SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
นักเรียนรู้ไหมคะว่า 
องค์ประกอบของ 
เรียงความมี 
อะไรบ้าง
1. นักเรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบของ 
เรียงความได้ 
2. นักเรียนสามารถจาแนกองค์ประกอบของ 
เรียงความได้ 
3. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
การเขียนเรียงความนั้น ผู้เขียนจะต้องคานึงถึง 
องค์ประกอบของเรียงความเป็นสาคัญ ซึ่งเป็นรูปแบบที่จะต้อง 
เขียนให้ครบทุกส่วน เรียงความประกอบด้วยส่วนสาคัญ 
3 ส่วน คือ คานา เนื้อเรื่อง และสรุป ดังนี้ 
คานา 
ผู้เขียนจะต้องเขียนจูงใจให้ผู้อ่านสนใจอ่านเนื้อเรื่อง 
อาจนาด้วยสานวนภาษา คาคม บทร้อยกรอง หรือคาถาม 
ชวนให้ติดตามหาคาตอบ โดยพยายามให้เชื่อมโยงไปสู่ 
เนื้อเรื่อง
เนื้อเรื่อง 
ผู้เขียนจะต้องเรียบเรียงถ้อยคาสานวนในการเสนอ 
ข้อเท็จจริง และรายละเอียดที่สอดคล้องกับชื่อเรื่องหรือ 
แนวคิดของเรื่องที่กาลังเขียน การลาดับความมีความสาคัญ 
มาก หากมีเรื่องที่จะกล่าวถึงหลายเรื่องให้จัดลาดับ และ 
เขียนเป็นย่อหน้า โดยแต่ละย่อหน้ามีใจความสาคัญเพียง 
ใจความเดียว ความของแต่ละย่อหน้าต้องต่อเนื่องเป็น 
เรื่องเดียวกัน เนื้อเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ
1. มีเอกภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องที่เขียนต้อง 
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่ออกนอกประเด็น 
2. มีสัมพันธภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องต้องมี 
ความสัมพันธ์กันตลอดทั้งเรื่อง มีการลาดับความคิด 
ลาดับเนื้อเรื่องต่อเนื่องกัน 
3. มีสารัตถภาพ หมายถึง การเขียนเรียงความ 
ต้องมีเนื้อหาสาระที่ถูกต้อง มีใจความสาคัญของเรื่อง 
ที่เด่นชัด สื่อความหมายได้ชัดเจน
สรุป 
ผู้เขียนจะต้องสรุปความคิดและความ 
ต้องการของผู้เขียน อาจนาสุภาษิต คาคม 
บทร้อยกรองที่สอดคล้องกับแนวคิดหรือ 
เนื้อเรื่องมาปิดท้าย
ตัวอย่างการเขียนเรียงความ 
ตามรอยพระบาท ช่วยชาติได้อย่างไร 
คานา 
“พระเจ้าอยู่หัวและพระราชินี” ได้ทรงพัฒนา 
ชาติบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขตลอดมา ทงั้สองพระองค์ทรง 
มีพระราชจริยวัตรอันงดงาม ซึ่งทรงเป็นแบบอย่างให้ 
ประชาชนเดินตามรอยพระบาท
เนื้อเรื่อง 
ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจที่สาคัญต่อชาติบ้านเมืองอยู่ 
มากมาย ทั้งในด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ด้านศาสนา ด้าน 
ศิลปวัฒนธรรม พระองค์ทรงจัดตงั้โครงการมากกว่า 3,000 โครงการ 
โครงการที่สาคัญคือ โครงการ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งทาให้ประชาชนมี 
ความพออยู่ พอกิน พอใช้ ทงั้ยังได้ช่วยชาติบ้านเมืองโดยการไม่ใช้จ่าย 
ฟุ่มเฟือย แล้วยังมีผลผลิตออกจาหน่ายสู่ตลาด อีกด้วย ทงั้สองพระองค์ 
ทรงประหยัดอย่างมาก ทา ให้ประชาชนเห็นแบบอย่างแล้วทา ตาม เพื่อพัฒนา 
บ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรือง โดยไม่ต้องพึ่งพาของต่างประเทศเมื่อสินค้า 
ขาดตลาด เพราะเราช่วยกันประหยัด ทงั้สองพระองค์จึงมีคุณค่าอเนกอนันต์ 
ดุจดังเพชรที่เปล่งประกายเจิดจรัส เพื่อให้พลอยที่อยู่รายล้อมส่องแสงสุก 
สกาวไปด้วย
สรุป 
ด้วยทั้งสองพระองค์ทรงเป็นแบบอย่างเพื่อช่วยพัฒนาชาติ 
บ้านเมือง พวกเราชาวไทยจึงควรตามรอยพระบาทเพื่อช่วยพัฒนาชาติ 
บ้านเมืองเช่นกัน และด้วยความที่ทั้งสองพระองค์ทรงเป็นแบบอย่างให้ 
ชาวไทยช่วยกันทาให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง ขอให้พระองค์ทรงพระ 
เจริญยิ่งยืนนาน เป็นแบบอย่างของประชาชนชาวไทยตราบนานแสน 
นาน 
ด.ญ.เนตรชนก ปิยะพันธุ์ 
ชนั้ ป.6 โรงเรียนวัดไทร (สินศึกษาลัย) 
(ผลงานชนะเลิศ รางวัลที่ 1 การประกวดคาประพันธ์ ประเภท 
เรียงความเรื่อง “ตามรอยพระบาท ช่วยชาติได้อย่างไร”)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 

Viewers also liked (9)

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 

Similar to หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ

หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 

Similar to หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ (20)

หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความการเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความ
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 

หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ

  • 2. 1. นักเรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบของ เรียงความได้ 2. นักเรียนสามารถจาแนกองค์ประกอบของ เรียงความได้ 3. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
  • 3. การเขียนเรียงความนั้น ผู้เขียนจะต้องคานึงถึง องค์ประกอบของเรียงความเป็นสาคัญ ซึ่งเป็นรูปแบบที่จะต้อง เขียนให้ครบทุกส่วน เรียงความประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ คานา เนื้อเรื่อง และสรุป ดังนี้ คานา ผู้เขียนจะต้องเขียนจูงใจให้ผู้อ่านสนใจอ่านเนื้อเรื่อง อาจนาด้วยสานวนภาษา คาคม บทร้อยกรอง หรือคาถาม ชวนให้ติดตามหาคาตอบ โดยพยายามให้เชื่อมโยงไปสู่ เนื้อเรื่อง
  • 4. เนื้อเรื่อง ผู้เขียนจะต้องเรียบเรียงถ้อยคาสานวนในการเสนอ ข้อเท็จจริง และรายละเอียดที่สอดคล้องกับชื่อเรื่องหรือ แนวคิดของเรื่องที่กาลังเขียน การลาดับความมีความสาคัญ มาก หากมีเรื่องที่จะกล่าวถึงหลายเรื่องให้จัดลาดับ และ เขียนเป็นย่อหน้า โดยแต่ละย่อหน้ามีใจความสาคัญเพียง ใจความเดียว ความของแต่ละย่อหน้าต้องต่อเนื่องเป็น เรื่องเดียวกัน เนื้อเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ
  • 5. 1. มีเอกภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องที่เขียนต้อง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่ออกนอกประเด็น 2. มีสัมพันธภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องต้องมี ความสัมพันธ์กันตลอดทั้งเรื่อง มีการลาดับความคิด ลาดับเนื้อเรื่องต่อเนื่องกัน 3. มีสารัตถภาพ หมายถึง การเขียนเรียงความ ต้องมีเนื้อหาสาระที่ถูกต้อง มีใจความสาคัญของเรื่อง ที่เด่นชัด สื่อความหมายได้ชัดเจน
  • 6. สรุป ผู้เขียนจะต้องสรุปความคิดและความ ต้องการของผู้เขียน อาจนาสุภาษิต คาคม บทร้อยกรองที่สอดคล้องกับแนวคิดหรือ เนื้อเรื่องมาปิดท้าย
  • 7. ตัวอย่างการเขียนเรียงความ ตามรอยพระบาท ช่วยชาติได้อย่างไร คานา “พระเจ้าอยู่หัวและพระราชินี” ได้ทรงพัฒนา ชาติบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขตลอดมา ทงั้สองพระองค์ทรง มีพระราชจริยวัตรอันงดงาม ซึ่งทรงเป็นแบบอย่างให้ ประชาชนเดินตามรอยพระบาท
  • 8. เนื้อเรื่อง ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจที่สาคัญต่อชาติบ้านเมืองอยู่ มากมาย ทั้งในด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ด้านศาสนา ด้าน ศิลปวัฒนธรรม พระองค์ทรงจัดตงั้โครงการมากกว่า 3,000 โครงการ โครงการที่สาคัญคือ โครงการ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งทาให้ประชาชนมี ความพออยู่ พอกิน พอใช้ ทงั้ยังได้ช่วยชาติบ้านเมืองโดยการไม่ใช้จ่าย ฟุ่มเฟือย แล้วยังมีผลผลิตออกจาหน่ายสู่ตลาด อีกด้วย ทงั้สองพระองค์ ทรงประหยัดอย่างมาก ทา ให้ประชาชนเห็นแบบอย่างแล้วทา ตาม เพื่อพัฒนา บ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรือง โดยไม่ต้องพึ่งพาของต่างประเทศเมื่อสินค้า ขาดตลาด เพราะเราช่วยกันประหยัด ทงั้สองพระองค์จึงมีคุณค่าอเนกอนันต์ ดุจดังเพชรที่เปล่งประกายเจิดจรัส เพื่อให้พลอยที่อยู่รายล้อมส่องแสงสุก สกาวไปด้วย
  • 9. สรุป ด้วยทั้งสองพระองค์ทรงเป็นแบบอย่างเพื่อช่วยพัฒนาชาติ บ้านเมือง พวกเราชาวไทยจึงควรตามรอยพระบาทเพื่อช่วยพัฒนาชาติ บ้านเมืองเช่นกัน และด้วยความที่ทั้งสองพระองค์ทรงเป็นแบบอย่างให้ ชาวไทยช่วยกันทาให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง ขอให้พระองค์ทรงพระ เจริญยิ่งยืนนาน เป็นแบบอย่างของประชาชนชาวไทยตราบนานแสน นาน ด.ญ.เนตรชนก ปิยะพันธุ์ ชนั้ ป.6 โรงเรียนวัดไทร (สินศึกษาลัย) (ผลงานชนะเลิศ รางวัลที่ 1 การประกวดคาประพันธ์ ประเภท เรียงความเรื่อง “ตามรอยพระบาท ช่วยชาติได้อย่างไร”)