SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
การเขียนรายการอ้างอิง
คือ รายการที่บอกใ ห้ทราบ ว่า ข้อความห รื อแน วคิดนั้ น อ ยู่ใ น ทรัพ ยา กร สาร สน เ ท ศ ใ ด
เ พื่ อ ใ ห้ เ กีย ร ติ เ จ้า ข อ ง ค ว า ม คิ ด นั้ น ๆ แ ล ะ ใ ห้ ผู้อ่า น ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ ค้น ค ว้า เ พิ่ ม เ ติ ม
รวมทั้งเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือกับบทความวิชาการและบทความวิจัยของเราด้วย
การอ้างอิงที่นิยมกันมี 3 รูปแบบ คือ
1. การอ้างอิงแบบ เชิงอรรถ(footnote)
2. การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา หรือ การอ้างอิงระบบนาม-ปี หรือระบบ APA
3. การอ้างอิงในส่วนของบรรณานุกรม
1. การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (footnote) คือ ข้อความที่ลงไว้ในส่วนท้ายของหน้า หรือส่วนท้ายของบท
หลักเกณฑ์การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
1) เชิงอรรถจะอยู่ส่วนท้ายของหน้าหรือท้ายบท
2) ก่อนลงรายการเชิงอรรถในแต่ละหน้าจะต้องขีดเส้นคั่นส่วนเนื้อหากับเชิงอรรถโดยมีความยาวประมาณ 2
นิ้ว
3) ข้อความในเชิงอรรถให้เริ่มตรงกับการย่อหน้า
4) การเรียงลาดับเชิงอรรถให้นับหนึ่งใหม่เมื่อขึ้นหน้าใหม่
เชิงอรรถในแต่ละหน้าต้องลงรายการให้จบและครบถ้วนในหน้านั้น
ผู้พิมพ์จะต้องกะเนื้อที่สาหรับการพิมพ์เชิงอรรถในแต่ละหน้าให้เพียงพอ
5) หมายเลขกากับข้อความที่ต้องการทาเชิงอรรถ ให้พิมพ์สูงกว่าข้อความปกติ (ตัวยก)
เชิงอรรถแบ่งออกเป็น 3ลักษณะ ดังนี้
1. เชิงอรรถอ้างอิง คือ การอ้างอิงโดยใส่หมายเลขกากับไว้ที่ท้ายข้อความในเนื้อหาที่คัดลอก
หรือเก็บแนวความคิดมา
2. เชิงอรรถขยายความ คือ การให้คานิยาม หรือความหมายของคา หรืออธิบาย
เรื่องราวบางตอนให้ชัดเจนขึ้น
3. เชิงอรรถโยง เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาให้ผู้อ่านไปดู หรือดูเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้น
___________________________________________________________________________________________________________________
1
ดูคาอธิบายเพิ่มเติมที่หน้า 13
2
ดูคาอธิบายเพิ่มเติมและตัวอย่างที่หน้า16-17
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
(ตัวอย่างเชิงอรรถขยายความ)
(ตัวอย่างเชิงอรรถโยง)
หนังสือพิมพ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือหนังสือพิมพ์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนและให้ความอุปการะในสมัยนั้น ที่สาคัญมีหนังสือพิมพ์ไทย
ก ับหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต
1. หนังสือพิมพ์ไทย (พ.ศ. 2451)
รายวันออกวางตลาดเป็นปฐมฤกษ์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นที่รู้ก ันในสมัยนั้นว่า พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เป็นองค์พระบรมราชูปถัมภ์
เพราะแผ่นแรกของ“พิมพ์ไทย” มีรูป “ตราครุฑ” ตัวใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือพิมพ์ใต้
“ตราครุฑ” มีข้อความว่า “มีกรรมสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ” มีทั้งหมด 4 แผ่น ขายปลีกฉบับละ 15
สตางค์
2. ดุสิตสมิต (พ.ศ. 2561-2467)หนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตเป็นหนังสือพิมพ์ ที่ออกใน
“ดุสิตสมิต”1
-------------------------------------------
1
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมหัวข้อเรื่อง ดุสิตธานี
พระเสวตรวชิรพาหะ
พระเสวตรวชิรพาหะเป็นช้างพลายสาคัญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เนื่องจากมีมงคลลักษณะบริบูรณ์ พร้อมด้วยลักษณะช้างสาคัญ ต้องตามตาราเทพามหาพิฆเนศวร์
อัคนีพงษ์
ความเป็นมา
พระยาพิไชยรณรงค์สงคราม (ดิศ) ผู้ว่าราชการเมืองพิจิตร
ได้ทราบข่าวว่ามีช้างสีประหลาดหนึ่งเชือก อยู่ในโขลงช้างเถื่อนที่เที่ยวไปมาในป่าแขวงเมืองพิจิตร
ที่ติดต่อก ับเมืองนครสวรรค์ จึงสืบสวนได้ความตรงก ันจากพระภิกษุรูปหนึ่ง กานัน และพวกชาวป่า
ดังนั้น จึงนาความแจ้งต่อกระทรวงมหาดไทย เมื่อเดือนมีนาคม ร.ศ.129
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
จึงนาความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท
แล้วจึงมีตราพระราชสีห์สั่งข้าหลวงเทศาภิบาล มณฑลพิษณุโลกและนครสวรรค์
ให้จัดช้างต่อหมอควาญ แบ่งเป็น 2 กอง
ฝ่ายของมณฑลพิษณุโลกให้พระยาพิไชยรณรงค์สงครามคุมไป
ส่วนฝ่ายกองมณฑลนครสวรรค์ให้พระยายอดเมืองขวาง (แม้น)1
เป็นผู้ควบคุม
--------------------------------------------
1
ขณะนั้นเป็น พระเฑียรฆราษ ปลัดมณฑล
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
2. การอ้างอิงระบบนาม-ปี หรือระบบ APA คือ การอ้างอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหา
ส่วนประกอบของรายการอ้างอิงแบบนาม-ปี มีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน คือ
1. ผู้แต่ง/ผู้ผลิต/ผู้ให้ข้อมูล
2. ปีที่พิมพ์/ปีที่ผลิต/ปีที่ปรากฎข้อมูล /ปีที่เข้าถึงข้อมูล (กรณีเป็นข้อมูลจาก WWW
และไม่ปรากฏปีที่ผลิต/ปีเผยแพร่ข้อมูล)
3. เลขหน้าที่ใช้ในการอ้างอิง
(ชื่อผู้แต่ง, ปีพิมพ์: เลขหน้า)
3. การอ้างอิงในส่วนของบรรณานุกรมบรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ และสื่ออีเล็กทรอนิกส์
ที่นามาเป็นหลักฐานอ้างอิงในการเขียนรายงาน โดยเรียงตามลาดับอักษรไว้ท้ายเรื่อง
หลักการเขียนบรรณานุกรม
1. เขียนไว้ในส่วนท้ายของรายงาน
2. เขียนเรียงลาดับอักษรชื่อผู้แต่ง ในกรณีที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เขียนบรรณานุกรมภาษาไทยก่อน
3. บรรทัดแรกของบรรณานุกรมชิดด้านซ้ายที่เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา 1.5 นิ้ว ถ้ายังไม่จบ
เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 ช่วงตัวอักษรของบรรทัดแรก ให้เขียนตรงกับช่วงตัวอักษรที่ 8
หลักการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม
การให้บริการสื่อสารที่เป็นสากลมีความจาเป็นต้องอยู่ภายใต้ความร่วมมือของนานาชาติที่เป็นสมาชิก
เพื่อหาข้อตกลงด้านต่าง ๆ ตลอดจนการออกแบบส่วนต่าง ๆ
เพื่อให้สามารถให้บริการสื่อสารแก่มวลสมาชิกได้
องค์กรหลักสององค์กรที่ให้บริการสื่อสารดาวเทียมสากล คือ INTELSATและINTERSPUTNIK
ที่มีสมาชิก 118และ 14 ประเทศตามลาดับ (รัชนัย อินทุใส,2538: 4-5)
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
1. ผู้แต่งเป็นชาวต่างชาติ(ยุโรป,อเมริกา) ให้เอานามสกุลขึ้นก่อน
2. ชื่อผู้แต่งให้ลงเฉพาะชื่อเท่านั้น ยศ ตาแหน่งไม่ต้องลง
3. ผู้แต่งหลายคนให้ใช้ผู้แต่งคนแรกคนเดียวและผู้แต่งอาจไม่ใช่ชื่อบุคคลเสมอไป(ชื่อหน่วยงาน, นามปากกา)
4. ถ้าชื่อเรื่องยาวมาก ให้ตัดเฉพาะที่พอเข้าใจ แต่ไม่สั้นเกินไป
5. สถานที่พิมพ์คือ จังหวัดของสานักพิมพ์เช่น กรุงเทพมหานคร ชลบุรี
6. ถ้าไม่ปรากฏหรือไม่มีสานักพิมพ์ ให้ใช้คาว่า มปพ.
7. ถ้าไม่ปรากฏหรือไม่มีปีที่พิมพ์ ให้ใช้คาว่า มปป.
1. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมหนังสือ
รูปแบบ ผู้แต่ง.(ปีพิมพ์).ชื่อหนังสือ.ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี).
สถานที่พิมพ์:สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.
ตัวอย่าง ศุภกิจ ไชยวิรัตน์. (2542). ประเพณีผีตาโขน : การละเล่นพื้นบ้านของไทย.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นวการพิมพ์.
ผู้แต่งคนเดียว
สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2535). ขนบธรรมเนียมประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงานหรือสถาบัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2526). กฎหมายลิขสิทธิ์กับธุรกิจวิดีโอในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไม่ปรากฏผู้แต่ง(ใส่ชื่อเรื่องได้เลย)
สมเด็จพระปิยมหาราชกับนักเขียนฝรั่งเศส. ( ม.ป.ป.). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเอกชนพัฒนาภูมิภาค.
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
2. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ระบบออนไลน์ (Online) หรืออินเทอร์เน็ต
รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.(ปีที่เผยแพร่).“ชื่อบทความ.”เข้าถึงได้จาก :
แหล่งสารสนเทศ ทางอินเตอร์เน็ต. ( วันที่ค้นข้อมูล: วันที่ เดือน ปี).
ตัวอย่าง ชวนะ ภวกานนท์.(2548).“ธุรกิจสปาไทยน่าจะก้าวไกลไปกว่านี้.”
เข้าถึงได้จาก :http://www.businesstgai.co.th. (วันที่ค้นข้อมูล:
25 ธันวาคม2548).
มีชื่อคนเขียนบทความ
ไม่มีชื่อคนเขียนบทความ
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
3. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมวารสาร
รูปแบบมีชื่อผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความ.(ปีพิมพ์)."ชื่อบทความ.”ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่,
ฉบับที่:เลขหน้า.
ตัวอย่าง
นฤตย์ กิจไชยวัฒนะ. (2543). “การอ้างอิงแหล่งสารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์.”
วารสารห้องสมุด 27, 2: 14-28.
รูปแบบที่ไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ
“ชื่อบทความ.”(ปีพิมพ์).ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่,ฉบับที่:เลขหน้า.
ตัวอย่าง
“เปิดมิติธุรกิจขายข้อมูลความต้องการแห่งยุคสมัย.”(2534). คลังสมอง 5,96:39-66.
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)
4. โครงสร้างและรูปแบบบรรณานุกรมหนังสือพิมพ์
รูปแบบมีชื่อผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความ.วันเดือน ปี."ชื่อบทความหรือชื่อข่าว.”ชื่อหนังสือพิมพ์:
เลขหน้า.
ตัวอย่าง
อัครพงศ์ ผ่องสุวรรณ. 22-25มิถุนายน 2543. “อินเทอร์เน็ต 2000
มิติใหม่แห่งเทคโนโลยีและบริการ.” ประชาชาติธุรกิจ:26-27.
รูปแบบที่ไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ
“ชื่อบทความหรือข่าว.”วันเดือน ปี.ชื่อหนังสือพิมพ์:เลขหน้า.
ตัวอย่าง
Macintyre, Donald. 2000,April 3. “Verdict on Kim.” Time: 14-18.
“ผ่าแผนบุกดาวอังคารความลับจักรวาล.” 26มิถุนายน2543. มติชน: 7.
ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง
วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222)

More Related Content

What's hot

หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSuriyapong
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบluufee
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59Supaporn Khiewwan
 

What's hot (17)

หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
Lesson4 refer11
Lesson4 refer11Lesson4 refer11
Lesson4 refer11
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
Search
SearchSearch
Search
 

Similar to การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560

เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมthanapat yeekhaday
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtipyunhooppa
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำtipvimon
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำtipvimon
 
Web of science
Web of scienceWeb of science
Web of sciencemaethaya
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 

Similar to การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560 (20)

Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Citation Search
Citation SearchCitation Search
Citation Search
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtip
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
Web of science
Web of scienceWeb of science
Web of science
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 

More from Supaporn Khiewwan

แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptSupaporn Khiewwan
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.PptSupaporn Khiewwan
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่Supaporn Khiewwan
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10Supaporn Khiewwan
 

More from Supaporn Khiewwan (20)

แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10
 

การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560

  • 1. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) การเขียนรายการอ้างอิง คือ รายการที่บอกใ ห้ทราบ ว่า ข้อความห รื อแน วคิดนั้ น อ ยู่ใ น ทรัพ ยา กร สาร สน เ ท ศ ใ ด เ พื่ อ ใ ห้ เ กีย ร ติ เ จ้า ข อ ง ค ว า ม คิ ด นั้ น ๆ แ ล ะ ใ ห้ ผู้อ่า น ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ ค้น ค ว้า เ พิ่ ม เ ติ ม รวมทั้งเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือกับบทความวิชาการและบทความวิจัยของเราด้วย การอ้างอิงที่นิยมกันมี 3 รูปแบบ คือ 1. การอ้างอิงแบบ เชิงอรรถ(footnote) 2. การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา หรือ การอ้างอิงระบบนาม-ปี หรือระบบ APA 3. การอ้างอิงในส่วนของบรรณานุกรม 1. การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (footnote) คือ ข้อความที่ลงไว้ในส่วนท้ายของหน้า หรือส่วนท้ายของบท หลักเกณฑ์การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ 1) เชิงอรรถจะอยู่ส่วนท้ายของหน้าหรือท้ายบท 2) ก่อนลงรายการเชิงอรรถในแต่ละหน้าจะต้องขีดเส้นคั่นส่วนเนื้อหากับเชิงอรรถโดยมีความยาวประมาณ 2 นิ้ว 3) ข้อความในเชิงอรรถให้เริ่มตรงกับการย่อหน้า 4) การเรียงลาดับเชิงอรรถให้นับหนึ่งใหม่เมื่อขึ้นหน้าใหม่ เชิงอรรถในแต่ละหน้าต้องลงรายการให้จบและครบถ้วนในหน้านั้น ผู้พิมพ์จะต้องกะเนื้อที่สาหรับการพิมพ์เชิงอรรถในแต่ละหน้าให้เพียงพอ 5) หมายเลขกากับข้อความที่ต้องการทาเชิงอรรถ ให้พิมพ์สูงกว่าข้อความปกติ (ตัวยก) เชิงอรรถแบ่งออกเป็น 3ลักษณะ ดังนี้ 1. เชิงอรรถอ้างอิง คือ การอ้างอิงโดยใส่หมายเลขกากับไว้ที่ท้ายข้อความในเนื้อหาที่คัดลอก หรือเก็บแนวความคิดมา 2. เชิงอรรถขยายความ คือ การให้คานิยาม หรือความหมายของคา หรืออธิบาย เรื่องราวบางตอนให้ชัดเจนขึ้น 3. เชิงอรรถโยง เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาให้ผู้อ่านไปดู หรือดูเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้น ___________________________________________________________________________________________________________________ 1 ดูคาอธิบายเพิ่มเติมที่หน้า 13 2 ดูคาอธิบายเพิ่มเติมและตัวอย่างที่หน้า16-17
  • 2. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) (ตัวอย่างเชิงอรรถขยายความ) (ตัวอย่างเชิงอรรถโยง) หนังสือพิมพ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือหนังสือพิมพ์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนและให้ความอุปการะในสมัยนั้น ที่สาคัญมีหนังสือพิมพ์ไทย ก ับหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต 1. หนังสือพิมพ์ไทย (พ.ศ. 2451) รายวันออกวางตลาดเป็นปฐมฤกษ์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่รู้ก ันในสมัยนั้นว่า พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เป็นองค์พระบรมราชูปถัมภ์ เพราะแผ่นแรกของ“พิมพ์ไทย” มีรูป “ตราครุฑ” ตัวใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือพิมพ์ใต้ “ตราครุฑ” มีข้อความว่า “มีกรรมสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ” มีทั้งหมด 4 แผ่น ขายปลีกฉบับละ 15 สตางค์ 2. ดุสิตสมิต (พ.ศ. 2561-2467)หนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตเป็นหนังสือพิมพ์ ที่ออกใน “ดุสิตสมิต”1 ------------------------------------------- 1 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมหัวข้อเรื่อง ดุสิตธานี พระเสวตรวชิรพาหะ พระเสวตรวชิรพาหะเป็นช้างพลายสาคัญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากมีมงคลลักษณะบริบูรณ์ พร้อมด้วยลักษณะช้างสาคัญ ต้องตามตาราเทพามหาพิฆเนศวร์ อัคนีพงษ์ ความเป็นมา พระยาพิไชยรณรงค์สงคราม (ดิศ) ผู้ว่าราชการเมืองพิจิตร ได้ทราบข่าวว่ามีช้างสีประหลาดหนึ่งเชือก อยู่ในโขลงช้างเถื่อนที่เที่ยวไปมาในป่าแขวงเมืองพิจิตร ที่ติดต่อก ับเมืองนครสวรรค์ จึงสืบสวนได้ความตรงก ันจากพระภิกษุรูปหนึ่ง กานัน และพวกชาวป่า ดังนั้น จึงนาความแจ้งต่อกระทรวงมหาดไทย เมื่อเดือนมีนาคม ร.ศ.129 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จึงนาความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท แล้วจึงมีตราพระราชสีห์สั่งข้าหลวงเทศาภิบาล มณฑลพิษณุโลกและนครสวรรค์ ให้จัดช้างต่อหมอควาญ แบ่งเป็น 2 กอง ฝ่ายของมณฑลพิษณุโลกให้พระยาพิไชยรณรงค์สงครามคุมไป ส่วนฝ่ายกองมณฑลนครสวรรค์ให้พระยายอดเมืองขวาง (แม้น)1 เป็นผู้ควบคุม -------------------------------------------- 1 ขณะนั้นเป็น พระเฑียรฆราษ ปลัดมณฑล
  • 3. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) 2. การอ้างอิงระบบนาม-ปี หรือระบบ APA คือ การอ้างอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหา ส่วนประกอบของรายการอ้างอิงแบบนาม-ปี มีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน คือ 1. ผู้แต่ง/ผู้ผลิต/ผู้ให้ข้อมูล 2. ปีที่พิมพ์/ปีที่ผลิต/ปีที่ปรากฎข้อมูล /ปีที่เข้าถึงข้อมูล (กรณีเป็นข้อมูลจาก WWW และไม่ปรากฏปีที่ผลิต/ปีเผยแพร่ข้อมูล) 3. เลขหน้าที่ใช้ในการอ้างอิง (ชื่อผู้แต่ง, ปีพิมพ์: เลขหน้า) 3. การอ้างอิงในส่วนของบรรณานุกรมบรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ และสื่ออีเล็กทรอนิกส์ ที่นามาเป็นหลักฐานอ้างอิงในการเขียนรายงาน โดยเรียงตามลาดับอักษรไว้ท้ายเรื่อง หลักการเขียนบรรณานุกรม 1. เขียนไว้ในส่วนท้ายของรายงาน 2. เขียนเรียงลาดับอักษรชื่อผู้แต่ง ในกรณีที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เขียนบรรณานุกรมภาษาไทยก่อน 3. บรรทัดแรกของบรรณานุกรมชิดด้านซ้ายที่เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา 1.5 นิ้ว ถ้ายังไม่จบ เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 ช่วงตัวอักษรของบรรทัดแรก ให้เขียนตรงกับช่วงตัวอักษรที่ 8 หลักการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม การให้บริการสื่อสารที่เป็นสากลมีความจาเป็นต้องอยู่ภายใต้ความร่วมมือของนานาชาติที่เป็นสมาชิก เพื่อหาข้อตกลงด้านต่าง ๆ ตลอดจนการออกแบบส่วนต่าง ๆ เพื่อให้สามารถให้บริการสื่อสารแก่มวลสมาชิกได้ องค์กรหลักสององค์กรที่ให้บริการสื่อสารดาวเทียมสากล คือ INTELSATและINTERSPUTNIK ที่มีสมาชิก 118และ 14 ประเทศตามลาดับ (รัชนัย อินทุใส,2538: 4-5)
  • 4. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) 1. ผู้แต่งเป็นชาวต่างชาติ(ยุโรป,อเมริกา) ให้เอานามสกุลขึ้นก่อน 2. ชื่อผู้แต่งให้ลงเฉพาะชื่อเท่านั้น ยศ ตาแหน่งไม่ต้องลง 3. ผู้แต่งหลายคนให้ใช้ผู้แต่งคนแรกคนเดียวและผู้แต่งอาจไม่ใช่ชื่อบุคคลเสมอไป(ชื่อหน่วยงาน, นามปากกา) 4. ถ้าชื่อเรื่องยาวมาก ให้ตัดเฉพาะที่พอเข้าใจ แต่ไม่สั้นเกินไป 5. สถานที่พิมพ์คือ จังหวัดของสานักพิมพ์เช่น กรุงเทพมหานคร ชลบุรี 6. ถ้าไม่ปรากฏหรือไม่มีสานักพิมพ์ ให้ใช้คาว่า มปพ. 7. ถ้าไม่ปรากฏหรือไม่มีปีที่พิมพ์ ให้ใช้คาว่า มปป. 1. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมหนังสือ รูปแบบ ผู้แต่ง.(ปีพิมพ์).ชื่อหนังสือ.ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). สถานที่พิมพ์:สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์. ตัวอย่าง ศุภกิจ ไชยวิรัตน์. (2542). ประเพณีผีตาโขน : การละเล่นพื้นบ้านของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นวการพิมพ์. ผู้แต่งคนเดียว สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2535). ขนบธรรมเนียมประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงานหรือสถาบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2526). กฎหมายลิขสิทธิ์กับธุรกิจวิดีโอในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไม่ปรากฏผู้แต่ง(ใส่ชื่อเรื่องได้เลย) สมเด็จพระปิยมหาราชกับนักเขียนฝรั่งเศส. ( ม.ป.ป.). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเอกชนพัฒนาภูมิภาค.
  • 5. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) 2. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ระบบออนไลน์ (Online) หรืออินเทอร์เน็ต รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.(ปีที่เผยแพร่).“ชื่อบทความ.”เข้าถึงได้จาก : แหล่งสารสนเทศ ทางอินเตอร์เน็ต. ( วันที่ค้นข้อมูล: วันที่ เดือน ปี). ตัวอย่าง ชวนะ ภวกานนท์.(2548).“ธุรกิจสปาไทยน่าจะก้าวไกลไปกว่านี้.” เข้าถึงได้จาก :http://www.businesstgai.co.th. (วันที่ค้นข้อมูล: 25 ธันวาคม2548). มีชื่อคนเขียนบทความ ไม่มีชื่อคนเขียนบทความ
  • 6. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) 3. โครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมวารสาร รูปแบบมีชื่อผู้เขียนบทความ ผู้เขียนบทความ.(ปีพิมพ์)."ชื่อบทความ.”ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่, ฉบับที่:เลขหน้า. ตัวอย่าง นฤตย์ กิจไชยวัฒนะ. (2543). “การอ้างอิงแหล่งสารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์.” วารสารห้องสมุด 27, 2: 14-28. รูปแบบที่ไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความ.”(ปีพิมพ์).ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่,ฉบับที่:เลขหน้า. ตัวอย่าง “เปิดมิติธุรกิจขายข้อมูลความต้องการแห่งยุคสมัย.”(2534). คลังสมอง 5,96:39-66.
  • 7. ใบความรู้เรื่อง การเขียนรายการอ้างอิง วิชา สารนิเทศเพื่อการค้นคว้า (ง30222) 4. โครงสร้างและรูปแบบบรรณานุกรมหนังสือพิมพ์ รูปแบบมีชื่อผู้เขียนบทความ ผู้เขียนบทความ.วันเดือน ปี."ชื่อบทความหรือชื่อข่าว.”ชื่อหนังสือพิมพ์: เลขหน้า. ตัวอย่าง อัครพงศ์ ผ่องสุวรรณ. 22-25มิถุนายน 2543. “อินเทอร์เน็ต 2000 มิติใหม่แห่งเทคโนโลยีและบริการ.” ประชาชาติธุรกิจ:26-27. รูปแบบที่ไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความหรือข่าว.”วันเดือน ปี.ชื่อหนังสือพิมพ์:เลขหน้า. ตัวอย่าง Macintyre, Donald. 2000,April 3. “Verdict on Kim.” Time: 14-18. “ผ่าแผนบุกดาวอังคารความลับจักรวาล.” 26มิถุนายน2543. มติชน: 7.