SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสร้างตาราง                                       วิชา การจัดการฐานข้อมูล
เรื่อง การสร้างตาราง                                                       ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6

ส่วนประกอบของตารางข้อมูล
     ในแต่ละตารางข้อมูล จะประกอบด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ
        1. โครงสร้าง เป็นส่วนของโครงสร้างของข้อมูลที่เราจัดเก็บ เช่น มีฟิลด์อะไรบ้าง แต่ละฟิลด์เก็บ
ข้อมูลอะไร เป็นต้น เมื่อเราขอดูโครงสร้างของตารางข้อมูล จะเข้าสู่ มุมมองออกแบบ (Design View)




           2. ข้อมูล เป็นส่วนของข้อมูล ซึ่งจะแสดงอยู่ในรูปของตาราง โดยแต่ละแถวจะเป็นข้อมูลแต่ละส่วน
ที่เรียกว่า ฟิลด์ เมื่อเราขอดูข้อมูล จะเข้าสู่ มุมมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View)
การสร้างตาราง
   1. การสร้างตารางในมุมองออกแบบ (Design View)
       1.1 เมือสร้างไฟล์ฐานข้อมูลแล้วคลิกที่แถบ หน้าแรก -> มุมมอง -> เลือกมุมมองออกแบบ
              ่
       1.2 คลิกในตารางเพื่อกาหนดชื่อเขตข้อมูล ชนิดข้อมูล คาอธิบาย และกาหนดคุณสมบัติของแต่ละเขต
           ข้อมูล

               1


         2




                             4
        3




   2. การสร้างตารางในมุมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View)
      2.1 เมื่อสร้างไฟล์ฐานข้อมูลแล้วคลิกที่แถบ หน้าแรก -> มุมมอง -> เลือกมุมมองแผ่นข้อมูล
      2.2 คลิก คลิกเพื่อเพิ่ม เพื่อ กาหนดชื่อเขตข้อมูล -> เลือกชนิดข้อมูล

               1
2
                                        4

           3




    การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล
              เมื่อมีการกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล (field Properties) ให้กับเขตข้อมูลใด จะทาให้การแสดง
    ข้อมูลของเขตข้อมูลนั้นเป็นไปตามคุณสมบัติที่กาหนด เช่น การแสดงเครื่องหมายจุลภาค การแสดงรูปแบบวัน
    เดือน ปี นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยให้การใส่ ข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น เช่น การ
    กาหนดตัวพรางรับเข้า (Input mask) ข้อความอธิบายเขตข้อมูล (Caption) ค่าโดยปริยาย (Default Value)
    กฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล (Validation Rule) คุณสมบัติบังคับ (Required Property) การยอมรับให้
    เว้นว่าง (Allow Zero Length) เป็นต้น
              การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้
              1) เปิดตารางในมุมมองออกแบบ
              2) คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรมไมโครซอฟต์แอกเซส จะแสดงคุณสมบัติ
                   ของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง
              3) คลิกที่กรอบคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด
              4) พิมพ์คุณสมบัติตามต้องการหรือเมื่อมีลูกศรปรากฏที่ด้านขวาของกรอบ คลิกลูกศรและเลือก
                   รายการที่ต้องการ
    ขนาดของเขตข้อมูล
              ในส่วนนี้ใช้กาหนดขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ในแบบข้อความ และแบบตัวเลข ถ้าเป็นแบบ
    ข้อความ จะเป็นการกาหนดจานวนตัวอักษร เช่น 50 หมายถึง เก็บตัวอักษรได้ 50 ตัว ถ้าเป็นแบบตัวเลข
    ขนาดของเขตข้อมูลอาจเป็นแบบต่าง ๆ เช่น Byte, Integer, Long Integer, Single หรือ Double ซึ่งขึ้นกับ
    ขนาดของตัวเลขที่ต้องการ
    รูแบบของข้อมูล
ใช้กาหนดรูปแบบ (Format) ของข้อมูลให้เป็นแบบที่ต้องการ เช่น ถ้าข้อมูลเป็นชนิดตัวเลข อาจ
กาหนดรูปแบบ Standard ให้แสดงเครื่องหมายจุลภาคด้วย รูปแบบ Percent แสดงค่าเปอร์เซนต์ ถ้าข้อมูล
เป็นชนิดวันที่อาจให้แสดงวันที่ในแบบต่าง ๆ เช่น
         แบบ Medium Date ได้แก่ 15-Jan-97
         แบบ Short Date               ได้แก่ 15/01/1997
จานวนทศนิยม
         ให้ใช้กับเขตข้อมูลแบบตัวเลขและแบบตัวเลขทาการเงินเท่านั้น ซึ่งสามารถกาหนดตาแหน่งทศนิยม
(Decimal Place) ได้ระหว่าง 0 ถึง 15 ตาแหน่ง ถ้าต้องการให้แสดงโดยใช้ค่าโดยปริยายตามรูปแบบใน
Format ให้เลือก Auto
เครื่องหมายแทนค่า
         ถ้าต้องการป้อนข้อมูลในเขตข้อมูลซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกัน การกาหนดเครื่องหมายแทนค่าสาหรับใส่
ข้อมูลไว้ จะทาให้การป้อนข้อมูลมีความสะดวก เพราะไม่ต้องใส่อักขระหรือสัญลักษณ์บ างตัว เหมือนกับว่า
อักขระหรือสัญลักษณ์นั้นถูกเก็บอยู่ในเขตข้อมูลนั้นแล้ว นอกจากนี้การกาหนดเครื่องหมายแทนค่ายังใช้
ป้องกันข้อมูลที่เป็นความลับโดยสามารถกาหนดรหัสผ่านไว้ในเครื่องหมายแทนค่าได้
         เครื่องหมายแทนค่าแตกต่างจากรูปแบบข้อมูล เพราะรูปแบบข้อมูลเป็นการกาหนดลักษณะข้อมูลที่
จะแสดง ไม่ใช่รูปแบบการรับข้อมูลเข้า การสร้างเครื่องหมายแทนค่าอาจใช้เครื่องหมายแทนค่าวิเศษ (Input
Mask Wizard) ช่วยในการกาหนดคุณสมบัติ หรืออาจพิมพ์ข้อกาหนดโดยตรงในส่วนของคุณลักษณะ แต่ถ้า
เป็นการเปลี่ยนแปลงเขตข้อมูลอยู่แก้ว การกาหนดเครื่องหมายแทนค่าใหม่ ต้องมีความพอดีกับข้อมูลที่อยู่
มิฉะนั้นจะแสดงเครื่องหมายแทนค่าไม่ได้ ตัวอักขระสาหรับเครื่องหมายแทนค่า มีดังนี้
         ตัวอักขระ                   ความหมาย
         0                 ต้องใส่ตัวเลข 1 ตัว
         9                 ใส่ตัวเลข 1 ตัวหรือเว้นว่างก็ได้
         #                 ใส่ตัวเลข เครื่องหมายบวกหรือลบ หรือเว้นว่างหรือไม่ใส่เลยก็ได้
         L                 ต้องใส่ตัวอักษรเท่านั้น
         ?                 ใส่ตัวอักษรหรือไม่ใส่ก็ได้
         A                 ต้องใส่ตัวอักษรหรือตัวเลข
         a                 ใส่ตัวอักษรหรือตัวเลขหรือไม่ใส่ก็ได้
         &                 ต้องใส่ตัวอักษรใด ๆ 1 ตัว หรือเว้นว่าง
         C                 ใส่อักขระหรือเว้นว่างแต่ไม่บังคับ
         .                 จุดทศนิยม
         ,                 ใส่เครื่องหมายจุลภาคคั่นตัวเลขทุก 3 หลัก
         :;-/              ใช้คั่นวันที่และเวลา ซึ่งขึ้นอยู่กับการกาหนดหน้าต่างควบคุม
         <                 เปลี่ยนอักษรเป็นตัวพิมพ์เล็ก
>                เปลี่ยนตัวอักษรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่
         !                ใส่ข้อมูลจากขวาไปซ้ายแทนที่จะเป็นแบบปกติ คือจากซ้ายไปขวา
                         ตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้จะถูกแสดง
การกาหนดค่าเฉพาะ
         เขตข้อมูลทุกเขตข้อมูลจะกาหนดค่าเฉพาะ (Caption0 ได้ ค่าเฉพาะของเขตข้อมูลจะถูกใช้เป็นหัว
ตารางของสดมภ์ในแต่ละเขตข้อมูล จะมีความยาวได้ไม่เกิน 255 ตัวอักขระ
การกาหนดค่าโดยปริยาย
         ค่าโดยปริยาย (Default) เป็นค่าที่กาหนดให้เป็นค่าเริ่มต้นสาหรับเขตข้อ มูลนั้น ข้อมูลเกือบทุกชนิดมี
การกาหนดค่าโดยปริยายไว้ ยกเว้นแบบจานวนนับ และแบบวัตถุเชื่อมต่อหรือผัง ค่าโดยปริยายนี้จะถูกแสดง
ในทุก ๆ ระเบียน เมื่อเราใส่ข้อมูลในระเบียน และใส่ถึงเขตข้อมูลที่กาหนดค่าโดยปริยายไว้ จะมีค่าโดยปริยาย
แสดงโดยอัตโนมัติ เช่น กาหนดค่าโดยปริยายของเขตข้อมูลชื่อ Changwad เป็นกรุงเทพมหานคร เมื่อใส่
ข้อมูลบางระเบียนที่นักเรียนมีภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดชลบุรี ก็ต้องพิมพ์ว่า ชลบุรี แทนค่าโดยปริยาย โปรแกรม
ไมโครซอฟต์แอกเซสจะกาหนดค่าโดยปริยายสาหรับเขตข้อมูลตัวเลขหรือตัวเลขทางการเงินเป็นศูนย์โดย
อัตโนมัติ แต่สามารถกาหนดโดยปริยายใหม่ได้
กฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล
         เขตข้อมูลทุกเขตข้อมูลอาจกาหนดกฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล (Validation Rule) ได้ทั้งนี้เพื่อ
ทดสอบความเป็นไปได้ของข้อมูล เช่น กาหนดเขตข้อมูลหนึ่งแทนเพศ ซึ่งมีเพศชาย และเพศหญิง ข้อมูลที่
เป็นไปได้คือ ชายหรือหญิง หากใส่ข้อมูลที่ไม่ใช่ ชายหรือหญิง ก็จะผิด กรณีนี้จะกาหนดค่าที่ยอมรับได้ดังนี้
“ชาย” OR “หญิง”
การกาหนดคาอธิบายความสมเหตุสมผล
         คุณสมบัติข้อนี้จะใช้ร่วมกับการกาหนดกฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล ในการกรอกข้อมูลในเขต
ข้อมูลเพศ เป็น “ชาย” หรือ “หญิง” ถ้ากรอกข้อมูลผิด โดยข้อมูลที่กรอกมิใช่ ชาย หรือ หญิง ก็จะมีหน้าต่าง
แสดงคาอธิบายความสมเหตุสมผล ว่า ข้อมูลที่กรอกจะต้องเป็นชาย หรือ หญิง เท่านั้น


การบังคับให้ใส่ข้อมูล
        ถ้าต้องการบังคับ (Required) ให้ใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลใดทุกระเบียน ให้กาหนดคุณสมบัติบังคับของ
Required สาหรับเขตข้อมูลนั้นเป็น Yes ซึ่งจะทาให้โปรแกรมไม่ยอมรับการปล่อยให้เขตข้อมูลนั้นเป็นค่าว่าง
เช่น บังคับว่าต้องใส่ชื่อและนามสกุลของนักเรียนก่อนการบันทึกระเบียนนั้น หากพยายามที่จะบันทึกตาราง
โดยไม่ใส่ข้อมูล โปรแกรมจะแสดงข้อความบอกให้ทราบและไม่ยอมบันทึกตาราง จนกว่าจะมีการใส่ข้อมูลที่
ต้องการ
การยอมรับให้เว้นว่าง
ในการบังคับให้ใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลชนิดข้อความหรือความจา หากต้องการยอมรับให้เว้นว่าง (Allow
Zero Length) ข้อมูลในเขตข้อมูลให้กาหนด เป็น Yes คุณสมบัตินี้เป็นการกาหนดว่า เขตข้อมูลนั้นสามารถใส่
ข้อมูลที่เป็นที่ว่างได้ เช่น กรอกข้อมูลโดยเคาะแป้น space bar โดยที่ค่าข้อความไม่มีอักษรใดเลย และ
โปรแกรมยอมรับ
การใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลความจา
          ถ้าต้องการใส่ข้อมูลหรือแก้ไขข้อมูลในเขตข้อมูลความจาก็ทาได้เช่นเดียวกับข้อมูลชนิดข้อความ แต่
สามารถใส่ข้อมูลได้มากกว่า ในกรณีที่ต้องการให้ขยายความกว้าง เพื่อความสะดวกในการกรอกข้อมูล ต้องกด
แป้น Shift ค้างไว้แล้วกดแป้น F2 เมื่อกรอกข้อมูลบรรทัดแรกแล้ว ถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ ต้องกดแป้น
Ctrl และ Enter พร้อมกัน ถ้ากดแป้น Enter อย่างเดียว จะไปที่เขตข้อมูลถัดไป มิใช่เป็นการเริ่มต้นย่อหน้า
ใหม่แต่อย่างใด
การเปลี่ยนชื่อตาราง
          เราอาจเปลี่ยนชื่อตารางได้ แต่มีการสร้างแบบฟอร์มหรือรายการที่ใช้ตารางนั้น ต้องคานึงถึง
ความสัมพันธ์ด้วย การเปลี่ยนชื่อตารางทาได้ดังนี้
          1) เปิดหน้าต่างฐานข้อมูล
          2) คลิกที่ Table และเลือกชื่อตารางที่ต้องการเปลี่ยน
          3) เลือกเมนู File และคาสั่ง Rename
          4) พิมพ์ชื่อตารางใหม่
          5) คลิกปุ่ม OK
การลบตาราง
          ขั้นตอนการลบตาราง คือ
          1) เปิดหน้าต่างฐานข้อมูล
          2) คลิกที่ Table และเลือกชื่อตารางที่ต้องการลบ
          3) เลือกเมนู Edit แล้วใช้คาสั่ง delete

ตัวอย่างการกาหนดการกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล
ตาราง Member
   เขตข้อมูลลาดับที่    ชื่อเขตข้อมูล        ชนิดของข้อมูล                          รายละเอียด
          1          ID                          Text                  รหัสสมาชิก
          2          Name                        Text                  ชื่อสมาชิก
          3          Numcopy                   Number                  จานวนหนังสือ
          4          Roomno                      Text                  ที่อยู่ในโรงเรียน
ตาราง Book Title
เขตข้อมูลลาดับที่              ชื่อเขตข้อมูล                  ชนิดของข้อมูล                     รายละเอียด
         1                  Regno                                   Text              เลขทะเบียนหนังสือ
         2                  Title                                   Text              ชื่อหนังสือ
         3                  Avcopy                                Number              จานวนหนังสือซ้า
ตาราง Book Service
  เขตข้อมูลลาดับที่               ชื่อเขตข้อมูล                 ชนิดของข้อมูล                   รายละเอียด
         1                  ID                                      Text              รหัสสมาชิก
         2                  Regno                                   Text              เลขทะเบียนหนังสือ
         3                  DateBrw                              Date/Time            วันที่ยืม
         4                  Datedue                              Date/Time            วันครบกาหนดส่งคืน
ที่มา http://www.lks.ac.th/anchalee/base_plan/
หลักการสร้างตารางจัดเก็บข้อมูลใน Access 2010
           การเริ่มทางานในฐานข้อมูลอันดับแรกที่เราต้องมาทาความรู้จักกันก็คือ เรื่องของการสร้าง และจัดการตารางข้อมูล
ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบหลักของฐานข้อมูล โดยในที่นี้เราจะมาทาความรู้จักกับหลักการสร้างตารางกันก่อน

หลักการสร้างตาราง

        1. ในตารางหนึ่ง ๆ นั้น จะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลประเภทเดียวกัน เช่น ตารางรายการสินค้า ก็จะจัดเก็บเฉพาะ
ข้อมูลของสินค้าเท่านั้น ไม่จัดเก็บข้อมูลประเภทอื่น

        2. ไม่ควรสร้างฟิลด์เพื่อเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ เพราะอาจจะทาให้ข้อมูลไม่สอดคล้องกัน

        3. ไม่ควรสร้างฟิลด์จัดเก็บข้อมูลที่ต้องป้อนข้อมูลที่ซ้ากัน

การกาหนดโครงสร้างตาราง

       1. ให้กาหนดว่าในตารางนั้นจะต้องประกอบไปด้วยฟิลด์ข้อมูลอะไรบ้าง เช่น ถ้าเป็นตารางข้อมูลลูกค้า ในตาราง
จะต้องประกอบไปด้วยฟิลด์ข้อมูลชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และอีเมลของลูกค้า เป็นต้น

        2. กาหนดชนิดข้อมูลให้กบแต่ละฟิลด์ เช่น กาหนดให้ฟลด์ชื่อ และที่อยู่ของลูกค้าเป็นฟิลด์แบบข้อความ เป็นต้น
                              ั                         ิ

        3. กาหนดขนาดของแต่ละฟิลด์ด้วยว่า จัดเก็บข้อมูลสูงสุดได้เท่าไหร่ เช่น ฟิลด์รายชื่อลูกค้า กาหนดให้เก็บข้อมูลได้ไม่
เกิน 50 ตัวอักษร เป็นต้น

        4. กาหนดฟิลด์ที่เป็นคีย์หลักของตาราง ซึ่งต้องไม่มีข้อมูลทีซ้ากันโดยเด็ดขาด เช่น ฟิลด์รายการสินค้า ต้องไม่มี
                                                                  ่
รหัสสินค้าที่ซ้ากัน
การสร้างตารางข้อมูลในมุมมอง Design ของ Access 2010



      เป็นการสร้างตารางข้อมูลที่ผู้สร้างจะต้องกาหนดรายละเอียดทั้งหมดของตาราง ไม่ว่าจะเป็นการกาหนดฟิลด์ การกาหนดชนิดของข้อมูล
เป็นต้น ซึ่งการสร้างตารางในมุมมอง Design นั้น มีวิธีการดังนี้




วิธีการสร้างตารางข้อมูลในมุมมอง Design

     1. เปิดฐานข้อมูลที่ได้สร้างไว้ขึ้นมา แล้วคลิกแท็บ สร้าง (Create)

     2. คลิกแท็บไอคอน ออกแบบตาราง (Table Design)




      3. กาหนดชื่อฟิลด์ที่ต้องการ

     4. กาหนดชนิดของข้อมูล

     5. กาหนดขนาดของฟิลด์
ทีมา http://www.com5dow.com/การใช้งาน-Microsoft Access 2010.html
  ่

การกาหนดคุณสมบัติของ เขตข้อมูล (Field) ด้วย คุณสมบัติเขตข้อมูล (Field Properties)

     ชนิดข้อมูล
             การเก็บข้อมูลใน Microsoft Access นั้นจะต้องมีการกาหนดชนิดข้อมูลที่จะเก็บให้ถูกต้องด้วยมิฉะนั้นแล้ว
    จะได้ข้อมูลที่ผดพลาดหรืออาจนาข้อมูลนั้นมาใช้งานไม่ได้เช่น ตัวเลขถ้ามีการกาหนดให้ฟลด์ข้อมูลที่เป็นตัวเลข นั้น
                   ิ                                                                 ิ
เก็บชนิดเป็น Text หรือตัวอักษร เมื่อมีการป้อนข้อมูลตัวเลขลงไปจะไม่สามารถนาตัวเลขนั้นไปคานวณได้
    สาหรับชนิดข้อมูลของ Microsoft Access มีดังนี้

     ชนิดข้อมูล                                                         รายละเอียด
        Text            ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือรวมกันทั้งตัวอักษรและตัวเลข ซึ่งสามารถเก็บได้ถึง 255
                        ตัวอักษร
Memo      ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรที่ต้องการความยาว ซึ่งสามารถเก็บได้ถง 65,535 ตัวอักษร
                                                                                      ึ
    Number     ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขซึ่งสามารถนาไปคานวณได้
   Date/Time   ใช้เก็บข้อมูลที่เป็น วันที่, เวลา หรือทั้ง วันที่และเวลา ใช้พื้นที่ 8 byte
    Currency   ใช้เก็บตัวเลข และสัญลักษณ์ของสกุลเงิน ใช้พื้นที่ 8 byte
  AutoNumber   ใช้กาหนดตัวเลขที่ระบบจะกาหนดให้ อัตโนมัติ ซึ่งในแต่ละ record จะมีค่าไม่ซ้ากัน ใช้พื้นที่ประมาณ
               4 byte (จะใช้ 16 byte ถ้าเลือกเป็น Replication ID)
    Yes/No     จะเก็บค่าทางตรรกศาสตร์ คือเก็บเพียงหนึ่งค่าจากทั้งหมดสองค่า เช่น Yes หรือ No, True หรือ
               False, On หรือ Off ใช้พื้นที่ 1 bit
  OLE Object ใช้เก็บภาพ กราฟ หรือเสียง ซึ่งสามารถเก็บได้ถึง 1 GB
   Hyperlink   ใช้เก็บตัวอักษรหรือทั้งตัวเลขและ ตัวอักษร เพื่อใช้เชื่อมโยงไปยังแฟ้มข้อมูลในเครื่อง หรือแฟ้มข้อมูล
               ในระบบเครือข่าย หรือเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจบนอินเทอร์เน็ต
 Lookup Wizard ใช้สร้าง Field ที่ยอมให้นาค่าจากตารางข้อมูลอื่นมาใช้


       ขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ของข้อมูลแบบ Number ในกรณีที่มีการกาหนด Field ใด ๆ เป็นแบบ
  ตัวเลข (Number) จะต้องกาหนดขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ของตัวเลขให้ตรงตามทีต้องการด้วยซึ่ง
                                                                               ่
  แบบของ Field Size แต่ละชนิดจะแตกต่างกันที่ขอบเขตตัวเลขที่สามารถเก็บได้ในแต่ละ Field

     ชนิดตัวเลข                        ช่วงข้อมูล                    ความละเอียดทศนิยม            ขนาดที่เก็บ
        Byte         0 to 255                                                  -                    1 bytes
      Integer        -32,768 to 32,767                                         -                    2 bytes
    Long Integer     –2,147,483,648 to 2,147,483,647                           -                    4 bytes
       Single        -3.4 x 1038 to 3.4 x 1038                                 7                    4 bytes
      Double         -1.797 x 10308 to 1.797 x 10308                          15                    8 bytes


         รูปแบบ (Format) ใช้กาหนดรูปแบบในการแสดงผลข้อมูลแบบ Text, Memo, Number, Currency และ
Data/Time
  ซึ่งมีทั้งที่เป็นรูปแบบสาเร็จของ Access และรูปแบบทีเ่ รากาหนดขึ้นใช้เองตามความเหมาะสม

   รูปแบบ            ข้อมูลที่ป้อน            การแสดงผล              จานวนทศนิยม             , ตัวคั้นทุก 3 หลัก
  General -1234.789 1234.789 -1234.789 1234.789 เหมือนข้อมูลที่ป้อน                                 ไม่มี
  Currency -1234.789 1234.789 -                         2                                            มี
                              $1,234.79 $1,234.79
    Euro   -1234.789 1234.789 -                         2                                            มี
                              €1,234.79 €1,234.79
Fixed          1234.789                    1235.79                                  2                   ไม่มี
  Standard         1234.789                    1,234.79                                 2                    มี
   Percent         0.07153 5                   7.15% 500.00%                            2                   ไม่มี
  Scientific       1234.789                    1.23E+03                                 2                   ไม่มี


             รูปแบบสาเร็จที่ใช้กับข้อมูลชนิด Date/Time

               รูปแบบ                                                   ตัวอย่างการแสดงผล
        General Date                  19/6/02
         Long Date                    19 June 2002,19 มิถุนายน 2545
        Medium Date                   19-Jun-02 ,19-มิ.ย-45
         Short Data                   19/6/02
         Long Time                    17:34:23
        Medium Time                   5:34 PM
         Short Time                   17:34


        รูปแบบสาเร็จที่ใช้กับข้อมูลชนิด Yes/No เราสามารถกาหนดให้ข้อมูลชนิด Yes/No แสดงรูปแบบเป็น Yes / No ,
  True / Falseหรือ On / Off ได้ ถ้าไม่กาหนดรูปแบบ Access จะแสดงค่าตัวเลขทางตรรกะ คือ -1
สาหรับ Yes
  และ 0 สาหรับ No

                รูปแบบ                              ค่าปกติที่เก็บ                            ค่าทางตรรกะ
                Yes/No                                  Yes                                   Yes= -1, No=0
              True/False                                True                                True= -1, False=0
                On/Off                                   On                                   On= -1, Off=0


    รูปแบบที่ผู้ใช้กาหนดเอง สัญลักษณ์ที่ใช้ได้กับรูปแบบของข้อมูลทุกชนิด

     “”         ใช้แสดงข้อความต่างๆ โดยพิมพ์ขอความนั้นในเครื่องหมาย “”
                                                 ้
  ช่องว่าง      ให้เว้นวรรคหนึ่งตัวอักษร
      !         ให้แสดงข้อมูลในฟิลด์นั้นชิดขวาแทนการชิดซ้ายตามปกติ
      *         ให้ใส่ตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้แทนช่องว่างที่อยู่ใน Field นั้น
               ให้แสดงตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้
[Color] แสดงสีตามที่กาหนดไว้ในวงเล็บซึงได้แก่ Black , Blue, Green, Cyan ,Red, Magenta, Yellow, White
                                       ่


    สัญลักษณ์ที่ใช้ในรูปแบบที่กาหนดองสาหรับข้อมูลชนิด Number และ Currency

     สัญลักษณ์                                             การใช้
        . (จุด)    ใช้แทนจุดทศนิยม
     , (จุลภาค)    ใช้คั่นตัวเลขทุก 3 หลัก
      0 (ศูนย์)    ใช้แทนตัวเลขหนึ่งตัว ถ้าไม่มีตัวเลขที่ตาแหน่งนั้นจะแสดงเป็น 0
           #       ใช้แสดงแทนตัวเลขหนึ่งตัว ถ้าไม่มีตัวเลขจะไม่แสดงให้เห็น
           $       แสดงสัญลักษณ์สกุลเงิน $
          %        คูณค่าตัวเลขที่มีอยูด้วย 100 และแสดงเครื่องหมาย % ต่อท้ายตัวเลข
                                       ่
     E- หรือ e-    แสดงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบยกกาลังติดลบเช่น 10E-10 หมายถึง 10 X E-10
    E+ หรือ e+     แสดงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบยกกาลังเต็มบวกเช่น 10E+10 หมายถึง 10 X E10
           ;       ใช้แยกรูปแบบต่างๆ ที่กาหนดไว้ออกจากกัน
          “”       ใช้แสดงข้อความต่างๆ โดยพิมพ์ขอความนั้นไว้ในเครื่องหมาย “”
                                                     ้

ที่มา http://www.comsrt.net63.net/7FieldProperties.htm

More Related Content

What's hot

Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Wee Jay
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtipyunhooppa
 

What's hot (13)

Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
Word2
Word2Word2
Word2
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
Word1
Word1Word1
Word1
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtip
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลniwat50
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางkruthanyaporn
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4Chainarong Ngaosri
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลKo Kung
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1sendkrukay
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 (20)

บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
4
44
4
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
Table
TableTable
Table
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Work
WorkWork
Work
 

More from chaiwat vichianchai

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderchaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกchaiwat vichianchai
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิกchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier prochaiwat vichianchai
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)chaiwat vichianchai
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนchaiwat vichianchai
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)chaiwat vichianchai
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558chaiwat vichianchai
 

More from chaiwat vichianchai (20)

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสร้างตาราง วิชา การจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างตาราง ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ส่วนประกอบของตารางข้อมูล ในแต่ละตารางข้อมูล จะประกอบด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ 1. โครงสร้าง เป็นส่วนของโครงสร้างของข้อมูลที่เราจัดเก็บ เช่น มีฟิลด์อะไรบ้าง แต่ละฟิลด์เก็บ ข้อมูลอะไร เป็นต้น เมื่อเราขอดูโครงสร้างของตารางข้อมูล จะเข้าสู่ มุมมองออกแบบ (Design View) 2. ข้อมูล เป็นส่วนของข้อมูล ซึ่งจะแสดงอยู่ในรูปของตาราง โดยแต่ละแถวจะเป็นข้อมูลแต่ละส่วน ที่เรียกว่า ฟิลด์ เมื่อเราขอดูข้อมูล จะเข้าสู่ มุมมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View)
  • 2. การสร้างตาราง 1. การสร้างตารางในมุมองออกแบบ (Design View) 1.1 เมือสร้างไฟล์ฐานข้อมูลแล้วคลิกที่แถบ หน้าแรก -> มุมมอง -> เลือกมุมมองออกแบบ ่ 1.2 คลิกในตารางเพื่อกาหนดชื่อเขตข้อมูล ชนิดข้อมูล คาอธิบาย และกาหนดคุณสมบัติของแต่ละเขต ข้อมูล 1 2 4 3 2. การสร้างตารางในมุมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View) 2.1 เมื่อสร้างไฟล์ฐานข้อมูลแล้วคลิกที่แถบ หน้าแรก -> มุมมอง -> เลือกมุมมองแผ่นข้อมูล 2.2 คลิก คลิกเพื่อเพิ่ม เพื่อ กาหนดชื่อเขตข้อมูล -> เลือกชนิดข้อมูล 1
  • 3. 2 4 3 การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล เมื่อมีการกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล (field Properties) ให้กับเขตข้อมูลใด จะทาให้การแสดง ข้อมูลของเขตข้อมูลนั้นเป็นไปตามคุณสมบัติที่กาหนด เช่น การแสดงเครื่องหมายจุลภาค การแสดงรูปแบบวัน เดือน ปี นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยให้การใส่ ข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น เช่น การ กาหนดตัวพรางรับเข้า (Input mask) ข้อความอธิบายเขตข้อมูล (Caption) ค่าโดยปริยาย (Default Value) กฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล (Validation Rule) คุณสมบัติบังคับ (Required Property) การยอมรับให้ เว้นว่าง (Allow Zero Length) เป็นต้น การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้ 1) เปิดตารางในมุมมองออกแบบ 2) คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรมไมโครซอฟต์แอกเซส จะแสดงคุณสมบัติ ของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง 3) คลิกที่กรอบคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด 4) พิมพ์คุณสมบัติตามต้องการหรือเมื่อมีลูกศรปรากฏที่ด้านขวาของกรอบ คลิกลูกศรและเลือก รายการที่ต้องการ ขนาดของเขตข้อมูล ในส่วนนี้ใช้กาหนดขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ในแบบข้อความ และแบบตัวเลข ถ้าเป็นแบบ ข้อความ จะเป็นการกาหนดจานวนตัวอักษร เช่น 50 หมายถึง เก็บตัวอักษรได้ 50 ตัว ถ้าเป็นแบบตัวเลข ขนาดของเขตข้อมูลอาจเป็นแบบต่าง ๆ เช่น Byte, Integer, Long Integer, Single หรือ Double ซึ่งขึ้นกับ ขนาดของตัวเลขที่ต้องการ รูแบบของข้อมูล
  • 4. ใช้กาหนดรูปแบบ (Format) ของข้อมูลให้เป็นแบบที่ต้องการ เช่น ถ้าข้อมูลเป็นชนิดตัวเลข อาจ กาหนดรูปแบบ Standard ให้แสดงเครื่องหมายจุลภาคด้วย รูปแบบ Percent แสดงค่าเปอร์เซนต์ ถ้าข้อมูล เป็นชนิดวันที่อาจให้แสดงวันที่ในแบบต่าง ๆ เช่น แบบ Medium Date ได้แก่ 15-Jan-97 แบบ Short Date ได้แก่ 15/01/1997 จานวนทศนิยม ให้ใช้กับเขตข้อมูลแบบตัวเลขและแบบตัวเลขทาการเงินเท่านั้น ซึ่งสามารถกาหนดตาแหน่งทศนิยม (Decimal Place) ได้ระหว่าง 0 ถึง 15 ตาแหน่ง ถ้าต้องการให้แสดงโดยใช้ค่าโดยปริยายตามรูปแบบใน Format ให้เลือก Auto เครื่องหมายแทนค่า ถ้าต้องการป้อนข้อมูลในเขตข้อมูลซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกัน การกาหนดเครื่องหมายแทนค่าสาหรับใส่ ข้อมูลไว้ จะทาให้การป้อนข้อมูลมีความสะดวก เพราะไม่ต้องใส่อักขระหรือสัญลักษณ์บ างตัว เหมือนกับว่า อักขระหรือสัญลักษณ์นั้นถูกเก็บอยู่ในเขตข้อมูลนั้นแล้ว นอกจากนี้การกาหนดเครื่องหมายแทนค่ายังใช้ ป้องกันข้อมูลที่เป็นความลับโดยสามารถกาหนดรหัสผ่านไว้ในเครื่องหมายแทนค่าได้ เครื่องหมายแทนค่าแตกต่างจากรูปแบบข้อมูล เพราะรูปแบบข้อมูลเป็นการกาหนดลักษณะข้อมูลที่ จะแสดง ไม่ใช่รูปแบบการรับข้อมูลเข้า การสร้างเครื่องหมายแทนค่าอาจใช้เครื่องหมายแทนค่าวิเศษ (Input Mask Wizard) ช่วยในการกาหนดคุณสมบัติ หรืออาจพิมพ์ข้อกาหนดโดยตรงในส่วนของคุณลักษณะ แต่ถ้า เป็นการเปลี่ยนแปลงเขตข้อมูลอยู่แก้ว การกาหนดเครื่องหมายแทนค่าใหม่ ต้องมีความพอดีกับข้อมูลที่อยู่ มิฉะนั้นจะแสดงเครื่องหมายแทนค่าไม่ได้ ตัวอักขระสาหรับเครื่องหมายแทนค่า มีดังนี้ ตัวอักขระ ความหมาย 0 ต้องใส่ตัวเลข 1 ตัว 9 ใส่ตัวเลข 1 ตัวหรือเว้นว่างก็ได้ # ใส่ตัวเลข เครื่องหมายบวกหรือลบ หรือเว้นว่างหรือไม่ใส่เลยก็ได้ L ต้องใส่ตัวอักษรเท่านั้น ? ใส่ตัวอักษรหรือไม่ใส่ก็ได้ A ต้องใส่ตัวอักษรหรือตัวเลข a ใส่ตัวอักษรหรือตัวเลขหรือไม่ใส่ก็ได้ & ต้องใส่ตัวอักษรใด ๆ 1 ตัว หรือเว้นว่าง C ใส่อักขระหรือเว้นว่างแต่ไม่บังคับ . จุดทศนิยม , ใส่เครื่องหมายจุลภาคคั่นตัวเลขทุก 3 หลัก :;-/ ใช้คั่นวันที่และเวลา ซึ่งขึ้นอยู่กับการกาหนดหน้าต่างควบคุม < เปลี่ยนอักษรเป็นตัวพิมพ์เล็ก
  • 5. > เปลี่ยนตัวอักษรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ! ใส่ข้อมูลจากขวาไปซ้ายแทนที่จะเป็นแบบปกติ คือจากซ้ายไปขวา ตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้จะถูกแสดง การกาหนดค่าเฉพาะ เขตข้อมูลทุกเขตข้อมูลจะกาหนดค่าเฉพาะ (Caption0 ได้ ค่าเฉพาะของเขตข้อมูลจะถูกใช้เป็นหัว ตารางของสดมภ์ในแต่ละเขตข้อมูล จะมีความยาวได้ไม่เกิน 255 ตัวอักขระ การกาหนดค่าโดยปริยาย ค่าโดยปริยาย (Default) เป็นค่าที่กาหนดให้เป็นค่าเริ่มต้นสาหรับเขตข้อ มูลนั้น ข้อมูลเกือบทุกชนิดมี การกาหนดค่าโดยปริยายไว้ ยกเว้นแบบจานวนนับ และแบบวัตถุเชื่อมต่อหรือผัง ค่าโดยปริยายนี้จะถูกแสดง ในทุก ๆ ระเบียน เมื่อเราใส่ข้อมูลในระเบียน และใส่ถึงเขตข้อมูลที่กาหนดค่าโดยปริยายไว้ จะมีค่าโดยปริยาย แสดงโดยอัตโนมัติ เช่น กาหนดค่าโดยปริยายของเขตข้อมูลชื่อ Changwad เป็นกรุงเทพมหานคร เมื่อใส่ ข้อมูลบางระเบียนที่นักเรียนมีภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดชลบุรี ก็ต้องพิมพ์ว่า ชลบุรี แทนค่าโดยปริยาย โปรแกรม ไมโครซอฟต์แอกเซสจะกาหนดค่าโดยปริยายสาหรับเขตข้อมูลตัวเลขหรือตัวเลขทางการเงินเป็นศูนย์โดย อัตโนมัติ แต่สามารถกาหนดโดยปริยายใหม่ได้ กฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล เขตข้อมูลทุกเขตข้อมูลอาจกาหนดกฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล (Validation Rule) ได้ทั้งนี้เพื่อ ทดสอบความเป็นไปได้ของข้อมูล เช่น กาหนดเขตข้อมูลหนึ่งแทนเพศ ซึ่งมีเพศชาย และเพศหญิง ข้อมูลที่ เป็นไปได้คือ ชายหรือหญิง หากใส่ข้อมูลที่ไม่ใช่ ชายหรือหญิง ก็จะผิด กรณีนี้จะกาหนดค่าที่ยอมรับได้ดังนี้ “ชาย” OR “หญิง” การกาหนดคาอธิบายความสมเหตุสมผล คุณสมบัติข้อนี้จะใช้ร่วมกับการกาหนดกฎเกณฑ์ของความสมเหตุสมผล ในการกรอกข้อมูลในเขต ข้อมูลเพศ เป็น “ชาย” หรือ “หญิง” ถ้ากรอกข้อมูลผิด โดยข้อมูลที่กรอกมิใช่ ชาย หรือ หญิง ก็จะมีหน้าต่าง แสดงคาอธิบายความสมเหตุสมผล ว่า ข้อมูลที่กรอกจะต้องเป็นชาย หรือ หญิง เท่านั้น การบังคับให้ใส่ข้อมูล ถ้าต้องการบังคับ (Required) ให้ใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลใดทุกระเบียน ให้กาหนดคุณสมบัติบังคับของ Required สาหรับเขตข้อมูลนั้นเป็น Yes ซึ่งจะทาให้โปรแกรมไม่ยอมรับการปล่อยให้เขตข้อมูลนั้นเป็นค่าว่าง เช่น บังคับว่าต้องใส่ชื่อและนามสกุลของนักเรียนก่อนการบันทึกระเบียนนั้น หากพยายามที่จะบันทึกตาราง โดยไม่ใส่ข้อมูล โปรแกรมจะแสดงข้อความบอกให้ทราบและไม่ยอมบันทึกตาราง จนกว่าจะมีการใส่ข้อมูลที่ ต้องการ การยอมรับให้เว้นว่าง
  • 6. ในการบังคับให้ใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลชนิดข้อความหรือความจา หากต้องการยอมรับให้เว้นว่าง (Allow Zero Length) ข้อมูลในเขตข้อมูลให้กาหนด เป็น Yes คุณสมบัตินี้เป็นการกาหนดว่า เขตข้อมูลนั้นสามารถใส่ ข้อมูลที่เป็นที่ว่างได้ เช่น กรอกข้อมูลโดยเคาะแป้น space bar โดยที่ค่าข้อความไม่มีอักษรใดเลย และ โปรแกรมยอมรับ การใส่ข้อมูลในเขตข้อมูลความจา ถ้าต้องการใส่ข้อมูลหรือแก้ไขข้อมูลในเขตข้อมูลความจาก็ทาได้เช่นเดียวกับข้อมูลชนิดข้อความ แต่ สามารถใส่ข้อมูลได้มากกว่า ในกรณีที่ต้องการให้ขยายความกว้าง เพื่อความสะดวกในการกรอกข้อมูล ต้องกด แป้น Shift ค้างไว้แล้วกดแป้น F2 เมื่อกรอกข้อมูลบรรทัดแรกแล้ว ถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ ต้องกดแป้น Ctrl และ Enter พร้อมกัน ถ้ากดแป้น Enter อย่างเดียว จะไปที่เขตข้อมูลถัดไป มิใช่เป็นการเริ่มต้นย่อหน้า ใหม่แต่อย่างใด การเปลี่ยนชื่อตาราง เราอาจเปลี่ยนชื่อตารางได้ แต่มีการสร้างแบบฟอร์มหรือรายการที่ใช้ตารางนั้น ต้องคานึงถึง ความสัมพันธ์ด้วย การเปลี่ยนชื่อตารางทาได้ดังนี้ 1) เปิดหน้าต่างฐานข้อมูล 2) คลิกที่ Table และเลือกชื่อตารางที่ต้องการเปลี่ยน 3) เลือกเมนู File และคาสั่ง Rename 4) พิมพ์ชื่อตารางใหม่ 5) คลิกปุ่ม OK การลบตาราง ขั้นตอนการลบตาราง คือ 1) เปิดหน้าต่างฐานข้อมูล 2) คลิกที่ Table และเลือกชื่อตารางที่ต้องการลบ 3) เลือกเมนู Edit แล้วใช้คาสั่ง delete ตัวอย่างการกาหนดการกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ตาราง Member เขตข้อมูลลาดับที่ ชื่อเขตข้อมูล ชนิดของข้อมูล รายละเอียด 1 ID Text รหัสสมาชิก 2 Name Text ชื่อสมาชิก 3 Numcopy Number จานวนหนังสือ 4 Roomno Text ที่อยู่ในโรงเรียน ตาราง Book Title
  • 7. เขตข้อมูลลาดับที่ ชื่อเขตข้อมูล ชนิดของข้อมูล รายละเอียด 1 Regno Text เลขทะเบียนหนังสือ 2 Title Text ชื่อหนังสือ 3 Avcopy Number จานวนหนังสือซ้า ตาราง Book Service เขตข้อมูลลาดับที่ ชื่อเขตข้อมูล ชนิดของข้อมูล รายละเอียด 1 ID Text รหัสสมาชิก 2 Regno Text เลขทะเบียนหนังสือ 3 DateBrw Date/Time วันที่ยืม 4 Datedue Date/Time วันครบกาหนดส่งคืน ที่มา http://www.lks.ac.th/anchalee/base_plan/ หลักการสร้างตารางจัดเก็บข้อมูลใน Access 2010 การเริ่มทางานในฐานข้อมูลอันดับแรกที่เราต้องมาทาความรู้จักกันก็คือ เรื่องของการสร้าง และจัดการตารางข้อมูล ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบหลักของฐานข้อมูล โดยในที่นี้เราจะมาทาความรู้จักกับหลักการสร้างตารางกันก่อน หลักการสร้างตาราง 1. ในตารางหนึ่ง ๆ นั้น จะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลประเภทเดียวกัน เช่น ตารางรายการสินค้า ก็จะจัดเก็บเฉพาะ ข้อมูลของสินค้าเท่านั้น ไม่จัดเก็บข้อมูลประเภทอื่น 2. ไม่ควรสร้างฟิลด์เพื่อเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ เพราะอาจจะทาให้ข้อมูลไม่สอดคล้องกัน 3. ไม่ควรสร้างฟิลด์จัดเก็บข้อมูลที่ต้องป้อนข้อมูลที่ซ้ากัน การกาหนดโครงสร้างตาราง 1. ให้กาหนดว่าในตารางนั้นจะต้องประกอบไปด้วยฟิลด์ข้อมูลอะไรบ้าง เช่น ถ้าเป็นตารางข้อมูลลูกค้า ในตาราง จะต้องประกอบไปด้วยฟิลด์ข้อมูลชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และอีเมลของลูกค้า เป็นต้น 2. กาหนดชนิดข้อมูลให้กบแต่ละฟิลด์ เช่น กาหนดให้ฟลด์ชื่อ และที่อยู่ของลูกค้าเป็นฟิลด์แบบข้อความ เป็นต้น ั ิ 3. กาหนดขนาดของแต่ละฟิลด์ด้วยว่า จัดเก็บข้อมูลสูงสุดได้เท่าไหร่ เช่น ฟิลด์รายชื่อลูกค้า กาหนดให้เก็บข้อมูลได้ไม่ เกิน 50 ตัวอักษร เป็นต้น 4. กาหนดฟิลด์ที่เป็นคีย์หลักของตาราง ซึ่งต้องไม่มีข้อมูลทีซ้ากันโดยเด็ดขาด เช่น ฟิลด์รายการสินค้า ต้องไม่มี ่ รหัสสินค้าที่ซ้ากัน
  • 8. การสร้างตารางข้อมูลในมุมมอง Design ของ Access 2010 เป็นการสร้างตารางข้อมูลที่ผู้สร้างจะต้องกาหนดรายละเอียดทั้งหมดของตาราง ไม่ว่าจะเป็นการกาหนดฟิลด์ การกาหนดชนิดของข้อมูล เป็นต้น ซึ่งการสร้างตารางในมุมมอง Design นั้น มีวิธีการดังนี้ วิธีการสร้างตารางข้อมูลในมุมมอง Design 1. เปิดฐานข้อมูลที่ได้สร้างไว้ขึ้นมา แล้วคลิกแท็บ สร้าง (Create) 2. คลิกแท็บไอคอน ออกแบบตาราง (Table Design) 3. กาหนดชื่อฟิลด์ที่ต้องการ 4. กาหนดชนิดของข้อมูล 5. กาหนดขนาดของฟิลด์ ทีมา http://www.com5dow.com/การใช้งาน-Microsoft Access 2010.html ่ การกาหนดคุณสมบัติของ เขตข้อมูล (Field) ด้วย คุณสมบัติเขตข้อมูล (Field Properties) ชนิดข้อมูล การเก็บข้อมูลใน Microsoft Access นั้นจะต้องมีการกาหนดชนิดข้อมูลที่จะเก็บให้ถูกต้องด้วยมิฉะนั้นแล้ว จะได้ข้อมูลที่ผดพลาดหรืออาจนาข้อมูลนั้นมาใช้งานไม่ได้เช่น ตัวเลขถ้ามีการกาหนดให้ฟลด์ข้อมูลที่เป็นตัวเลข นั้น ิ ิ เก็บชนิดเป็น Text หรือตัวอักษร เมื่อมีการป้อนข้อมูลตัวเลขลงไปจะไม่สามารถนาตัวเลขนั้นไปคานวณได้ สาหรับชนิดข้อมูลของ Microsoft Access มีดังนี้ ชนิดข้อมูล รายละเอียด Text ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือรวมกันทั้งตัวอักษรและตัวเลข ซึ่งสามารถเก็บได้ถึง 255 ตัวอักษร
  • 9. Memo ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรที่ต้องการความยาว ซึ่งสามารถเก็บได้ถง 65,535 ตัวอักษร ึ Number ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขซึ่งสามารถนาไปคานวณได้ Date/Time ใช้เก็บข้อมูลที่เป็น วันที่, เวลา หรือทั้ง วันที่และเวลา ใช้พื้นที่ 8 byte Currency ใช้เก็บตัวเลข และสัญลักษณ์ของสกุลเงิน ใช้พื้นที่ 8 byte AutoNumber ใช้กาหนดตัวเลขที่ระบบจะกาหนดให้ อัตโนมัติ ซึ่งในแต่ละ record จะมีค่าไม่ซ้ากัน ใช้พื้นที่ประมาณ 4 byte (จะใช้ 16 byte ถ้าเลือกเป็น Replication ID) Yes/No จะเก็บค่าทางตรรกศาสตร์ คือเก็บเพียงหนึ่งค่าจากทั้งหมดสองค่า เช่น Yes หรือ No, True หรือ False, On หรือ Off ใช้พื้นที่ 1 bit OLE Object ใช้เก็บภาพ กราฟ หรือเสียง ซึ่งสามารถเก็บได้ถึง 1 GB Hyperlink ใช้เก็บตัวอักษรหรือทั้งตัวเลขและ ตัวอักษร เพื่อใช้เชื่อมโยงไปยังแฟ้มข้อมูลในเครื่อง หรือแฟ้มข้อมูล ในระบบเครือข่าย หรือเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจบนอินเทอร์เน็ต Lookup Wizard ใช้สร้าง Field ที่ยอมให้นาค่าจากตารางข้อมูลอื่นมาใช้ ขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ของข้อมูลแบบ Number ในกรณีที่มีการกาหนด Field ใด ๆ เป็นแบบ ตัวเลข (Number) จะต้องกาหนดขนาดของเขตข้อมูล (Field Size) ของตัวเลขให้ตรงตามทีต้องการด้วยซึ่ง ่ แบบของ Field Size แต่ละชนิดจะแตกต่างกันที่ขอบเขตตัวเลขที่สามารถเก็บได้ในแต่ละ Field ชนิดตัวเลข ช่วงข้อมูล ความละเอียดทศนิยม ขนาดที่เก็บ Byte 0 to 255 - 1 bytes Integer -32,768 to 32,767 - 2 bytes Long Integer –2,147,483,648 to 2,147,483,647 - 4 bytes Single -3.4 x 1038 to 3.4 x 1038 7 4 bytes Double -1.797 x 10308 to 1.797 x 10308 15 8 bytes รูปแบบ (Format) ใช้กาหนดรูปแบบในการแสดงผลข้อมูลแบบ Text, Memo, Number, Currency และ Data/Time ซึ่งมีทั้งที่เป็นรูปแบบสาเร็จของ Access และรูปแบบทีเ่ รากาหนดขึ้นใช้เองตามความเหมาะสม รูปแบบ ข้อมูลที่ป้อน การแสดงผล จานวนทศนิยม , ตัวคั้นทุก 3 หลัก General -1234.789 1234.789 -1234.789 1234.789 เหมือนข้อมูลที่ป้อน ไม่มี Currency -1234.789 1234.789 - 2 มี $1,234.79 $1,234.79 Euro -1234.789 1234.789 - 2 มี €1,234.79 €1,234.79
  • 10. Fixed 1234.789 1235.79 2 ไม่มี Standard 1234.789 1,234.79 2 มี Percent 0.07153 5 7.15% 500.00% 2 ไม่มี Scientific 1234.789 1.23E+03 2 ไม่มี รูปแบบสาเร็จที่ใช้กับข้อมูลชนิด Date/Time รูปแบบ ตัวอย่างการแสดงผล General Date 19/6/02 Long Date 19 June 2002,19 มิถุนายน 2545 Medium Date 19-Jun-02 ,19-มิ.ย-45 Short Data 19/6/02 Long Time 17:34:23 Medium Time 5:34 PM Short Time 17:34 รูปแบบสาเร็จที่ใช้กับข้อมูลชนิด Yes/No เราสามารถกาหนดให้ข้อมูลชนิด Yes/No แสดงรูปแบบเป็น Yes / No , True / Falseหรือ On / Off ได้ ถ้าไม่กาหนดรูปแบบ Access จะแสดงค่าตัวเลขทางตรรกะ คือ -1 สาหรับ Yes และ 0 สาหรับ No รูปแบบ ค่าปกติที่เก็บ ค่าทางตรรกะ Yes/No Yes Yes= -1, No=0 True/False True True= -1, False=0 On/Off On On= -1, Off=0 รูปแบบที่ผู้ใช้กาหนดเอง สัญลักษณ์ที่ใช้ได้กับรูปแบบของข้อมูลทุกชนิด “” ใช้แสดงข้อความต่างๆ โดยพิมพ์ขอความนั้นในเครื่องหมาย “” ้ ช่องว่าง ให้เว้นวรรคหนึ่งตัวอักษร ! ให้แสดงข้อมูลในฟิลด์นั้นชิดขวาแทนการชิดซ้ายตามปกติ * ให้ใส่ตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้แทนช่องว่างที่อยู่ใน Field นั้น ให้แสดงตัวอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้
  • 11. [Color] แสดงสีตามที่กาหนดไว้ในวงเล็บซึงได้แก่ Black , Blue, Green, Cyan ,Red, Magenta, Yellow, White ่ สัญลักษณ์ที่ใช้ในรูปแบบที่กาหนดองสาหรับข้อมูลชนิด Number และ Currency สัญลักษณ์ การใช้ . (จุด) ใช้แทนจุดทศนิยม , (จุลภาค) ใช้คั่นตัวเลขทุก 3 หลัก 0 (ศูนย์) ใช้แทนตัวเลขหนึ่งตัว ถ้าไม่มีตัวเลขที่ตาแหน่งนั้นจะแสดงเป็น 0 # ใช้แสดงแทนตัวเลขหนึ่งตัว ถ้าไม่มีตัวเลขจะไม่แสดงให้เห็น $ แสดงสัญลักษณ์สกุลเงิน $ % คูณค่าตัวเลขที่มีอยูด้วย 100 และแสดงเครื่องหมาย % ต่อท้ายตัวเลข ่ E- หรือ e- แสดงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบยกกาลังติดลบเช่น 10E-10 หมายถึง 10 X E-10 E+ หรือ e+ แสดงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบยกกาลังเต็มบวกเช่น 10E+10 หมายถึง 10 X E10 ; ใช้แยกรูปแบบต่างๆ ที่กาหนดไว้ออกจากกัน “” ใช้แสดงข้อความต่างๆ โดยพิมพ์ขอความนั้นไว้ในเครื่องหมาย “” ้ ที่มา http://www.comsrt.net63.net/7FieldProperties.htm