SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ

             การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญในชีวิตประจาวันและเป็นหัวใจของการเรียนรู้ ซึ่ง
ไม่ว่าจะเป็นครู นักเรียน เด็กหรือผู้ใหญ่ จะต้องอ่านออกเขียนได้ เพราะการอ่านจะทาให้ได้รับ
ความรู้ ความเพลิดเพลิน ก่อให้ความเข้าใจ แนวคิด อารมณ์ จินตนาการ และมีบทบาทสูงสุดใน
การศึกษาเล่าเรียน
             1. ความหมายของการอ่าน
                 นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการอ่านไว้หลายประการดังนี้
                 แม็คเคย์ (Mckay, 1987: 7) กล่าวว่า การอ่าน คือ กระบวนการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่านกับสิ่งที่อ่าน ผู้อ่านใช้ ความรู้เดิมที่มีอยู่ในการทาความเข้าใจเรื่องที่
อ่าน กระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยความสามารถด้านความคิด ความรู้เดิม และกลวิธีในการ
อ่านของผู้อ่าน
                 รูบิน (Rubin, 1991: 7) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า การอ่าน คือ การเสนอ
ความหมาย และการรับรู้ความหมายจากสิ่งที่อ่า น โดยผู้อ่านนาเอาความรู้ ประสบการณ์ตลอดจน
ความรู้สึกของตนมาใช้ในการทาความเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน
                 โคแนร์ (Konare, 1994: 30) กล่าวว่า การอ่าน คือ ข้อเท็จจริงสองประการได้แก่
กระบวนการซึ่งหมายถึงความเข้าใจ และผลที่ได้จากกระบวนการนั้นซึ่งหมายถึงความเข้าใจ
                 นัทเทิล (Nuttal, 1996: 2) กล่าวถึงความหมายของการอ่านว่า การอ่าน คือ
ความสามารถของผู้อ่านที่จะดึงเอาความหมายหรือใจความสาคัญของบทอ่านออกมาให้ได้
ใกล้เคียงกับเจตนารมณ์ของผู้เขียนให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
                 สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 1) กล่าวว่า การอ่านคือการสื่อความหมายเป็นการสื่
ความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบกับผู้อื่นด้วยการสื่อ
ความหมายในการอ่านนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่างคือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน (สิ่งที่ได้
อ่านมาแล้วหรือปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการอ่านนั้นๆ)
                 บันลือ พฤกษะวัน (2545: 6) ยังได้ให้ความหมายของการไว้อีกว่าการอ่านเป็น
การพัฒนาความคิด โดยผู้อ่านใช้ความสามารถหลายๆ ด้าน นับตั้งแต่การสังเกต การจารูปคา
การใช้ความรู้เดิมมาแปลความ ตีความหรือถอดความให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ดี
ตลอดจนนาสิ่งที่อ่านมาใช้ประโยชน์เป็นแนวคิดแนวปฏิบัติได้ดี
                 ดังนั้นสรุปได้ว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการถอดรหัส แปลความหมายหรือ
เรื่องราวออกมาเป็นความคิด เป็นกระบวนการทางสมองที่ซับซ้อน และสามารถสรุปเรื่องราวและ
ประเมินผลสิ่งที่อ่านได้ ซึ่งจะประสบผลสาเร็จในการอ่านหรื อไม่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้อ่าน
             2. ความสาคัญของการอ่าน
ปัจจุบันการที่จะพัฒนาตนเอง ประเทศ หรือชาติ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้
ความสามารถในด้านการอ่าน ซึ่งผู้ที่อ่านออกเขียนได้จะได้เปรียบในหลายๆ ด้าน ทั้งการเรียนการ
สอน การใช้ชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นสังคมที่ยอมรับบุคคลที่มีศักยภาพและความสามารถ ดังนั้นจึงได้
มีผู้ให้ความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้
                   สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545: 1) กล่าวว่า การอ่าน เป็นวิธีการที่สาคัญวิธีหนึ่งที่
มนุษย์ใช้ศึกษาหาความรู้ให้แก่ตนเองตลอดมา การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญที่ใช้ใ นการเสาะแสวง
หาความรู้ การรู้และใช้วิธีอ่านที่ถูกต้องจึงจาเป็นสาหรับผู้อ่านทุกคน การรู้จักฝึกฝน อ่านอย่าง
สม่าเสมอ จะช่วยให้เกิดความชานาญและมีความรู้กว้างขวางด้วย
                   สุพรรณี วราทร (2545: 21) ได้กล่าวว่า การอ่านเป็นวิธีสาคัญในการเสริมสร้าง
ความรู้ความชานาญทางวิชาชีพ ช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้ เกิดการพัฒนาด้านอาชีพ เกิด
ความคิดและแนวทางใหม่ในการปฏิบัติซึ่งนาไปสู้การปรับปรุงผลผลิตทาให้การพัฒนาด้านต่างๆ
มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                   มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 19) ได้ว่า การอ่านช่วยให้คนเราได้คาตอบจาก
ปัญหาที่ต้องการแก้ หรือปัญหาที่ค้างคาอยู่ในใจไม่ว่าจะทั้งทางตรงและทางอ้อม จึงทาให้เป็นผู้ที่
สามารถแก้ปัญหาต่างๆ รอบด้านได้ด้วยตนเอง การอ่านที่สาคัญทาให้คนมีความคิดกว้างไกลและ
มีวิสัยทัศน์ เนื่องจากการอ่านเป็นการจุดประกายความคิดของผู้อ่าน ทาให้เกิดพัฒนาการทาง
สติปัญญา ด้วยการนาความรู้ได้จากการอ่านไปบูรณาการกับความคิดของตนเองเกิดเป็นความคิด
ใหม่ในการพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นไปอีก
                   สรุปได้ว่า ความสาคัญของการอ่านเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ต่างๆ และต้องฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้ มีความคิดกว้างไกล
และมีวิสัยทัศน์ไกล มีความรอบรู้ ซึ่งนาไปสู้ความสาเร็จต่อไปในอนาคต
              3. ความมุ่งหมายในการอ่าน
                   การอ่านนั้นไม่ว่าจะเป็นการอ่านประเภทใดก็ตาม จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี
เป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายในการอ่าน ซึ่งผู้อ่านจะต้องตั้งไว้ เพื่อจะช่วยให้การอ่านของผู้อ่านมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี ซึ่งจุดมุ่งหมายการอ่านของแต่ละคนจะมีความแตกต่างกันไปซึ่ง
มีผู้กล่าวถึงความมุ่งหมายของการอ่านไว้แตกต่างกันดังนี้
                   เกรลเล็ท (Grellet, 1995: 4) ได้แบ่งประเภทความเข้าใจการอ่านไว้เป็น 4
ประเภท ดังนี้คือ
                   1. การอ่านแบบคร่าวๆ (Skimming) เป็นการอ่านแบบกวาดสายตาไปอย่าง
รวดเร็ว เพื่อหาใจความสาคัญ
                   2. การอ่านแบบเฉพาะจุด (Scanning) เป็นลักษณะการอ่านเร็วอีกแบบหนึ่งใช้ใน
การหาข้อมูลที่ต้องการ
3. การอ่านอย่างกว้างๆ (Extensive Reading) ใช้อ่านกับข้อความที่ค่อยข้างยาว
และตามความสนใจที่ผู้อ่านจะต้องใช้ความรู้รอบตัวมาช่วยประกอบการอ่าน
                       4. การอ่านอย่างเข้ม (Intensive Reading) ใช้กับการอ่านเรื่องสั้นๆ เพื่อเป็นการ
อ่านหาข้อมูลอย่างละเอียด
                       วรรณี โสมประยูร (2539: 127-128) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นในการ
ดารงชีวิต การอ่านแต่ละครั้งจะมีความมุ่งหมายแตกต่างกันออกไป ถ้าผู้อ่านตั้งจุดมุ่งหมายในการ
อ่านแต่ละครั้งไว้ จะช่วยให้การอ่านมีประสิทธิภาพสูง จากประสบการณ์ที่ผู้เขียนได้ทดลองปฏิบัติ
และทดลองสอนมาแล้ว จุดมุ่งหมายที่เคยตั้งไว้ มีดังนี้
                       1. การอ่านเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม เช่น อ่านตารา อ่านบทความ
                       2. การอ่านเพื่อความบันเทิง เช่น อ่านนวนิยาย อ่านการ์ตูน อ่านวรรณคดี
                       3. การอ่านเพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือประเภทชวนหัว
                       4. การอ่านเพื่อหารายละเอียดของเรื่อง เช่น อ่านสารคดี อ่านประวัติศาสตร์
                       5. การอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์จากข้อมูลที่ได้ เช่น การอ่านข่าว
                       6. การอ่านเพื่อหาประเด็นว่าส่วนในเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นของจริง เช่น การ
คาโฆษณาต่างๆ
                       7. การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านบทความในวารสาร
                       8. การอ่านเพื่อปฏิบัติตาม เช่น อ่านคาสั่ง อ่านคาแนะนา อ่านคู่มือการใช้เครื่อง
ไฟฟ้า
                       9. การอ่านเพื่อออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน มีน้าเสียงเหมาะกับเนื้อเรื่องและ
เหมือนกับพูด เช่น อ่านบทละครต่างๆ
                       สุพรรณี วราทร (2545: 36-38) กล่าวว่า การรู้ความมุ่งหมายในการอ่านเป็น
องค์ประกอบประการหนึ่งของทักษะการอ่านเร็ว การอ่านเพื่อได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ ผู้อ่าน
ควรรู้ว่าอ่านเพื่ออะไร และต้องการอะไรจากการอ่าน การรู้ความมุ่งหมายในการอ่านนอกจากช่วย
ให้มสมาธิ ซึ่งจะทาให้อ่านได้เร็วและจาได้ด้วยแล้ว ในเบื้องต้นยังช่วยในการเลือกสรรสื่อการอ่าน
        ี
เพื่ออ่านด้วย ความมุ่งหมายในการอ่านที่สาคัญ ได้แก่
                       1. อ่านเพื่อความรู้ คือ การอ่านที่ครอบคลุมตั้งแต่เรื่องที่มีความสาคัญจาเป็นต้อง
รู้ เรื่องที่รู้แล้วเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ไปจนถึงเรื่องที่มีความสาคัญจาเป็นต้องรู้ เรื่องที่รู้แล้วเกิด
ประโยชน์อย่างยิ่ง ไปจนถึงเรื่องที่อ่านเพื่อเสริมความรู้ การอ่านเพื่อความรู้มีหลายลักษณะ เช่น
                           1.1 อ่านเพื่อหาคาตอบในเรื่องที่ต้องการรู้ เช่น การอ่านคู่มือ คาแนะนา กฎ
ระเบียนต่างๆ ตารา และหนังสืออ้างอิง เป็นต้น
                           1.2 การอ่านเพื่อรู้ข่าวสารและเป็นข้อมูล เช่น การอ่านเพื่อหนังสือพิมพ์
วารสาร เอกสารโฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
1.3 การอ่านเพื่อประมวลสาระ ได้แก่ การอ่านเอกสาร วารสาร และหนังสือ
ต่างๆ เพื่อได้รู้ในเรื่องที่ต้องการรู้
                         การอ่านเพื่อความรู้นอกจากสนองความต้องการของผู้อ่านเองแล้วยังมี
ประโยชน์อื่นๆ อีก เนื่องจากการเป็นผู้มีความรู้ และติดตามข้อมูลข่าวสารทันสมัย ทาให้เกิดมั่นใจ
และสร้างความประทับใจที่ดีแก่ผู้อื่น นอกจากนี้ความรู้ได้ที่รับอาจเป็นประโยชน์ในการประกอบ
อาชีพและชีวิตประจาได้อีกด้วย
                   2. อ่านเพื่อศึกษา เป็นการอ่านอย่างจริงจัง เพื่อได้สาระและข้อเท็จจริงจน
เกิดความเข้าใจ เช่น การอ่านตารา และหนังสือวิชาการต่างๆ
                   3. การอ่านเพื่อความคิด หมายถึง การอ่านเพื่อเข้าใจสาระสาคัญหรือแนวคิด
ของเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปปฏิบัติ หรือเป็นแนวทางสาหรั บริเริ่มสิ่งต่างๆ การอ่านเพื่อให้ได้ความคิด
ได้จากการอ่านหนังสือทุกประเภท
                   4. อ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ หมายถึง การอ่านเพื่อรู้และเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่าง
ลึกซึ้ง จนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านในด้านต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล เช่น การ
อ่านบทความ วรรณคดี ข่าว และหนังสือต่างๆ เป็นต้น
                   5. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เป็นการอ่านเพื่อพักผ่อนหรือเปลี่ยนแปลงกิจกรรม
เพื่อให้เกิดความรื่นรมย์ หรือคลายความรื่นรมย์ หรือคลายความทุกข์ การอ่านเพื่อความ
เพลิดเพลินได้จากการอ่านหนังสือทุกประเภทที่ผู้อ่านพอใจแต่ไม่ควรเป็ นเรื่องยาก ซับซ้อน หรือ
เป็นวิชาการที่ต้องใช้ความคิดมาก
                   6. อ่านเพื่อใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การอ่านไม่ได้มุ่งหวังสิ่งใด
โดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เวลาว่างที่จะต้องเสียไปให้เกิดประโยชน์ เช่น การอ่านนิตยาสาร ขณะรอ
คอยกิจกรรมต่างๆ สื่อการอ่านที่เหมาะสมสาหรับการอ่านเพื่อใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ ได้แก่
บันเทิงคดีหรือสารคดีที่แบ่งเนื้อหาเป็นบทหรือตอนสั้นๆ เนื่องจากสามารถหยุดอ่านได้เป็นช่วงๆ
โดยไม่ทาให้เสียความต่อเนื่องในการอ่าน
                   สรุปว่า จุดมุ่งหมายในการอ่าน คือ เป้าหมายก่อนการอ่านที่จะต้องตั้งใจไว้ว่า
ต้องการอ่านหนังสือเพื่ออะไร ซึ่งจุดมุ่งหมายของการอ่านจะมีแตกต่างกันไปไม่ว่าจะเป็น เพื่อหา
ความรู้ อ่านเพื่อหารายละเอียด อ่านเพื่อรู้ข่าวสาระและข้อมูล อ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ อ่านเพื่อ
ความบันเทิง การอ่านเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งการอ่านในแต่ละประเด็นนั้นขึ้ นอยู่กับ
วัตถุประสงค์และความต้องการและความสามารถของผู้อ่าน
               4. การอ่านเพื่อความเข้าใจ
                   การอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด และเป็นหัวใจของการอ่านทุกชนิด
ดังนั้นหากผู้เรียนไม่เข้าใจความหมายที่ผู้เขียนถ่ายทอดเอาไว้ในบทอ่านได้ การอ่านก็จะไม่ประสบ
ผลสาเร็จ ดังนั้นในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจ
ในการอ่านนักการศึกษาได้กล่าวถึงความเข้าใจในการอ่านไว้ ดังนี้
คาเรลล์ (Carrell, 1984: 441) กล่าวว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือความสามารถ
ในการเข้าในประโยคหรืออนุเฉท (Paragraph) โดยเฉพาะความเข้าใจรูปแบบโครงสร้าง หรือการ
เรียบเรียงของผู้เขียน
                  กันนิ่ง (Gunning, 1992: 188) อธิบายว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือ
ความสามารถในการเข้าใจความหมายของคาและภาษาที่ผู้เขียนใช้ในการสื่อสาร ซึ่งถือได้ว่าเป็น
วัตถุประสงค์หลักของการอ่าน
                  สุพรรณี วราทร (2545: 31) กล่าวว่า การอ่านช้าหรือเร็วจะไม่เกิดประโยชน์เลย
หากผู้อ่านไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่าน ความไม่เข้าใจสิ่งที่อ่านมีสาเหตุหลายประการ สาเหตุ
สาคัญนอกเหนือจากการขาดความรู้พื้นฐานในเรื่องที่อ่าน ได้แก่ การขาดความตั้งใจหรื อไม่มีสมาธิ
ในการอ่าน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความขัดแย้งทางอารมณ์ของผู้อ่าน ทาให้สมองไม่รับสิ่งที่กาลัง
อ่านจึงอ่านไม่รู้เรื่อง การพัฒนาตนเองให้สามารถอ่านโดยเข้าใจเรื่องที่อ่านทาได้โดยสร้างสมาธิใน
การอ่าน รู้ศัพท์และสานวนภาษา และมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่ อ่าน
                  สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 73) ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าคือ
ความสามารถที่จะอนุมานข้อสนเทศหรือความหมายอันพึงประสงค์จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ความเข้าใจนี้เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ
การศึกษาและประสบการณ์ต่างๆ หลายๆ ด้านของแต่ละคนถือเป็นองค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของ
การอ่าน ถ้าอ่านแล้วไม่เกิดความเข้าใจใดๆ เลยก็อาจจะกล่าวได้ว่าการอ่านที่แท้จริงยังไม่เกิดขึ้น
และการอ่านในลักษณะนี้จึงเป็นได้แค่เพียงเห็นตัวหนังสือปรากฏอยู่บนหน้ากระดาษเท่านั้น ไม่สื่ อ
ความหมายอะไรทั้งสิ้น นอกจากจะทาให้เสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์แล้วยังไม่ได้อะไรจากการ
อ่านนั้นอีกด้วย
                  สรุปได้ว่า ในการอ่านนั้นผู้อ่านจะต้องเข้าใจข้อความในระดับต่างๆ ซึ่งเริ่มจากคา
วลี ประโยค และเรื่องราวที่ต่อเนื่องกัน สามารถทาความเข้าใจบอกเรื่องราวของเรื่องที่อ่านจับ
ใจความสาคัญ บอกรายละเอียดของเรื่อง สรุปความคิดเห็นและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
แปลความ อธิบายความหมาย จากเรื่องราวที่อ่านได้
              5. องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจ
                  การอ่านเพื่อความเข้าใจถือว่าเป็นเป้าหมายสาคัญ เนื่องจากจุดมุ่งหมายของการ
อ่านก็คือเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจข้อความที่ผู้เขียนต้องการสื่อความหมาย ดังนั้นในการพัฒนา
ความสามารถด้านการอ่านจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการอ่าน นัก
การศึกษาได้กล่าวถึง องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้
                  แฮริส และซิเพย์ (Harris & Sipay, 1979: 319) กล่าวว่า องค์ประกอบสาคัญที่สุด
ของการอ่านมีดังนี้
                  1. สติปัญญาทั่วไป (General Intelligence) ในด้านความสามารถในการคิด
(Ability of Thinking) การให้เหตุผล (Reason Giving) การแก้ปัญหา (Problem Solving)
2. ความสามารถของผู้อ่านเกี่ยวกั บคาศัพท์ ความสามารถในการแปลรหัส
ความสามารถในการรวมความหมายเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจ ความสามารถทางโครงสร้างภาษา
วุฒิภาวะ (Maturity) พื้นฐานและประสบการณ์ (Background and Experience) ความสนใจ
(Interest) และรูปแบบการเขียน (Style) ของผู้เขียนแต่ละคน
                  ลันเซอร์ และการ์ดเนอร์ (Lunzer & Gardner, 1981: 66-67) กล่าวถึง
ความสามารถในการอ่านไว้ว่าความสามารถในการอ่าน จะต้องประกอบด้วยสามารถในด้าน
ต่อไปนี้
                  1. ความสามารถด้านภาษาและตัวหนังสือ ได้แก่ ความสามารถในการที่จะเข้าใจ
ความหมายของคาใหม่ๆ จากบริบท ความสามารถที่จะเข้าใจโครงสร้างของประโยคและ
ความสามารถที่จะเข้าใจเครื่องหมายวรรคตอนและตัวพิมพ์ เป็นต้น
                  2. ความสามารถด้านความคิด ได้แก่ ความสามารถที่จะระบุจุดประสงค์ของผู้
แต่ง ความสามารถที่จะเข้าใจความคิดสาคัญ และความคิดย่อย ที่สนับสนุนความคิดสาคัญและ
ความสามารถที่จะสรุปความคิด เห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
                  3. ความสามารถในการตีความหมายจากน้าเสียงที่ผู้เขียนแสดงออก และ
สามารถที่จะระบุท่วงทานองของผู้เขียน
                  รูบิน (Rubin, 1991: 235) กล่าวว่า ความสามารถทางการอ่านนั้นขึ้นอยู่กับ
พื้นฐานต่อไปนี้
                  1. การเข้าใจความหมายของคา เป็นทักษะพื้นฐานของการอ่าน ถ้าหากนักเรียน
เรียนรู้ความหมายของคาไม่เพียงพอ นักเรียนจะไม่สามารถเข้าใจประโยค อนุเฉท และทาให้ไม่
สามารถจะอ่านหรือพูดได้
                  2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคา นักเรียนจะเข้าใจความหมายของประโยคได้
ก็ต่อเมื่อนักเรียนรู้จักอ่านเป็นกลุ่มคา การอ่านทีละคาทาให้ไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่าน
                  3. การเข้าประโยค นอกจากนักเรียนจะเข้าใจความหมายเป็นรายคาและเป็น
กลุ่มคาแล้ว นักเรียนจะต้องเห็นความสัมพันธ์ระหว่างคาและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคาใน
ประโยคด้วย นักเรียนที่ไม่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างคา และระหว่างกลุ่มคาประโยค
จะไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน
                  4. การเข้าใจอนุเฉท นักเรียนจะเข้าใจอนุเฉทได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนมองเห็น
ความสัมพันธ์ระหว่างประโยคในอนุเฉท การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประโยคค่อยข้างจะยาก
แต่ถ้านักเรียนขาดความสามารถทางด้านนี้แล้วนักเรียนจะไม่ สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้
                  5. การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉท (Comprehension of Larger Unit)
นักเรียนจะไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่ยาวขึ้นได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนสามารถจัดลาดับความคิดของเรื่องที่
อ่านได้ และต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทด้วย
สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 74) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของความเข้าใจในการ
อ่านที่สาคัญๆ ดังนี้
                 1. สามารถจดจาเรื่องราวส่วนใหญ่ที่อ่านมาแล้วได้ เมื่อถึงคราวจาเป็นที่ต้องการ
จะใช้ประโยชน์หรืออ้างอิงถึงก็ทาได้โดยไม่ยาก
                 2. สามารถจับใจความสาคัญๆ ได้ สามารถแยกแยะหรือระบุ ประเด็นหลักออก
จากประเด็นย่อยที่ไม่จาเป็นหรือไม่สาคัญมากนักได้ สามารถประเมินได้ว่าอะไรบ้างที่ควรจะสนใจ
เป็นพิเศษ หรือตัดทิ้งไปได้
                 3. สามารถตีความเกี่ยวกับเรื่องราวหรือข้อคิดเห็นที่อ่านมาแล้วได้ว่ามีนับสาคัญ
หรือลึกซึ่งมากน้อยเพียงใด
                 4. สามารถสรุปลงความเห็นจากสิ่งที่ได้อ่านมาแล้วอย่างถูกต้อง มีเหตุผลและ
น่าเชื่อถือ
                 5. สามารถใช้วิจารณญาณของตนพิจารณาไตร่ตรองข้อสรุป หรือการอ้างอิง
ต่างๆ ของผู้เขียนได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ ไม่สับสน
                 6. สามารถถ่ายโอนหรือประสมประสานความรู้ที่ได้จากการอ่านกับประสบการณ์
อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ
                 สรุปได้ว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ มีองค์ประกอบสาคัญหลายด้านซึ่ง
ประกอบด้วย ความสามารถทางภาษาของผู้อ่าน กระบวนการคิดในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ในขณะอ่าน เข้าใจความหมายของคา เข้าใจประโยค สามารถจับใจความและตีความโดยใช้
วิจารณญาณเกี่ยวกับเรื่องราวที่อ่าน และการเชื่อมโยงความรู้หรือความรู้เดิมกับข้อมูลที่ได้รับจาก
การอ่าน สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ และเกิดประโยชน์ตามที่ผู้อ่านแต่ละคนได้ตั้ง
จุดประสงค์ในการอ่านไว้
             6. ระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจ
                 การอ่านเพื่อความเข้าใจนั้น มีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นจึงมีนักการ
ศึกษาได้แบ่งระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้
                 ดัลแมน (Dallman, 1974: 166) ได้จาแนกระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้
                 1. ความเข้าใจในระดับข้อเท็จจริง (Literal Level) หมายถึง ความสามารถในการ
เข้าใจความหมายและเรื่องที่อ่านตามตัวอักษรที่เขียนไว้โดยตรง
                 2. ความเข้าใจในระดับตีความ (Interpretative Level) คือ ความเข้าใจ
ความหมายของเรื่องที่อ่านโดยความสามารถสรุป การตีความและการแปลความจากสิ่งที่อ่าน
                 3. ความเข้าใจในระดับการประเมินค่า (Evaluative Level) หมายถึง
ความสามารถในการประเมินค่าหรือตัดสินสิ่งที่อ่านได้โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่าน
มาพิจารณาประกอบการตัดสิน
4. ความเข้าใจระดับสร้างสรรค์ (Creative Reading) หมายถึง การค้นพบแนวคิด
และข้อสรุปใหม่ ซึ่งไม่ใช่เพิ่งการอ่านเพื่อความเข้าใจเท่านั้น
                  รูบิน (Rubin, 1991: 327) จัดระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ 4 ระดับ ดังนี้
                  1. ความเข้าใจระดับความหมายตามตัวอักษร (Literal Comprehension) เป็น
ระดับที่ผู้อ่านสามารถตอบคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่อ่านได้โดยใช้ ข้อมูลที่ปรากฏตามตัวอักษร
ในบทอ่าน
                  2. ความเข้าใจระดับตีความ (Interpret Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่านต้อง
ทาความเข้าใจในสิ่งที่ผู้เขียนไม่ได้กล่าวเอาไว้ตรงๆ หากแต่แฝงเอาไว้ในเนื้อความ
                  3. ความเข้าใจระดับวิจารณ์ (Critical Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่านต้องใช้
ความคิดเพื่อวิเคราะห์และประเมินความถูกต้อง คุณค่า และความเป็นจริงของสิ่งที่อ่าน โดยผู้อ่าน
จะต้องสามารถรวบรวม ตีความ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ และสรุปความข้อมูลที่อ่านได้
                  4. ความเข้าใจระดับสร้างสรรค์ (Creative Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่าน
ต้องใช้ทักษะการคิดแก้ปัญหา (Divergent Thinking) เพื่อเข้าใจความหมายที่ผู้เขียนนาเสนอ
เอาไว้ในบทอ่าน และสามารถแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่อ่านได้
                  สรุปได้ว่า ผู้อ่านต้องอาศัยความเข้าใจในหลายระดับโดยจะเริ่มโดยเข้าใจระดับ
ตามตัวอักษรซึ่งเข้าใจได้ทันที ความเข้าใจในระดับตีความซึ่งมีความหมายแฝงอยู่ในเนื้อความ
ความเข้าในระดับวิจารณ์ ซึ่งจะต้องใช้ความสามารถในการวิเคราะห์ระหว่างข้อเท็จจริงและความ
คิดเห็น และประเมินความถูกต้อง ผู้อ่านต้องใช้ความรู้ความสามารถ และความคิดเข้าช่วยในการ
วิเคราะห์ เมื่อเกิดความเข้าใจแล้ว ผู้อ่านต้องรู้จักอ่านขั้นตีความ จับใจความ เรียงลาดับเหตุการณ์
รู้จักเหตุผล และสรุปความได้
               7. การประเมินผลการอ่านเพื่อความเข้าใจ
                  ขั้นตอนสุดท้ายของการอ่านที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี
การวัดและประเมินผลเพื่อจะได้ทราบว่าตนเองมีความสามารถในการอ่านได้ในระดับใด เพื่อที่จะ
ได้นาเอาผลจากการประเมินมาปรับปรุง และพัฒนาตนเองต่อไป ดังนั้น
                  วาลีท และดิสิค (Valette & Disick, 1972 อ้างจาก อัจฉรา วงศ์โสธรรม 2538: 15)
กล่าวถึงการประเมินผลการอ่านประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
                  1. ขั้นกลไก คือ การอ่านออกเสียง
                  2. ขั้นความจา คือ อ่านข้อความและเข้าใจความหมายที่ได้เรียนและท่องจาไว้
                  3. ขั้นถ่ายโอน คือ การนาความรู้ความจามาใช้ในการอ่านข้อความใหม่ๆ ให้
เข้าใจ
                  4. ขั้นสื่อสาร คือ อ่านโดยเสรี เพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียดต่างๆ
                  5. ขั้นวิพากษ์วิจารณ์ คือ ผู้เรียนต้องสามารถตีความ เพื่อให้เข้าใจสิ่งที่ผู้เขียน
มิได้กล่าวถึงตรงๆ ผู้อ่านต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์และประเมินสารได้
มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 221-227) กล่าวว่า เพื่อให้การเรียนการสอน อ่าน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย ครู ควรประเมินความสามารถในการอ่านของ
นักเรียนด้านสาคัญด้านต่างๆ ทั้งก่อนอ่าน ระหว่างอ่าน และหลังอ่าน ซึ่งจะทาให้ครูทราบแนวทาง
ในการปรับปรุงแก้ไขไม่ให้เกิดปัญหาทางการอ่านที่กว้างขึ้น
                 วิธีการดาเนินการของครูในการประเมินความสามารถของนักเรียนที่สาคัญมี
ดังนี้คือ
                 1. การประเมินโดยใช้แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Informal Reading
Inventory: IRI) (ก่อนอ่าน)
                  2. การประเมินการใช้ความรู้และความรู้เดิม (ก่อนอ่านและระหว่างอ่าน)
                  3. การประเมินเพื่อตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน (หลังอ่าน)
             สรุปว่า การประเมินผลการอ่านเพื่อความเข้าใจนั้นพิจารณาได้เป็น 2 ลักษณะ
หลังจากที่สามารถเข้าใจคาศัพท์และหน้าที่ชนิดของคาแล้ว จะต้องสามารถที่จะเรียงลาดับ
ข้อความ เพื่อที่จะสามารถเชื่อมโยงเข้ากับความสัมพันธ์ระหว่างรายละเอียดในเรื่องที่อ่าน บอกชื่อ
เรื่อง และสามารถที่จะวิเคราะห์วิจารณ์ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแนวการจัดการ
เรียนการสอนที่ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางภาษาที่ครูได้จัดให้นักเรียนในขณะที่
เรียนในห้องเรียน ซึ่งในแต่ละครั้งนั้นจะต้องมีการกาหนดเป้าหมายก่อนว่าจะต้องการให้เกิดอะไร
หลังจากที่นักเรียนได้รับความรู้ไปแล้ว และตัดสินผลการจัดกิจกรรมว่าบรรลุเป้าประสงค์ที่ต้องไว้
อย่างไร ซึ่งการประเมินผลความเข้าใจในการอ่านนั้นต้องประเมินอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและเพื่อให้
มีประสิทธิภาพในการประเมินต้องมีการประเมินทั้งก่อนการอ่าน ระหว่างการอ่าน และห ลังการ
อ่าน

More Related Content

What's hot

การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นPhatchara Hongsomdee
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1Phatchara Hongsomdee
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 

What's hot (20)

การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 

Similar to เธšเธ—เธ„เธงเธ

นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านAnan Pakhing
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 

Similar to เธšเธ—เธ„เธงเธ (20)

บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 

เธšเธ—เธ„เธงเธ

  • 1. การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญในชีวิตประจาวันและเป็นหัวใจของการเรียนรู้ ซึ่ง ไม่ว่าจะเป็นครู นักเรียน เด็กหรือผู้ใหญ่ จะต้องอ่านออกเขียนได้ เพราะการอ่านจะทาให้ได้รับ ความรู้ ความเพลิดเพลิน ก่อให้ความเข้าใจ แนวคิด อารมณ์ จินตนาการ และมีบทบาทสูงสุดใน การศึกษาเล่าเรียน 1. ความหมายของการอ่าน นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการอ่านไว้หลายประการดังนี้ แม็คเคย์ (Mckay, 1987: 7) กล่าวว่า การอ่าน คือ กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่านกับสิ่งที่อ่าน ผู้อ่านใช้ ความรู้เดิมที่มีอยู่ในการทาความเข้าใจเรื่องที่ อ่าน กระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยความสามารถด้านความคิด ความรู้เดิม และกลวิธีในการ อ่านของผู้อ่าน รูบิน (Rubin, 1991: 7) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า การอ่าน คือ การเสนอ ความหมาย และการรับรู้ความหมายจากสิ่งที่อ่า น โดยผู้อ่านนาเอาความรู้ ประสบการณ์ตลอดจน ความรู้สึกของตนมาใช้ในการทาความเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน โคแนร์ (Konare, 1994: 30) กล่าวว่า การอ่าน คือ ข้อเท็จจริงสองประการได้แก่ กระบวนการซึ่งหมายถึงความเข้าใจ และผลที่ได้จากกระบวนการนั้นซึ่งหมายถึงความเข้าใจ นัทเทิล (Nuttal, 1996: 2) กล่าวถึงความหมายของการอ่านว่า การอ่าน คือ ความสามารถของผู้อ่านที่จะดึงเอาความหมายหรือใจความสาคัญของบทอ่านออกมาให้ได้ ใกล้เคียงกับเจตนารมณ์ของผู้เขียนให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 1) กล่าวว่า การอ่านคือการสื่อความหมายเป็นการสื่ ความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบกับผู้อื่นด้วยการสื่อ ความหมายในการอ่านนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่างคือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน (สิ่งที่ได้ อ่านมาแล้วหรือปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการอ่านนั้นๆ) บันลือ พฤกษะวัน (2545: 6) ยังได้ให้ความหมายของการไว้อีกว่าการอ่านเป็น การพัฒนาความคิด โดยผู้อ่านใช้ความสามารถหลายๆ ด้าน นับตั้งแต่การสังเกต การจารูปคา การใช้ความรู้เดิมมาแปลความ ตีความหรือถอดความให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ดี ตลอดจนนาสิ่งที่อ่านมาใช้ประโยชน์เป็นแนวคิดแนวปฏิบัติได้ดี ดังนั้นสรุปได้ว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการถอดรหัส แปลความหมายหรือ เรื่องราวออกมาเป็นความคิด เป็นกระบวนการทางสมองที่ซับซ้อน และสามารถสรุปเรื่องราวและ ประเมินผลสิ่งที่อ่านได้ ซึ่งจะประสบผลสาเร็จในการอ่านหรื อไม่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้อ่าน 2. ความสาคัญของการอ่าน
  • 2. ปัจจุบันการที่จะพัฒนาตนเอง ประเทศ หรือชาติ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ ความสามารถในด้านการอ่าน ซึ่งผู้ที่อ่านออกเขียนได้จะได้เปรียบในหลายๆ ด้าน ทั้งการเรียนการ สอน การใช้ชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นสังคมที่ยอมรับบุคคลที่มีศักยภาพและความสามารถ ดังนั้นจึงได้ มีผู้ให้ความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้ สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545: 1) กล่าวว่า การอ่าน เป็นวิธีการที่สาคัญวิธีหนึ่งที่ มนุษย์ใช้ศึกษาหาความรู้ให้แก่ตนเองตลอดมา การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญที่ใช้ใ นการเสาะแสวง หาความรู้ การรู้และใช้วิธีอ่านที่ถูกต้องจึงจาเป็นสาหรับผู้อ่านทุกคน การรู้จักฝึกฝน อ่านอย่าง สม่าเสมอ จะช่วยให้เกิดความชานาญและมีความรู้กว้างขวางด้วย สุพรรณี วราทร (2545: 21) ได้กล่าวว่า การอ่านเป็นวิธีสาคัญในการเสริมสร้าง ความรู้ความชานาญทางวิชาชีพ ช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้ เกิดการพัฒนาด้านอาชีพ เกิด ความคิดและแนวทางใหม่ในการปฏิบัติซึ่งนาไปสู้การปรับปรุงผลผลิตทาให้การพัฒนาด้านต่างๆ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 19) ได้ว่า การอ่านช่วยให้คนเราได้คาตอบจาก ปัญหาที่ต้องการแก้ หรือปัญหาที่ค้างคาอยู่ในใจไม่ว่าจะทั้งทางตรงและทางอ้อม จึงทาให้เป็นผู้ที่ สามารถแก้ปัญหาต่างๆ รอบด้านได้ด้วยตนเอง การอ่านที่สาคัญทาให้คนมีความคิดกว้างไกลและ มีวิสัยทัศน์ เนื่องจากการอ่านเป็นการจุดประกายความคิดของผู้อ่าน ทาให้เกิดพัฒนาการทาง สติปัญญา ด้วยการนาความรู้ได้จากการอ่านไปบูรณาการกับความคิดของตนเองเกิดเป็นความคิด ใหม่ในการพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นไปอีก สรุปได้ว่า ความสาคัญของการอ่านเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ต่างๆ และต้องฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้ มีความคิดกว้างไกล และมีวิสัยทัศน์ไกล มีความรอบรู้ ซึ่งนาไปสู้ความสาเร็จต่อไปในอนาคต 3. ความมุ่งหมายในการอ่าน การอ่านนั้นไม่ว่าจะเป็นการอ่านประเภทใดก็ตาม จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี เป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายในการอ่าน ซึ่งผู้อ่านจะต้องตั้งไว้ เพื่อจะช่วยให้การอ่านของผู้อ่านมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี ซึ่งจุดมุ่งหมายการอ่านของแต่ละคนจะมีความแตกต่างกันไปซึ่ง มีผู้กล่าวถึงความมุ่งหมายของการอ่านไว้แตกต่างกันดังนี้ เกรลเล็ท (Grellet, 1995: 4) ได้แบ่งประเภทความเข้าใจการอ่านไว้เป็น 4 ประเภท ดังนี้คือ 1. การอ่านแบบคร่าวๆ (Skimming) เป็นการอ่านแบบกวาดสายตาไปอย่าง รวดเร็ว เพื่อหาใจความสาคัญ 2. การอ่านแบบเฉพาะจุด (Scanning) เป็นลักษณะการอ่านเร็วอีกแบบหนึ่งใช้ใน การหาข้อมูลที่ต้องการ
  • 3. 3. การอ่านอย่างกว้างๆ (Extensive Reading) ใช้อ่านกับข้อความที่ค่อยข้างยาว และตามความสนใจที่ผู้อ่านจะต้องใช้ความรู้รอบตัวมาช่วยประกอบการอ่าน 4. การอ่านอย่างเข้ม (Intensive Reading) ใช้กับการอ่านเรื่องสั้นๆ เพื่อเป็นการ อ่านหาข้อมูลอย่างละเอียด วรรณี โสมประยูร (2539: 127-128) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นในการ ดารงชีวิต การอ่านแต่ละครั้งจะมีความมุ่งหมายแตกต่างกันออกไป ถ้าผู้อ่านตั้งจุดมุ่งหมายในการ อ่านแต่ละครั้งไว้ จะช่วยให้การอ่านมีประสิทธิภาพสูง จากประสบการณ์ที่ผู้เขียนได้ทดลองปฏิบัติ และทดลองสอนมาแล้ว จุดมุ่งหมายที่เคยตั้งไว้ มีดังนี้ 1. การอ่านเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม เช่น อ่านตารา อ่านบทความ 2. การอ่านเพื่อความบันเทิง เช่น อ่านนวนิยาย อ่านการ์ตูน อ่านวรรณคดี 3. การอ่านเพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือประเภทชวนหัว 4. การอ่านเพื่อหารายละเอียดของเรื่อง เช่น อ่านสารคดี อ่านประวัติศาสตร์ 5. การอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์จากข้อมูลที่ได้ เช่น การอ่านข่าว 6. การอ่านเพื่อหาประเด็นว่าส่วนในเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นของจริง เช่น การ คาโฆษณาต่างๆ 7. การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านบทความในวารสาร 8. การอ่านเพื่อปฏิบัติตาม เช่น อ่านคาสั่ง อ่านคาแนะนา อ่านคู่มือการใช้เครื่อง ไฟฟ้า 9. การอ่านเพื่อออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน มีน้าเสียงเหมาะกับเนื้อเรื่องและ เหมือนกับพูด เช่น อ่านบทละครต่างๆ สุพรรณี วราทร (2545: 36-38) กล่าวว่า การรู้ความมุ่งหมายในการอ่านเป็น องค์ประกอบประการหนึ่งของทักษะการอ่านเร็ว การอ่านเพื่อได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ ผู้อ่าน ควรรู้ว่าอ่านเพื่ออะไร และต้องการอะไรจากการอ่าน การรู้ความมุ่งหมายในการอ่านนอกจากช่วย ให้มสมาธิ ซึ่งจะทาให้อ่านได้เร็วและจาได้ด้วยแล้ว ในเบื้องต้นยังช่วยในการเลือกสรรสื่อการอ่าน ี เพื่ออ่านด้วย ความมุ่งหมายในการอ่านที่สาคัญ ได้แก่ 1. อ่านเพื่อความรู้ คือ การอ่านที่ครอบคลุมตั้งแต่เรื่องที่มีความสาคัญจาเป็นต้อง รู้ เรื่องที่รู้แล้วเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ไปจนถึงเรื่องที่มีความสาคัญจาเป็นต้องรู้ เรื่องที่รู้แล้วเกิด ประโยชน์อย่างยิ่ง ไปจนถึงเรื่องที่อ่านเพื่อเสริมความรู้ การอ่านเพื่อความรู้มีหลายลักษณะ เช่น 1.1 อ่านเพื่อหาคาตอบในเรื่องที่ต้องการรู้ เช่น การอ่านคู่มือ คาแนะนา กฎ ระเบียนต่างๆ ตารา และหนังสืออ้างอิง เป็นต้น 1.2 การอ่านเพื่อรู้ข่าวสารและเป็นข้อมูล เช่น การอ่านเพื่อหนังสือพิมพ์ วารสาร เอกสารโฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 4. 1.3 การอ่านเพื่อประมวลสาระ ได้แก่ การอ่านเอกสาร วารสาร และหนังสือ ต่างๆ เพื่อได้รู้ในเรื่องที่ต้องการรู้ การอ่านเพื่อความรู้นอกจากสนองความต้องการของผู้อ่านเองแล้วยังมี ประโยชน์อื่นๆ อีก เนื่องจากการเป็นผู้มีความรู้ และติดตามข้อมูลข่าวสารทันสมัย ทาให้เกิดมั่นใจ และสร้างความประทับใจที่ดีแก่ผู้อื่น นอกจากนี้ความรู้ได้ที่รับอาจเป็นประโยชน์ในการประกอบ อาชีพและชีวิตประจาได้อีกด้วย 2. อ่านเพื่อศึกษา เป็นการอ่านอย่างจริงจัง เพื่อได้สาระและข้อเท็จจริงจน เกิดความเข้าใจ เช่น การอ่านตารา และหนังสือวิชาการต่างๆ 3. การอ่านเพื่อความคิด หมายถึง การอ่านเพื่อเข้าใจสาระสาคัญหรือแนวคิด ของเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปปฏิบัติ หรือเป็นแนวทางสาหรั บริเริ่มสิ่งต่างๆ การอ่านเพื่อให้ได้ความคิด ได้จากการอ่านหนังสือทุกประเภท 4. อ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ หมายถึง การอ่านเพื่อรู้และเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่าง ลึกซึ้ง จนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านในด้านต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล เช่น การ อ่านบทความ วรรณคดี ข่าว และหนังสือต่างๆ เป็นต้น 5. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เป็นการอ่านเพื่อพักผ่อนหรือเปลี่ยนแปลงกิจกรรม เพื่อให้เกิดความรื่นรมย์ หรือคลายความรื่นรมย์ หรือคลายความทุกข์ การอ่านเพื่อความ เพลิดเพลินได้จากการอ่านหนังสือทุกประเภทที่ผู้อ่านพอใจแต่ไม่ควรเป็ นเรื่องยาก ซับซ้อน หรือ เป็นวิชาการที่ต้องใช้ความคิดมาก 6. อ่านเพื่อใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การอ่านไม่ได้มุ่งหวังสิ่งใด โดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เวลาว่างที่จะต้องเสียไปให้เกิดประโยชน์ เช่น การอ่านนิตยาสาร ขณะรอ คอยกิจกรรมต่างๆ สื่อการอ่านที่เหมาะสมสาหรับการอ่านเพื่อใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ ได้แก่ บันเทิงคดีหรือสารคดีที่แบ่งเนื้อหาเป็นบทหรือตอนสั้นๆ เนื่องจากสามารถหยุดอ่านได้เป็นช่วงๆ โดยไม่ทาให้เสียความต่อเนื่องในการอ่าน สรุปว่า จุดมุ่งหมายในการอ่าน คือ เป้าหมายก่อนการอ่านที่จะต้องตั้งใจไว้ว่า ต้องการอ่านหนังสือเพื่ออะไร ซึ่งจุดมุ่งหมายของการอ่านจะมีแตกต่างกันไปไม่ว่าจะเป็น เพื่อหา ความรู้ อ่านเพื่อหารายละเอียด อ่านเพื่อรู้ข่าวสาระและข้อมูล อ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ อ่านเพื่อ ความบันเทิง การอ่านเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งการอ่านในแต่ละประเด็นนั้นขึ้ นอยู่กับ วัตถุประสงค์และความต้องการและความสามารถของผู้อ่าน 4. การอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด และเป็นหัวใจของการอ่านทุกชนิด ดังนั้นหากผู้เรียนไม่เข้าใจความหมายที่ผู้เขียนถ่ายทอดเอาไว้ในบทอ่านได้ การอ่านก็จะไม่ประสบ ผลสาเร็จ ดังนั้นในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจ ในการอ่านนักการศึกษาได้กล่าวถึงความเข้าใจในการอ่านไว้ ดังนี้
  • 5. คาเรลล์ (Carrell, 1984: 441) กล่าวว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือความสามารถ ในการเข้าในประโยคหรืออนุเฉท (Paragraph) โดยเฉพาะความเข้าใจรูปแบบโครงสร้าง หรือการ เรียบเรียงของผู้เขียน กันนิ่ง (Gunning, 1992: 188) อธิบายว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือ ความสามารถในการเข้าใจความหมายของคาและภาษาที่ผู้เขียนใช้ในการสื่อสาร ซึ่งถือได้ว่าเป็น วัตถุประสงค์หลักของการอ่าน สุพรรณี วราทร (2545: 31) กล่าวว่า การอ่านช้าหรือเร็วจะไม่เกิดประโยชน์เลย หากผู้อ่านไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่าน ความไม่เข้าใจสิ่งที่อ่านมีสาเหตุหลายประการ สาเหตุ สาคัญนอกเหนือจากการขาดความรู้พื้นฐานในเรื่องที่อ่าน ได้แก่ การขาดความตั้งใจหรื อไม่มีสมาธิ ในการอ่าน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความขัดแย้งทางอารมณ์ของผู้อ่าน ทาให้สมองไม่รับสิ่งที่กาลัง อ่านจึงอ่านไม่รู้เรื่อง การพัฒนาตนเองให้สามารถอ่านโดยเข้าใจเรื่องที่อ่านทาได้โดยสร้างสมาธิใน การอ่าน รู้ศัพท์และสานวนภาษา และมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่ อ่าน สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 73) ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าคือ ความสามารถที่จะอนุมานข้อสนเทศหรือความหมายอันพึงประสงค์จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ความเข้าใจนี้เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ การศึกษาและประสบการณ์ต่างๆ หลายๆ ด้านของแต่ละคนถือเป็นองค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของ การอ่าน ถ้าอ่านแล้วไม่เกิดความเข้าใจใดๆ เลยก็อาจจะกล่าวได้ว่าการอ่านที่แท้จริงยังไม่เกิดขึ้น และการอ่านในลักษณะนี้จึงเป็นได้แค่เพียงเห็นตัวหนังสือปรากฏอยู่บนหน้ากระดาษเท่านั้น ไม่สื่ อ ความหมายอะไรทั้งสิ้น นอกจากจะทาให้เสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์แล้วยังไม่ได้อะไรจากการ อ่านนั้นอีกด้วย สรุปได้ว่า ในการอ่านนั้นผู้อ่านจะต้องเข้าใจข้อความในระดับต่างๆ ซึ่งเริ่มจากคา วลี ประโยค และเรื่องราวที่ต่อเนื่องกัน สามารถทาความเข้าใจบอกเรื่องราวของเรื่องที่อ่านจับ ใจความสาคัญ บอกรายละเอียดของเรื่อง สรุปความคิดเห็นและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน แปลความ อธิบายความหมาย จากเรื่องราวที่อ่านได้ 5. องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านเพื่อความเข้าใจถือว่าเป็นเป้าหมายสาคัญ เนื่องจากจุดมุ่งหมายของการ อ่านก็คือเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจข้อความที่ผู้เขียนต้องการสื่อความหมาย ดังนั้นในการพัฒนา ความสามารถด้านการอ่านจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการอ่าน นัก การศึกษาได้กล่าวถึง องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้ แฮริส และซิเพย์ (Harris & Sipay, 1979: 319) กล่าวว่า องค์ประกอบสาคัญที่สุด ของการอ่านมีดังนี้ 1. สติปัญญาทั่วไป (General Intelligence) ในด้านความสามารถในการคิด (Ability of Thinking) การให้เหตุผล (Reason Giving) การแก้ปัญหา (Problem Solving)
  • 6. 2. ความสามารถของผู้อ่านเกี่ยวกั บคาศัพท์ ความสามารถในการแปลรหัส ความสามารถในการรวมความหมายเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจ ความสามารถทางโครงสร้างภาษา วุฒิภาวะ (Maturity) พื้นฐานและประสบการณ์ (Background and Experience) ความสนใจ (Interest) และรูปแบบการเขียน (Style) ของผู้เขียนแต่ละคน ลันเซอร์ และการ์ดเนอร์ (Lunzer & Gardner, 1981: 66-67) กล่าวถึง ความสามารถในการอ่านไว้ว่าความสามารถในการอ่าน จะต้องประกอบด้วยสามารถในด้าน ต่อไปนี้ 1. ความสามารถด้านภาษาและตัวหนังสือ ได้แก่ ความสามารถในการที่จะเข้าใจ ความหมายของคาใหม่ๆ จากบริบท ความสามารถที่จะเข้าใจโครงสร้างของประโยคและ ความสามารถที่จะเข้าใจเครื่องหมายวรรคตอนและตัวพิมพ์ เป็นต้น 2. ความสามารถด้านความคิด ได้แก่ ความสามารถที่จะระบุจุดประสงค์ของผู้ แต่ง ความสามารถที่จะเข้าใจความคิดสาคัญ และความคิดย่อย ที่สนับสนุนความคิดสาคัญและ ความสามารถที่จะสรุปความคิด เห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน 3. ความสามารถในการตีความหมายจากน้าเสียงที่ผู้เขียนแสดงออก และ สามารถที่จะระบุท่วงทานองของผู้เขียน รูบิน (Rubin, 1991: 235) กล่าวว่า ความสามารถทางการอ่านนั้นขึ้นอยู่กับ พื้นฐานต่อไปนี้ 1. การเข้าใจความหมายของคา เป็นทักษะพื้นฐานของการอ่าน ถ้าหากนักเรียน เรียนรู้ความหมายของคาไม่เพียงพอ นักเรียนจะไม่สามารถเข้าใจประโยค อนุเฉท และทาให้ไม่ สามารถจะอ่านหรือพูดได้ 2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคา นักเรียนจะเข้าใจความหมายของประโยคได้ ก็ต่อเมื่อนักเรียนรู้จักอ่านเป็นกลุ่มคา การอ่านทีละคาทาให้ไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่าน 3. การเข้าประโยค นอกจากนักเรียนจะเข้าใจความหมายเป็นรายคาและเป็น กลุ่มคาแล้ว นักเรียนจะต้องเห็นความสัมพันธ์ระหว่างคาและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคาใน ประโยคด้วย นักเรียนที่ไม่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างคา และระหว่างกลุ่มคาประโยค จะไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน 4. การเข้าใจอนุเฉท นักเรียนจะเข้าใจอนุเฉทได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนมองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างประโยคในอนุเฉท การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประโยคค่อยข้างจะยาก แต่ถ้านักเรียนขาดความสามารถทางด้านนี้แล้วนักเรียนจะไม่ สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ 5. การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉท (Comprehension of Larger Unit) นักเรียนจะไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่ยาวขึ้นได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนสามารถจัดลาดับความคิดของเรื่องที่ อ่านได้ และต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทด้วย
  • 7. สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 74) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของความเข้าใจในการ อ่านที่สาคัญๆ ดังนี้ 1. สามารถจดจาเรื่องราวส่วนใหญ่ที่อ่านมาแล้วได้ เมื่อถึงคราวจาเป็นที่ต้องการ จะใช้ประโยชน์หรืออ้างอิงถึงก็ทาได้โดยไม่ยาก 2. สามารถจับใจความสาคัญๆ ได้ สามารถแยกแยะหรือระบุ ประเด็นหลักออก จากประเด็นย่อยที่ไม่จาเป็นหรือไม่สาคัญมากนักได้ สามารถประเมินได้ว่าอะไรบ้างที่ควรจะสนใจ เป็นพิเศษ หรือตัดทิ้งไปได้ 3. สามารถตีความเกี่ยวกับเรื่องราวหรือข้อคิดเห็นที่อ่านมาแล้วได้ว่ามีนับสาคัญ หรือลึกซึ่งมากน้อยเพียงใด 4. สามารถสรุปลงความเห็นจากสิ่งที่ได้อ่านมาแล้วอย่างถูกต้อง มีเหตุผลและ น่าเชื่อถือ 5. สามารถใช้วิจารณญาณของตนพิจารณาไตร่ตรองข้อสรุป หรือการอ้างอิง ต่างๆ ของผู้เขียนได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ ไม่สับสน 6. สามารถถ่ายโอนหรือประสมประสานความรู้ที่ได้จากการอ่านกับประสบการณ์ อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ สรุปได้ว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ มีองค์ประกอบสาคัญหลายด้านซึ่ง ประกอบด้วย ความสามารถทางภาษาของผู้อ่าน กระบวนการคิดในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ในขณะอ่าน เข้าใจความหมายของคา เข้าใจประโยค สามารถจับใจความและตีความโดยใช้ วิจารณญาณเกี่ยวกับเรื่องราวที่อ่าน และการเชื่อมโยงความรู้หรือความรู้เดิมกับข้อมูลที่ได้รับจาก การอ่าน สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ และเกิดประโยชน์ตามที่ผู้อ่านแต่ละคนได้ตั้ง จุดประสงค์ในการอ่านไว้ 6. ระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านเพื่อความเข้าใจนั้น มีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นจึงมีนักการ ศึกษาได้แบ่งระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้ ดัลแมน (Dallman, 1974: 166) ได้จาแนกระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ดังนี้ 1. ความเข้าใจในระดับข้อเท็จจริง (Literal Level) หมายถึง ความสามารถในการ เข้าใจความหมายและเรื่องที่อ่านตามตัวอักษรที่เขียนไว้โดยตรง 2. ความเข้าใจในระดับตีความ (Interpretative Level) คือ ความเข้าใจ ความหมายของเรื่องที่อ่านโดยความสามารถสรุป การตีความและการแปลความจากสิ่งที่อ่าน 3. ความเข้าใจในระดับการประเมินค่า (Evaluative Level) หมายถึง ความสามารถในการประเมินค่าหรือตัดสินสิ่งที่อ่านได้โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่าน มาพิจารณาประกอบการตัดสิน
  • 8. 4. ความเข้าใจระดับสร้างสรรค์ (Creative Reading) หมายถึง การค้นพบแนวคิด และข้อสรุปใหม่ ซึ่งไม่ใช่เพิ่งการอ่านเพื่อความเข้าใจเท่านั้น รูบิน (Rubin, 1991: 327) จัดระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ความเข้าใจระดับความหมายตามตัวอักษร (Literal Comprehension) เป็น ระดับที่ผู้อ่านสามารถตอบคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่อ่านได้โดยใช้ ข้อมูลที่ปรากฏตามตัวอักษร ในบทอ่าน 2. ความเข้าใจระดับตีความ (Interpret Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่านต้อง ทาความเข้าใจในสิ่งที่ผู้เขียนไม่ได้กล่าวเอาไว้ตรงๆ หากแต่แฝงเอาไว้ในเนื้อความ 3. ความเข้าใจระดับวิจารณ์ (Critical Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่านต้องใช้ ความคิดเพื่อวิเคราะห์และประเมินความถูกต้อง คุณค่า และความเป็นจริงของสิ่งที่อ่าน โดยผู้อ่าน จะต้องสามารถรวบรวม ตีความ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ และสรุปความข้อมูลที่อ่านได้ 4. ความเข้าใจระดับสร้างสรรค์ (Creative Comprehension) เป็นระดับที่ผู้อ่าน ต้องใช้ทักษะการคิดแก้ปัญหา (Divergent Thinking) เพื่อเข้าใจความหมายที่ผู้เขียนนาเสนอ เอาไว้ในบทอ่าน และสามารถแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่อ่านได้ สรุปได้ว่า ผู้อ่านต้องอาศัยความเข้าใจในหลายระดับโดยจะเริ่มโดยเข้าใจระดับ ตามตัวอักษรซึ่งเข้าใจได้ทันที ความเข้าใจในระดับตีความซึ่งมีความหมายแฝงอยู่ในเนื้อความ ความเข้าในระดับวิจารณ์ ซึ่งจะต้องใช้ความสามารถในการวิเคราะห์ระหว่างข้อเท็จจริงและความ คิดเห็น และประเมินความถูกต้อง ผู้อ่านต้องใช้ความรู้ความสามารถ และความคิดเข้าช่วยในการ วิเคราะห์ เมื่อเกิดความเข้าใจแล้ว ผู้อ่านต้องรู้จักอ่านขั้นตีความ จับใจความ เรียงลาดับเหตุการณ์ รู้จักเหตุผล และสรุปความได้ 7. การประเมินผลการอ่านเพื่อความเข้าใจ ขั้นตอนสุดท้ายของการอ่านที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การวัดและประเมินผลเพื่อจะได้ทราบว่าตนเองมีความสามารถในการอ่านได้ในระดับใด เพื่อที่จะ ได้นาเอาผลจากการประเมินมาปรับปรุง และพัฒนาตนเองต่อไป ดังนั้น วาลีท และดิสิค (Valette & Disick, 1972 อ้างจาก อัจฉรา วงศ์โสธรรม 2538: 15) กล่าวถึงการประเมินผลการอ่านประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ขั้นกลไก คือ การอ่านออกเสียง 2. ขั้นความจา คือ อ่านข้อความและเข้าใจความหมายที่ได้เรียนและท่องจาไว้ 3. ขั้นถ่ายโอน คือ การนาความรู้ความจามาใช้ในการอ่านข้อความใหม่ๆ ให้ เข้าใจ 4. ขั้นสื่อสาร คือ อ่านโดยเสรี เพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียดต่างๆ 5. ขั้นวิพากษ์วิจารณ์ คือ ผู้เรียนต้องสามารถตีความ เพื่อให้เข้าใจสิ่งที่ผู้เขียน มิได้กล่าวถึงตรงๆ ผู้อ่านต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์และประเมินสารได้
  • 9. มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 221-227) กล่าวว่า เพื่อให้การเรียนการสอน อ่าน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย ครู ควรประเมินความสามารถในการอ่านของ นักเรียนด้านสาคัญด้านต่างๆ ทั้งก่อนอ่าน ระหว่างอ่าน และหลังอ่าน ซึ่งจะทาให้ครูทราบแนวทาง ในการปรับปรุงแก้ไขไม่ให้เกิดปัญหาทางการอ่านที่กว้างขึ้น วิธีการดาเนินการของครูในการประเมินความสามารถของนักเรียนที่สาคัญมี ดังนี้คือ 1. การประเมินโดยใช้แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Informal Reading Inventory: IRI) (ก่อนอ่าน) 2. การประเมินการใช้ความรู้และความรู้เดิม (ก่อนอ่านและระหว่างอ่าน) 3. การประเมินเพื่อตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน (หลังอ่าน) สรุปว่า การประเมินผลการอ่านเพื่อความเข้าใจนั้นพิจารณาได้เป็น 2 ลักษณะ หลังจากที่สามารถเข้าใจคาศัพท์และหน้าที่ชนิดของคาแล้ว จะต้องสามารถที่จะเรียงลาดับ ข้อความ เพื่อที่จะสามารถเชื่อมโยงเข้ากับความสัมพันธ์ระหว่างรายละเอียดในเรื่องที่อ่าน บอกชื่อ เรื่อง และสามารถที่จะวิเคราะห์วิจารณ์ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแนวการจัดการ เรียนการสอนที่ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางภาษาที่ครูได้จัดให้นักเรียนในขณะที่ เรียนในห้องเรียน ซึ่งในแต่ละครั้งนั้นจะต้องมีการกาหนดเป้าหมายก่อนว่าจะต้องการให้เกิดอะไร หลังจากที่นักเรียนได้รับความรู้ไปแล้ว และตัดสินผลการจัดกิจกรรมว่าบรรลุเป้าประสงค์ที่ต้องไว้ อย่างไร ซึ่งการประเมินผลความเข้าใจในการอ่านนั้นต้องประเมินอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและเพื่อให้ มีประสิทธิภาพในการประเมินต้องมีการประเมินทั้งก่อนการอ่าน ระหว่างการอ่าน และห ลังการ อ่าน