดจากการฟัง การอ่าน การพูดคุย ซัก
3.1 ชนิดของโครงเรื่อง การเขียน 
โครงเรื่องนิยมเขียน 2 แบบ คือ โครงเรื่อง 
แบบหัวข้อและโครงเรื่องแบบ ประโยค 
1. โครงเรื่องแบบหัวข้อ เขียนโดยใช้ 
คำาหรือวลีสนั้ ๆ เพื่อเสนอประเด็นความคิด 
2. โครงเรื่องแบบประโยค เขียนเป็น 
ประโยคที่สมบูรณ์ โครงเรื่องแบบนี้มีราย 
ละเอียดที่ชัดเจนกว่าโครงเรื่องแบบหัวข้อ 
3.2 ระบบในการเขียนโครงเรื่อง การ 
แบ่งหัวข้อในการวางโครงเรื่องอาจแบ่ง 
เป็น 2 ระบบ คือ 
1. ระบบตัวเลขและตัวอักษร เป็นระบบ 
ที่นิยมใช้กันทั่วไป โดยกำาหนดตัวเลขหรือ
2. ระบบตัวเลข เป็นการกำาหนด 
ตัวเลขหลักเดียวให้กับประเด็นหลักและ 
ตัวเลขสองหลัก และสามหลัก ให้กับ 
ประเด็นรอง ๆ ลงไป 
3.3 หลักในการวางโครงเรื่อง หลักใน 
การวางโครงเรื่องนั้นควรแยกประเด็นหลัก 
และประเด็นย่อยจากกันให้ชัดเจน โดย 
ประเด็นหลักทุกข้อควรมีความสำาคัญเท่า 
กัน ส่กาวนรย่ปอระหเด็น้านเป็ย่อนยสจะงิ่จำาเป็เป็นหันวอีข้กออที่ 
ย่างหนึ่ง 
สนับสนุน 
ประเด็นหลัก ทั้งนี้ทุกประเด็นต้องต่อเนื่อง 
และสอดคล้องกัน จึงจะเป็นโครงเรื่องที่ดี 
เพราะจะช่วยให้ผู้อ่าน อ่านเข้าใจง่ายและ 
อ่านได้เร็ว มีช่องว่างให้ได้พักสายตา ผู้ 
เขียนเรียงความได้ดีต้องรู้หลักในการ 
เขียนย่อหน้า และนำาย่อหน้า
แต่ละย่อหน้ามาเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กัน 
ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ต้องมีสาระเพียง 
ประการเดียว ถ้าจะขึ้นสาระสำาคัญใหม่ 
ต้องขึ้นย่อหน้าใหม่ แต่อย่างน้อยเรียง 
ความต้องมี 3 ย่อหน้า คือ ย่อหน้าที่เป็น 
คำานำาเนื้อเรื่องและสรุป 
4.1 ส่วนประกอบย่อหน้า ย่อหน้า 1 
ย่อหน้าประกอบด้วย ประโยคใจความ 
สำาคัญและประโยคขยาย ใจความสำาคัญ 
หลาย ๆ ประโยค มาเรียบเรียงต่อเนื่องกัน 
4.2 ลักษณะของย่อหน้าที่ดี ย่อหน้าที่ 
ดีควรมีลักษณะ 3 ประการ คือ เอกภาพ
การเชื่อมโยงย่อหน้าทำาให้เกิด 
สัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า เรียงความ 
เรื่องหนึ่งย่อมประกอบด้วยย่อหน้าหลาย 
ย่อหน้าการเรียงลำาดับย่อหน้าตามความ 
เหมาะสมจะทำาให้ข้อความ เกี่ยวเนื่องเป็น 
เรื่องเดียวกัน วิธีการเชื่อมโยงย่อหน้า 
แต่ละย่อหน้าก็เช่นเดียวกับการจัดระเบียบ 
ความคิดในการวางโครงเรื่อง ซึ่งมีด้วยกัน 
4 วิธี คือ 
5.1 การลำาดับย่อหน้าตามเวลา อาจ 
ลำาดับตามเวลาในปฏิทินหรือตาม
5.3 การลำาดับย่อหน้าตามความสำาคัญ 
เรียงลำาดับตามความสำาคัญ 
มากที่สุด สำาคัญรองลงมาไปถึงสำาคัญน้อย 
ที่สุด 
5.4 การลำาดับย่อหน้าตามเหตุผล อาจ 
เรียงลำาดับจากเหตุไปหาผล หรือผลไปเหตุ 
ยึดหลักการใช้ภาษาดังนี้ 
6.1 ใช้ภาษาให้ถูกหลักภาษา เช่น 
การใช้ลักษณะนาม ปากกาใช้ว่า “ด้าม” 
รถใช้ว่า “คัน” พระภิกษุใช้ว่า “รูป” เป็นต้น 
6.2 ไม่ควรใช้ภาษาพูด เช่น ดีจัง เมื่อ 
ไหร่ ทาน ฯลฯ ควรใช้ภาษาเขียน ได้แก่ ดี 
มาก เมอื่ไร รับประทาน
6.3 ไม่ควรใช้ภาษาแสลง เช่น พ่น 
ฝอย แจวอ้าว สุดเหวี่ยง ฯลฯ 
6.4 ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำาศัพท์ยากที่ 
ไม่จำาเป็น เช่น ปริเวทนาการ ฯลฯ ซึ่งมีคำา 
ที่ง่ายกว่าที่ควรใช้คือคำาว่า วิตก หรือใช้คำา 
ที่ตนเองไม่ทราบความหมายที่แท้จริง 
6.5 ใช้คำาให้ถูกต้องตามกาลเทศะและ 
หัวข้อในเรียงความจะไม่ใช้หมายเลข 
บุคคล เช่น คำาสุภาพ คำาราชาศัพท์ เป็นต้น 
กำากับ ถ้าจะกล่าวแยกเป็นข้อ ๆ จะใช้ว่า 
ประการที่ 1 ......ประการที่ 2 ...... หรือ 
ประเภทที่ 1 ..... ประเภทที่ 2 .....แต่จะไม่ใช้ 
เป็น 1 ..... 2 ..... เรียงลำาดับแบบการเขียน 
ทั่วไป
เครื่องหมายวรรคตอน เช่น มหัพภาค 
(.) อัฒภาค (;) จุลภาค (,) นั้น ไทยเลียน 
แบบฝรั่งมาจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้ ถ้าใช้ต้อง 
ใช้ให้ถูกต้อง ถ้าไม่ใช้ก็ใช้แบบไทยเดิม 
คือการเว้นวรรคตอน โดยเว้นเป็นวรรค 
ใหญส่ วำารนรวคนนก้อับยโ วตหาามรลเักปษ็นณคำาะทปรี่มะีคโวยาคมที่ใช้ 
หมายอย่างเดียวกันนำามาซ้อนกัน หมายถึง 
ชั้นเชิงในการเรียบเรียงถ้อยคำา ในการ 
เขียนเรียงความสำานวนโวหารที่ใช้มี 
5แบบ คือ 
1. แบบบรรยาย
3. แบบอุปมา 
4. แบบสาธก หรือสาธกโวหาร 
5. แบบเทศน์ หรือเทศนาโวหาร 
เรียงความเป็นการเขียนถึงความรู้ 
ความคิดและประสบการณ์ของตนให้ผู้อื่น 
ทราบโดยเขียนคำานำาให้น่าสนใจ เขียน 
เนื้อเรื่องให้ชัดเจน และเขียนสรุปให้ผอู้่าน 
พอใจ นอกจากนี้ ก็ต้องใช้สำานวนโวหาร 
ให้ถูกแบบและถูกกาลเทศะด้วย

More Related Content

What's hot

การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Yui Siriwararat
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจSomboon Srihawong
 

What's hot (20)

การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิดหลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 

Similar to การเขียนเรียงความ

ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4chaiwat vichianchai
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 

Similar to การเขียนเรียงความ (20)

ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 

การเขียนเรียงความ

  • 1.
  • 2. ยกันตภน ประทุม2ต.าน เาลยขนทพี่ ร1ัตน์ โพธิ์จันดี เล3.นายภควัต นามวงษ์ เลขที่ 10
  • 3. 4.นางสาวรุ่งฤดี มะลิ เลิศ เลขที่ 32 5.นางสาวสายชล พันมณี เลข
  • 4. เรียงความคือ การนำาเอาคำามา ประกอบแต่งเป็นเรื่องราวอาจใช้วิธีการ เขียนหรือการพูด ก็ได้ การเขียน จดหมาย รายงาน ตอบคำาถาม ข่าว บทความ ฯลฯ อาศัยเรียงความเป็นพื้นฐาน ทั้งนั้น ดังนั้น การเขียนเรียงความจึงมีความสำาคัญ ช่วย ให้พูดหรือเขียนในรูปแบบต่าง ๆได้ดี นอกจากนี้ก่อนเรียงเขียนความเราต้อง ค้นคว้า รวบรวมความรู้ ความคิด และนำา มาจัดเป็นระเบียบ จึงเท่ากับเป็นการฝึกสิ่ง เหล่านี้ให้กับตนเองได้อย่างดีอีกด้วย
  • 5. เรียงความเรื่องหนึ่งประกอบด้วยส่วน สำาคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนนำา ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนท้ายหรือสรุป ส่วนนำาเรื่องจะเป็น ส่วนที่แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค์ ของเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง เป็นส่วนขยาย โครงเรื่องที่วางเอาไว้ส่วนนี้จะประกอบ ด้วยย่อหน้าหลายย่อหน้า ส่วนท้ายของ เรื่องจะเป็นการเน้นยำ้าประเด็นหลักหรือ จุดประสงค์ ดังได้กล่าวแล้วว่าส่วนนำาเป็นส่วนที่ แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค์ของ เรื่อง ดังนั้น ส่วนนำาจึงเป็นการบอกผู้อ่าน
  • 6. นำำเสนอและยังเป็นกำรเร้ำควำมสนใจให้ อยำกอ่ำน เรื่องจนจบ กำรเขียนส่วนนำำ เพอื่เร้ำควำมสนใจนั้นมีหลำยวิธี แล้วแต่ผู้ เขียนจะเลือกตำมควำมเหมำะสม เนื้อเรื่องเป็นส่วนสำำคัญที่สุดของเรียง ควำม เพรำะเป็นส่วนที่ต้องแสดงควำมรู้ ควำมคิดเห็น ให้ผู้อ่ำนทรำบตำมโครงเรื่อง ที่วำงไว้ เนื้อเรื่องที่ต้องแสดงออกถึงควำม รู้ ควำมคิดเห็นอย่ำงชัดแจ้ง มีรำยละเอียด ที่เป็นข้อเท็จจริงและมีกำรอธิบำยอย่ำง เป็นลำำดับขั้น มีกำรหยิบยกอุทำหรณ์
  • 7. ส่วนท้ำยหรือส่วนสรุป ส่วนปิดเรื่อง เป็นส่วนที่มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับ เนื้อหำส่วนอื่น ๆ โดยตลอด และเป็นส่วน ที่บอกผู้อ่ำนว่ำเรื่องรำวที่เสนอมำนั้นได้ สิ้นสุดลงแล้ว วิธีกำรเขียนส่วนท้ำยมีด้วย กันหลำยวิธี เช่น เน้นยำ้ำประเด็นหลัก เสนอคำำถำมหรือข้อคิด สรุปเรื่อง เสนอ ควำมคิดของผู้เขียน ขยำยจุดประสงค์ ของผู้เขียน หรือสรุปด้วยสุภำษิต คำำคม สำำนวนโวหำร คำำพังเพยอ้ำงคำำพูดของ บุคคล อ้ำงทฤษฎี หลักศำสนำ หรือคำำ สอนและ บทร้อยกรอง ฯลฯ
  • 8. เมื่อได้ศึกษำองค์ประกอบอันจะนำำไป ใช้ในกำรเขียนเรียงควำมแล้ว ก่อนที่จะ ลงมือเขียนเรียงควำม ผเู้ขียนต้องเลือก เรื่องและประเภทของเรื่องทจี่ะเขียน หลัง จำกนั้นจึงวำงโครงเรื่องให้ชัดเจนเพื่อ เรียบเรียงเนื้อหำ ซึ่งกำรเรียบเรียงเนื้อหำ นี้ต้องอำศัยควำมสำมำรถในกำรเขียน ย่อหน้ำ และกำรเชื่อมโยงย่อหน้ำให้เป็น เนื้อหปำัญเดหียำวสกำำันคัญประกำรหนึ่งของผู้เขียน ที่ไม่สำมำรถเริ่มต้นเขียนได้ คือ ไม่ทรำบ จะเขียนเรื่องอะไร วิธีกำรแก้ปัญหำดัง กล่ำวคือ หัดเขียนเรื่องใกล้ตัวของผเู้ขียน หรือเรื่องที่ผู้เขียนมีประสบกำรณ์ดีรวมทั้ง
  • 9. ที่ผู้เขียนมีควำมรู้เป็นอย่ำงดีหรือเขียน เรื่องที่สนใจ เป็นเรื่องรำว หรือที่กำำลังอยู่ ในควำมสนใจของบุคคลทั่วไป นอกจำกนี้ ผู้เขียนอำจพิจำรณำองค์ประกอบ 4 ประกำร เพอื่เป็นแนวทำงในกำรตัดสินใจ เลือกเรื่องที่จะเขียน ดังต่อไปนี้ก็ได้ 1.1 กลุ่มผู้อ่ำน ผู้เขียนควรเลือกเขียน เรื่องสำำหรับกลุ่มผู้อ่ำนเฉพำะและควร เป็นกลุ่มผู้อ่ำนที่ผู้เขียนรู้จักดีทั้งในด้ำน กำรศึกษำ ประสบกำรณ์ วัย ฐำนะ ควำมสนใจและ ควำมเชื่อ 1.2 ลักษณะเฉพำะของเรื่อง เรื่องที่มี
  • 10. 1.3 เวลำ เรื่องที่จะเขียนหำกเป็นเรื่อง ที่อยใู่นกำลสมัยหรือเป็นปัจจุบัน จะมีผู้ สนใจอ่ำนมำก ส่วนเรื่องที่พ้นสมัยจะมีผู้ อ่ำนน้อย นอกจำกนี้กำรให้เวลำในกำร เขียนของผู้เขียนก็เป็นสงิ่สำำคัญ ถ้ำผู้เขียน มี เวลำมำก ก็จะมีเวลำค้นคว้ำหำข้อมูลเพอื่ กำรเขียนและกำรอ้ำงอิงได้มำก ถ้ำผู้เขียนมีเวลำน้อย กำรเขียนด้วยเวลำ เร่งรัด ก็อำจทำำให้เนื้อหำขำดควำม สมบูรณ์ ด้ำนกำรอ้ำงอิง 1.4 โอกำส กำรเขียนเรื่องประเภทใด
  • 11. การแบ่งประเภทของเรื่องที่จะเขียน นั้นพิจารณาจากจุดมงุ่หมายในการเขียน ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 2.1 เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ เป็นการ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์รวมทั้ง หลักการตลอดจนข้อเท็จจริงต่างๆ ใช้วิธี เขียนบอกเล่าหรือบรรยายรายละเอียด 2.2 เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ เป็นการอธิบายให้ผอูื้่นเข้าใจความรู้ หลัก การ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ การเขียน เพื่อความเข้าใจมักควบคู่ไปกับการเขียน
  • 12. ยอมรับ เพอื่ให้ผอู้่านได้รับอรรถรสทางใจ ให้สนุกสนาน เพลิดเพลินไปกับข้อเขียน นั้น ๆ การเขียนเรียงความเป็นการเสนอ ความคิดต่อผู้อ่าน ผู้เขียนจึงต้องรวบรวม เลือกสรรและจัดระเบียบความคิด แล้วนำา มาเรียบเรียงเป็นโครงเรื่อง การรวบรวม ความคิด อาจจะรวบรวม ข้อมูลจาก ประสบการณ์ของผู้เขียนเอง นำาส่วนที่เป็น ประสบการณ์ตรงและประสบการณ์ทาง อ้อม ซึ่งเกิดจากการฟัง การอ่าน การพูดคุย ซัก
  • 13. 3.1 ชนิดของโครงเรื่อง การเขียน โครงเรื่องนิยมเขียน 2 แบบ คือ โครงเรื่อง แบบหัวข้อและโครงเรื่องแบบ ประโยค 1. โครงเรื่องแบบหัวข้อ เขียนโดยใช้ คำาหรือวลีสนั้ ๆ เพื่อเสนอประเด็นความคิด 2. โครงเรื่องแบบประโยค เขียนเป็น ประโยคที่สมบูรณ์ โครงเรื่องแบบนี้มีราย ละเอียดที่ชัดเจนกว่าโครงเรื่องแบบหัวข้อ 3.2 ระบบในการเขียนโครงเรื่อง การ แบ่งหัวข้อในการวางโครงเรื่องอาจแบ่ง เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบตัวเลขและตัวอักษร เป็นระบบ ที่นิยมใช้กันทั่วไป โดยกำาหนดตัวเลขหรือ
  • 14. 2. ระบบตัวเลข เป็นการกำาหนด ตัวเลขหลักเดียวให้กับประเด็นหลักและ ตัวเลขสองหลัก และสามหลัก ให้กับ ประเด็นรอง ๆ ลงไป 3.3 หลักในการวางโครงเรื่อง หลักใน การวางโครงเรื่องนั้นควรแยกประเด็นหลัก และประเด็นย่อยจากกันให้ชัดเจน โดย ประเด็นหลักทุกข้อควรมีความสำาคัญเท่า กัน ส่กาวนรย่ปอระหเด็น้านเป็ย่อนยสจะงิ่จำาเป็เป็นหันวอีข้กออที่ ย่างหนึ่ง สนับสนุน ประเด็นหลัก ทั้งนี้ทุกประเด็นต้องต่อเนื่อง และสอดคล้องกัน จึงจะเป็นโครงเรื่องที่ดี เพราะจะช่วยให้ผู้อ่าน อ่านเข้าใจง่ายและ อ่านได้เร็ว มีช่องว่างให้ได้พักสายตา ผู้ เขียนเรียงความได้ดีต้องรู้หลักในการ เขียนย่อหน้า และนำาย่อหน้า
  • 15. แต่ละย่อหน้ามาเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กัน ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ต้องมีสาระเพียง ประการเดียว ถ้าจะขึ้นสาระสำาคัญใหม่ ต้องขึ้นย่อหน้าใหม่ แต่อย่างน้อยเรียง ความต้องมี 3 ย่อหน้า คือ ย่อหน้าที่เป็น คำานำาเนื้อเรื่องและสรุป 4.1 ส่วนประกอบย่อหน้า ย่อหน้า 1 ย่อหน้าประกอบด้วย ประโยคใจความ สำาคัญและประโยคขยาย ใจความสำาคัญ หลาย ๆ ประโยค มาเรียบเรียงต่อเนื่องกัน 4.2 ลักษณะของย่อหน้าที่ดี ย่อหน้าที่ ดีควรมีลักษณะ 3 ประการ คือ เอกภาพ
  • 16. การเชื่อมโยงย่อหน้าทำาให้เกิด สัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า เรียงความ เรื่องหนึ่งย่อมประกอบด้วยย่อหน้าหลาย ย่อหน้าการเรียงลำาดับย่อหน้าตามความ เหมาะสมจะทำาให้ข้อความ เกี่ยวเนื่องเป็น เรื่องเดียวกัน วิธีการเชื่อมโยงย่อหน้า แต่ละย่อหน้าก็เช่นเดียวกับการจัดระเบียบ ความคิดในการวางโครงเรื่อง ซึ่งมีด้วยกัน 4 วิธี คือ 5.1 การลำาดับย่อหน้าตามเวลา อาจ ลำาดับตามเวลาในปฏิทินหรือตาม
  • 17. 5.3 การลำาดับย่อหน้าตามความสำาคัญ เรียงลำาดับตามความสำาคัญ มากที่สุด สำาคัญรองลงมาไปถึงสำาคัญน้อย ที่สุด 5.4 การลำาดับย่อหน้าตามเหตุผล อาจ เรียงลำาดับจากเหตุไปหาผล หรือผลไปเหตุ ยึดหลักการใช้ภาษาดังนี้ 6.1 ใช้ภาษาให้ถูกหลักภาษา เช่น การใช้ลักษณะนาม ปากกาใช้ว่า “ด้าม” รถใช้ว่า “คัน” พระภิกษุใช้ว่า “รูป” เป็นต้น 6.2 ไม่ควรใช้ภาษาพูด เช่น ดีจัง เมื่อ ไหร่ ทาน ฯลฯ ควรใช้ภาษาเขียน ได้แก่ ดี มาก เมอื่ไร รับประทาน
  • 18. 6.3 ไม่ควรใช้ภาษาแสลง เช่น พ่น ฝอย แจวอ้าว สุดเหวี่ยง ฯลฯ 6.4 ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำาศัพท์ยากที่ ไม่จำาเป็น เช่น ปริเวทนาการ ฯลฯ ซึ่งมีคำา ที่ง่ายกว่าที่ควรใช้คือคำาว่า วิตก หรือใช้คำา ที่ตนเองไม่ทราบความหมายที่แท้จริง 6.5 ใช้คำาให้ถูกต้องตามกาลเทศะและ หัวข้อในเรียงความจะไม่ใช้หมายเลข บุคคล เช่น คำาสุภาพ คำาราชาศัพท์ เป็นต้น กำากับ ถ้าจะกล่าวแยกเป็นข้อ ๆ จะใช้ว่า ประการที่ 1 ......ประการที่ 2 ...... หรือ ประเภทที่ 1 ..... ประเภทที่ 2 .....แต่จะไม่ใช้ เป็น 1 ..... 2 ..... เรียงลำาดับแบบการเขียน ทั่วไป
  • 19. เครื่องหมายวรรคตอน เช่น มหัพภาค (.) อัฒภาค (;) จุลภาค (,) นั้น ไทยเลียน แบบฝรั่งมาจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้ ถ้าใช้ต้อง ใช้ให้ถูกต้อง ถ้าไม่ใช้ก็ใช้แบบไทยเดิม คือการเว้นวรรคตอน โดยเว้นเป็นวรรค ใหญส่ วำารนรวคนนก้อับยโ วตหาามรลเักปษ็นณคำาะทปรี่มะีคโวยาคมที่ใช้ หมายอย่างเดียวกันนำามาซ้อนกัน หมายถึง ชั้นเชิงในการเรียบเรียงถ้อยคำา ในการ เขียนเรียงความสำานวนโวหารที่ใช้มี 5แบบ คือ 1. แบบบรรยาย
  • 20. 3. แบบอุปมา 4. แบบสาธก หรือสาธกโวหาร 5. แบบเทศน์ หรือเทศนาโวหาร เรียงความเป็นการเขียนถึงความรู้ ความคิดและประสบการณ์ของตนให้ผู้อื่น ทราบโดยเขียนคำานำาให้น่าสนใจ เขียน เนื้อเรื่องให้ชัดเจน และเขียนสรุปให้ผอู้่าน พอใจ นอกจากนี้ ก็ต้องใช้สำานวนโวหาร ให้ถูกแบบและถูกกาลเทศะด้วย