SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
&
แผนพัฒนาจังหวัดซึ่งเน้นระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
การเกษตรและความหลากหลายทางชีวภาพ(Agricalture and biodiversity)
เป็นแนวคิดที่มองความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นฐานของผลผลิตทางการเกษตร และอาหาร
ที่ปลอดภัย พร้อมกับการคานึงถึงสภาพความอ่อนไหวของระบบนิเวศน์
คาว่า การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย (Agrobiodiversity) ครอบคลุมถึง ความ
หลากหลายของพันธ์พืช สัตว์ สิ่งมีชีวิตในดิน แมลง และรุกขชาติ สัตว์ที่มีในท้องถิ่น และมี
ความสามารถจัดการตนเองได้ในระบบนิเวศน์ ทั้งนี้รวมถึง ถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ
การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ ระบบนิเวศน์ และผลประโยชน์ทาง
สังคม
รูปแบบของการทาการเกษตร มีทั้งการเกษตรและปศุสัตว์ ที่ผสมผสานความหลากหลายของ
พืชผล ไม้ยืนต้น สัตว์เลี้ยงและสัตว์ที่มีอยู่ในระบบนิเวศน์
ประเภทของการเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย ได้แก่ เกษตรสวนป่ า การเกษตรข้ามพันธ์ การปลูก
พืชหมุนเวียน เป็นต้น
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย สามารถ ให้ทั้งอาหาร ผลผลิตทางการเกษตร ที่มีความหลากหลายของ
ยีนส์ สายพันธ์ และมีผลดีต่อระบบนิเวศน์ และประโยชน์หลายประการ ได้แก่
การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร พืชผลและอาหารที่ปลอดสารเคมี
สร้างความมั่นคง ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และให้ความยั่งยืนแก่ระบบการเกษตร
สามารถจัดการกับสิ่งรบกวนต่อกิจกรรมการเกษตร
อนุรักษ์ดิน เพิ่มปริมาณสารอาหารในดิน ทาให้ดินมีคุณภาพ
สร้างรายได้ให้แก่ผู้ทาการเกษตร
เพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตร
ลดความเสี่ยงทั้งในระดับบุคคล ชุมชนและระดับชาติ
สามารถเพิ่ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร และฟื้นฟูระบบนิเวศน์
ลดแรงกดดันที่มีต่อการเกษตรในพื้นที่เปราะบาง ป่ าไม้ และสายพันธ์ที่กาลังอยู่ในสภาวะอันตราย
ลดการพึ่งพาภายนอก
ทาให้เกิดสุขภาวะที่ดี จากแหล่งอาหารที่เป็นยา แร่ธาตุและวิตามิน
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
แนวคิดและหลักการของเกษตรผสมผสาน(Integrated Farming)
ระบบความหลากหลายและระบบการพึ่งพาภายในของพืชและ/หรือสัตว์ ตั้งแต่ 2 อย่างขึ้นไปในสถานที่และ
เวลาเดียวกัน
แนวคิดในประเทศไทยคือเกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรผสมผสานคือ การผสมผสานที่เหมาะสมต่อ เกษตรที่ปลูกพืชและสัตว์เศรษฐกิจ สามารถจัดการให้
เกิดความสมดุลระหว่างผลผลิต การจัดสรรทรัพยากรที่ดิน น้าและทรัพยากรอื่นๆ เช่น การใช้วัตถุดิบซ้า
จากวงจรการผลิต การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรจากผลผลิตในระบบนิเวศน์เดียวกัน
เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์
รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน
การผสมผสานของพืช
การผสมผสานของสัตว์
การผสมผสานกันระหว่าพืชและสัตว์
ลักษณะหลักๆ ของการเกษตรผสมผสาน ประกอบด้วย ระบบรองที่เป็นหลักสาคัญ
ระบบรอง- พืชผล(Fruit Subsystem)
เป็นระบบรองที่เป็นหลักในเกษตรผสมผสาน ไม้ผลเป็นพันธ์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ทั้งพื้นที่ในท้องถิ่นและพื้นที่ที่เป็นทุ่ง
หญ้าต่างๆ เช่น กล้วย ลองก็อง มังคุด ทุเรียน หมากเม่าหรือมะเม่ามะม่วง ลิ้นจี่ ฝรั่ง น้อยหน่า(Custard appl) มะขาม
(Sweet tamarind) และไม้ผลอื่นๆ
ระบบรอง- ผักสวนครัว (Vegetable Subsystem)
ปลูกผสมผสานไปกับไม้ผล พืชผักสวนครัวสามารถเติบโตใต้ร่มใบของไม้ผลได้ มีอายุการเจริญเติบโตสั้น และรวดเร็ว
โดยปลูกในแถวของพืชไม้ผล พืชสวนครัวนอกจากนามาเป็นอาหารประจาวันของคนไทยแล้วยังสามารถเป็นพืชเศรษฐกิจสร้าง
รายได้แก่ครัวเรือนได้ดี
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
หมากเม่าหรือมะเม่า มะละกอแซมยางพารากล้วยแซมมะพร้าว
ระบบรอง- ไม้ยืนต้น(Tree Subsystem)
เริ่มต้นของเกษตรผสมผสาน ไม้ยืนต้นจะไม่มีความสาคัญในด้านเศรษฐกิจและความเป็นแหล่ง
บริโภคมากนัก แต่ในระยะยาวไม้ยืนต้นจะสามารถเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ รวมทั้งสามารถ
นามาใช้ประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของคนในครัวเรือน เช่น ไม้สัก(Teak) ไผ่ กระถิ่นณรงค์สะเดา
เป็นต้น
ไม้ยืนต้นจะเป็นเงื่อนไขต่อระบบนิเวศน์ ทาให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น แมลง สัตว์
ต่างๆจะเข้ามาอาศัยอยู่ ในสวนผสมมากขึ้นเมื่อเกิดความสมบูรณ์ของสวนผสมหรือสวนป่ า
ระบบรอง- แหล่งสะสมผลผลิต(Livestock Subsystem)
สิ่งสาคัญอย่างหนึ่งต่อการทาสวนผสมระดับครัวเรือนคือ คลังสะสมผลผลิตเพื่อการดารงชีวิต
หรือบริโภค(Livestock) เป็นสถานที่เก็บผลผลิตสาหรับบริโภคในครัวเรือน เลี้ยงสัตว์ และ/
หรือเก็บปุ๋ ยธรรมชาติเป็นต้น
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน
การผสมผสานบนพื้นฐานของพืช
เป็นกิจกรรมการปลูกพืชที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่น ข้าว ข้าวโพด เป็นสิ่งที่ทารายได้หลัก
ให้แก่ครัวเรือน และรายได้รองมาจากกิกจกรรมในรูปแบบอื่นๆ
การผสมผสานบนพื้นฐานของสัตว์
เป็นกิจกรรมที่มีรายได้หลักจากปศุสัตว์ ในขณะที่การปลูกพืชที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็น
รายได้รอง
การผสมผสานกันระหว่างพืชและสัตว์
เป็นกิจกรรมการทาประมงน้าจืดหรือน้าเค็ม เช่น การทาบ่อเลี้ยงปลา การเลี้ยงปลาในกระชัง
ซึ่งจะมีรายได้หลักจากิจกรรมดังกล่าว และรายได้รองจากกิจกรรม พืชไร่ พืชสวน ปศุสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ประโยชน์จากเกษตรผสมผสาน
ระดับครัวเรือน
สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง
เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงโครงสร้างดิน เพิ่มปุ๋ ยธรรมชาติในดิน
เป็นการทางานที่ต่อเนื่องสร้างรายได้ประจาให้กับครัวเรือน
สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งตกค้าง และนาไปใช้ประโยชน์ต่อวงจรอาหารในการเกษตรผสมผสาน
ทาให้เกิดความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพการเกษตร
ระดับชาติ
ลดการบริโภคในภาคการเกษตร
ลดอัตราการอพยพจากชนบทสู่เมือง
ลดการใช้ปุ๋ ยเคมี และลดการสั่งเข้าปุ๋ ยเคมีจากต่างประเทศ
ลดอัตรารายได้ที่ไม่แน่นอนของภาคเกษตร ทั้งยังเกิดการส่งเสริมให้เกิดการรักษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
เกษตรผสมผสานในความหมายของนานาชาติ
นิยามของเกษตรผสมผสานขององค์กรระหว่างประเทศเช่น องค์กรเพื่อบูรณาการทาง
ชีวภาพและการควบคุมการใช้สารเคมีในพืชและสัตว์(Organization for Biological and
Integrated Control of Noxious Animals and Plants West Palaeartic Section;
IOBC/WPRS,1993)
การบูรณาการทรัพยากรธรรมชาติและกลไกธรรมชาติในกิจกรรมการทาไร่เพื่อนามาแทนที่การ
ทาไร่แบบปิด
การผลิตผลผลิตที่มีความปลอดภัยแบบยั่งยืน เป็นผลผลิตด้านอาหารที่มีคุณภาพสูงภายใต้ระบบ
นิเวศน์ที่สมบูรณ์
ความยั่งยืนของรายได้
ความยั่งยืนของการเกษตรที่มีหน้าที่เชิงซ้อน
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
การนาการเกษตรผสมผสานหรือเกษตรธรรมชาติมาใช้พัฒนาชุมชน
แผนโดยชุมชน ; การถกประเด็นปัญหาที่สาคัญเช่น จุดอ่ออนของชุมชน
ระบบชลประทานที่ไร้ประสิทธิภาพ การขาดแคลนน้าในฤดูร้อน
ดินขาดสารอาหาร
ความไม่สามารถเข้าถึงระบบไฟฟ้ า
ขาดการเชื่อมต่อของระบบขนส่งจากพื้นที่การเกษตรสู่ตลาด
การคืนทุนจากผลการเกษตรมีระยะเวลายาวนาน
การขาดแคลนแรงงาน
การเงินลงทุน
ไม่มีระบบตลาด
สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาในเชิงจุดอ่อน
สิ่งที่สามารถนามาแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร
เกษตรผสมผสาน
การบริหารจัดการพื้นที่การเกษตร
การจัดสรรพื้นที่ทากินเป็นแหล่งน้าเพื่อการชลประทานภายในครัวเรือนของแต่ละครัวเรือน
ในชุมชน
การสนับสนุนของภาครัฐ
ในระดับชาติ นโยบายระดับชาติเพื่อการพัฒนาการเกษตรธรรมชาติ
ระดับภูมิภาค นโยบายการพัฒนาเพื่อแก้ไขจุดอ่อนภายในท้องถิ่นและการสนับสนุนให้เกิด
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ระดับท้องถิ่น การสนับสนุนส่งเสริมภาคการเกษตรให้เกิดความยั่งยืน
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
ตัวแบบภาครัฐ-ชุมชนเพื่อ การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น
ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม
Biodiversity and Integrated Farming
รัฐบาลระดับชาติ
การสนับสนุทางการเมือง
ข่าวสารข้อมูลและสิ่งสนับสนุนอื่นๆ
-สิ่งกระตุ้นให้ท้องถิ่นมีการพัฒนาตนเอง
-ยกระดับความต้องการและจิตวิญญาณให้เพิ่มขึ้น
- ให้ข่าวสารข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม
ชุมชน
- การพัฒนาและกาลังอานาจทางการเมือง
ตัวแทนสาธารณะท้องถิ่นและ
บุคลากรในระดับรากหญ้า
องค์กรที่มีความคล่องตัว(Organizational Streamline)
-การเมืองและสิ่งกระตุ้นทางเศรษฐกิจ
-กลยุทธ์ในการใช้ทรัพยากร
การผลักดันให้เกิดการตรวจสอบติดตาม
การปฏิบัติตามนโยบายของภาครัฐ
แผนกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมของไทย...จังหวัด..................
วิสัยทัศน์(Vision) เป้ าหมาย(Goal) ประเด็นกลยุทธ์
(Strategic Issues)
กลยุทธ์(Strategies) โครงการ(Projects)
แผนยุทธศาสตร์จังหวัด.................
เมืองที่เป็ นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม
เมืองสะอาดน่าอยู่
สภาพแวดล้อมดี
เมืองประวัติศาสตร์/
เมืองที่เป็ นมิตร,ศูนย์กลาง
การสัมมนาและปฏิสัมพันธ์
ผักผลไม้และผลผลิตปลอด
สารเคมีอุตสาหกรรมเป็ น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม
แหล่งดึงดูดการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
เพิ่มรายได้จาก
ผลผลิตการเกษตร
ปลอดสารเคมีสู่ตลาด
ภายในและภาย
นอกประเทศ
สร้างค่านิยมความ
เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
แหล่งสัมมนา/
การปฏิสัมพันธ์
พืชไร่พืชผล
ปลอสารเคมีสู่
ตลาดภายใน
และภายนอก
ประเทศ
ส่งเสริมอุตสา
หกรรมเบา
และขนาด
ย่อมSMEs)
แผนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
แผนพัฒนาการใช้ที่ดินและ
แม่น้าสายหลัก
นาการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมมาใช้ควบคุมดูแล
ตลาดการท่องเที่ยวส่งเสริม
การประชุมมสัมมนา การปฏิสัม
พันธ์ ส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศน์(ทะเล ป่ า ภูเขา
ควบคุมมาตรฐานผลผลิต
ทางการเกษตรปลอดสาร
พิษเพื่อการส่งออก
ปรับปรุงการจัดการการท่องเที่ยว
ส่งเสริมการเกษตรปลอดสาร
พิษเพื่อการบริโภคภายใน
ส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่
สะอาดของอุตสาหกรรม
โครงการวางแผนเมือง
1.โครงการอนุรักษ์แม่น้า
2.โครงการอนุรักษ์ป่ าชายเลน
3.โครงการติดตามคุณภาพน้าชายฝั่งทะเล
4. โครงการป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
1.โครงการพัฒนาเมืองและการอนุรักษ์
2.โครงการศึกษาความเป็ นไปได้ด้านการท่องเที่ยวและการขนส่ง
3.โครงการนาเสนอสินค้า ส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวเพื่อการ
สัมมนาและประชุม
4.โครงการส่งเสริมตลาดนักท่องเที่ยว
5.โครงการปรับปรุงชายหาด
7.โครงการปรับปรุงจังหวัดให้สดใส
8.โครงการปรับปรุงผลผลิตการทอผ้าศิลา
โครงการปรับปรุงศูนญ์บริการนักท่องเที่ยว
โครงการควบคุมมาตรฐานคุณภาพไก่ กุ้ง
กล้วยหอมทองปลอดสารเคมีเพื่อส่งออก
โครงการปรับปรุงการควบคุมคุณภาพผักผลไม้
ปลอดสารเคมีเพื่อการบริโภคภายในเคมี
โครงการประชาสัมพันธ์ ให้คาปรึกษาและบริการด้าน
การลงทุนตามยุทธศาสตร์การ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมบ้านที่ดิน การจัดโซน
อุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมขนาดเล็ก0
โครงการฝึ กอบรมเทคโนโลยีที่สะอาด
THE END

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Viewers also liked (10)

กฎหมายครอบครัว การหมั้น
กฎหมายครอบครัว การหมั้นกฎหมายครอบครัว การหมั้น
กฎหมายครอบครัว การหมั้น
 
เอกสารหมายเลข มคอ 3
เอกสารหมายเลข มคอ 3เอกสารหมายเลข มคอ 3
เอกสารหมายเลข มคอ 3
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
กบคอนโด
กบคอนโดกบคอนโด
กบคอนโด
 
กบคอนโด
กบคอนโดกบคอนโด
กบคอนโด
 
น้ำส้มควันไม้
น้ำส้มควันไม้น้ำส้มควันไม้
น้ำส้มควันไม้
 
เอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญาเอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญา
 
สุภาษิตกฎหมาย
สุภาษิตกฎหมายสุภาษิตกฎหมาย
สุภาษิตกฎหมาย
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
ผักปลอดสารพิษ
ผักปลอดสารพิษผักปลอดสารพิษ
ผักปลอดสารพิษ
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

ความหลากหลายทางชีวภาพกับ สวนผสม Biodiversity and Integrated Farming

  • 1. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming & แผนพัฒนาจังหวัดซึ่งเน้นระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 2. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming การเกษตรและความหลากหลายทางชีวภาพ(Agricalture and biodiversity) เป็นแนวคิดที่มองความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นฐานของผลผลิตทางการเกษตร และอาหาร ที่ปลอดภัย พร้อมกับการคานึงถึงสภาพความอ่อนไหวของระบบนิเวศน์ คาว่า การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย (Agrobiodiversity) ครอบคลุมถึง ความ หลากหลายของพันธ์พืช สัตว์ สิ่งมีชีวิตในดิน แมลง และรุกขชาติ สัตว์ที่มีในท้องถิ่น และมี ความสามารถจัดการตนเองได้ในระบบนิเวศน์ ทั้งนี้รวมถึง ถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ ระบบนิเวศน์ และผลประโยชน์ทาง สังคม รูปแบบของการทาการเกษตร มีทั้งการเกษตรและปศุสัตว์ ที่ผสมผสานความหลากหลายของ พืชผล ไม้ยืนต้น สัตว์เลี้ยงและสัตว์ที่มีอยู่ในระบบนิเวศน์ ประเภทของการเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย ได้แก่ เกษตรสวนป่ า การเกษตรข้ามพันธ์ การปลูก พืชหมุนเวียน เป็นต้น
  • 3. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming การเกษตรชีวภาพที่หลากหลาย สามารถ ให้ทั้งอาหาร ผลผลิตทางการเกษตร ที่มีความหลากหลายของ ยีนส์ สายพันธ์ และมีผลดีต่อระบบนิเวศน์ และประโยชน์หลายประการ ได้แก่ การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร พืชผลและอาหารที่ปลอดสารเคมี สร้างความมั่นคง ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และให้ความยั่งยืนแก่ระบบการเกษตร สามารถจัดการกับสิ่งรบกวนต่อกิจกรรมการเกษตร อนุรักษ์ดิน เพิ่มปริมาณสารอาหารในดิน ทาให้ดินมีคุณภาพ สร้างรายได้ให้แก่ผู้ทาการเกษตร เพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตร ลดความเสี่ยงทั้งในระดับบุคคล ชุมชนและระดับชาติ สามารถเพิ่ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร และฟื้นฟูระบบนิเวศน์ ลดแรงกดดันที่มีต่อการเกษตรในพื้นที่เปราะบาง ป่ าไม้ และสายพันธ์ที่กาลังอยู่ในสภาวะอันตราย ลดการพึ่งพาภายนอก ทาให้เกิดสุขภาวะที่ดี จากแหล่งอาหารที่เป็นยา แร่ธาตุและวิตามิน
  • 4. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming แนวคิดและหลักการของเกษตรผสมผสาน(Integrated Farming) ระบบความหลากหลายและระบบการพึ่งพาภายในของพืชและ/หรือสัตว์ ตั้งแต่ 2 อย่างขึ้นไปในสถานที่และ เวลาเดียวกัน แนวคิดในประเทศไทยคือเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสานคือ การผสมผสานที่เหมาะสมต่อ เกษตรที่ปลูกพืชและสัตว์เศรษฐกิจ สามารถจัดการให้ เกิดความสมดุลระหว่างผลผลิต การจัดสรรทรัพยากรที่ดิน น้าและทรัพยากรอื่นๆ เช่น การใช้วัตถุดิบซ้า จากวงจรการผลิต การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรจากผลผลิตในระบบนิเวศน์เดียวกัน เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน การผสมผสานของพืช การผสมผสานของสัตว์ การผสมผสานกันระหว่าพืชและสัตว์
  • 5. ลักษณะหลักๆ ของการเกษตรผสมผสาน ประกอบด้วย ระบบรองที่เป็นหลักสาคัญ ระบบรอง- พืชผล(Fruit Subsystem) เป็นระบบรองที่เป็นหลักในเกษตรผสมผสาน ไม้ผลเป็นพันธ์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ทั้งพื้นที่ในท้องถิ่นและพื้นที่ที่เป็นทุ่ง หญ้าต่างๆ เช่น กล้วย ลองก็อง มังคุด ทุเรียน หมากเม่าหรือมะเม่ามะม่วง ลิ้นจี่ ฝรั่ง น้อยหน่า(Custard appl) มะขาม (Sweet tamarind) และไม้ผลอื่นๆ ระบบรอง- ผักสวนครัว (Vegetable Subsystem) ปลูกผสมผสานไปกับไม้ผล พืชผักสวนครัวสามารถเติบโตใต้ร่มใบของไม้ผลได้ มีอายุการเจริญเติบโตสั้น และรวดเร็ว โดยปลูกในแถวของพืชไม้ผล พืชสวนครัวนอกจากนามาเป็นอาหารประจาวันของคนไทยแล้วยังสามารถเป็นพืชเศรษฐกิจสร้าง รายได้แก่ครัวเรือนได้ดี ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming หมากเม่าหรือมะเม่า มะละกอแซมยางพารากล้วยแซมมะพร้าว
  • 6. ระบบรอง- ไม้ยืนต้น(Tree Subsystem) เริ่มต้นของเกษตรผสมผสาน ไม้ยืนต้นจะไม่มีความสาคัญในด้านเศรษฐกิจและความเป็นแหล่ง บริโภคมากนัก แต่ในระยะยาวไม้ยืนต้นจะสามารถเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ รวมทั้งสามารถ นามาใช้ประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของคนในครัวเรือน เช่น ไม้สัก(Teak) ไผ่ กระถิ่นณรงค์สะเดา เป็นต้น ไม้ยืนต้นจะเป็นเงื่อนไขต่อระบบนิเวศน์ ทาให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น แมลง สัตว์ ต่างๆจะเข้ามาอาศัยอยู่ ในสวนผสมมากขึ้นเมื่อเกิดความสมบูรณ์ของสวนผสมหรือสวนป่ า ระบบรอง- แหล่งสะสมผลผลิต(Livestock Subsystem) สิ่งสาคัญอย่างหนึ่งต่อการทาสวนผสมระดับครัวเรือนคือ คลังสะสมผลผลิตเพื่อการดารงชีวิต หรือบริโภค(Livestock) เป็นสถานที่เก็บผลผลิตสาหรับบริโภคในครัวเรือน เลี้ยงสัตว์ และ/ หรือเก็บปุ๋ ยธรรมชาติเป็นต้น ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming
  • 7. รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน การผสมผสานบนพื้นฐานของพืช เป็นกิจกรรมการปลูกพืชที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่น ข้าว ข้าวโพด เป็นสิ่งที่ทารายได้หลัก ให้แก่ครัวเรือน และรายได้รองมาจากกิกจกรรมในรูปแบบอื่นๆ การผสมผสานบนพื้นฐานของสัตว์ เป็นกิจกรรมที่มีรายได้หลักจากปศุสัตว์ ในขณะที่การปลูกพืชที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็น รายได้รอง การผสมผสานกันระหว่างพืชและสัตว์ เป็นกิจกรรมการทาประมงน้าจืดหรือน้าเค็ม เช่น การทาบ่อเลี้ยงปลา การเลี้ยงปลาในกระชัง ซึ่งจะมีรายได้หลักจากิจกรรมดังกล่าว และรายได้รองจากกิจกรรม พืชไร่ พืชสวน ปศุสัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming
  • 8. ประโยชน์จากเกษตรผสมผสาน ระดับครัวเรือน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงโครงสร้างดิน เพิ่มปุ๋ ยธรรมชาติในดิน เป็นการทางานที่ต่อเนื่องสร้างรายได้ประจาให้กับครัวเรือน สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งตกค้าง และนาไปใช้ประโยชน์ต่อวงจรอาหารในการเกษตรผสมผสาน ทาให้เกิดความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพการเกษตร ระดับชาติ ลดการบริโภคในภาคการเกษตร ลดอัตราการอพยพจากชนบทสู่เมือง ลดการใช้ปุ๋ ยเคมี และลดการสั่งเข้าปุ๋ ยเคมีจากต่างประเทศ ลดอัตรารายได้ที่ไม่แน่นอนของภาคเกษตร ทั้งยังเกิดการส่งเสริมให้เกิดการรักษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming
  • 9. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming เกษตรผสมผสานในความหมายของนานาชาติ นิยามของเกษตรผสมผสานขององค์กรระหว่างประเทศเช่น องค์กรเพื่อบูรณาการทาง ชีวภาพและการควบคุมการใช้สารเคมีในพืชและสัตว์(Organization for Biological and Integrated Control of Noxious Animals and Plants West Palaeartic Section; IOBC/WPRS,1993) การบูรณาการทรัพยากรธรรมชาติและกลไกธรรมชาติในกิจกรรมการทาไร่เพื่อนามาแทนที่การ ทาไร่แบบปิด การผลิตผลผลิตที่มีความปลอดภัยแบบยั่งยืน เป็นผลผลิตด้านอาหารที่มีคุณภาพสูงภายใต้ระบบ นิเวศน์ที่สมบูรณ์ ความยั่งยืนของรายได้ ความยั่งยืนของการเกษตรที่มีหน้าที่เชิงซ้อน
  • 10. ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming การนาการเกษตรผสมผสานหรือเกษตรธรรมชาติมาใช้พัฒนาชุมชน แผนโดยชุมชน ; การถกประเด็นปัญหาที่สาคัญเช่น จุดอ่ออนของชุมชน ระบบชลประทานที่ไร้ประสิทธิภาพ การขาดแคลนน้าในฤดูร้อน ดินขาดสารอาหาร ความไม่สามารถเข้าถึงระบบไฟฟ้ า ขาดการเชื่อมต่อของระบบขนส่งจากพื้นที่การเกษตรสู่ตลาด การคืนทุนจากผลการเกษตรมีระยะเวลายาวนาน การขาดแคลนแรงงาน การเงินลงทุน ไม่มีระบบตลาด สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาในเชิงจุดอ่อน
  • 11. สิ่งที่สามารถนามาแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร เกษตรผสมผสาน การบริหารจัดการพื้นที่การเกษตร การจัดสรรพื้นที่ทากินเป็นแหล่งน้าเพื่อการชลประทานภายในครัวเรือนของแต่ละครัวเรือน ในชุมชน การสนับสนุนของภาครัฐ ในระดับชาติ นโยบายระดับชาติเพื่อการพัฒนาการเกษตรธรรมชาติ ระดับภูมิภาค นโยบายการพัฒนาเพื่อแก้ไขจุดอ่อนภายในท้องถิ่นและการสนับสนุนให้เกิด การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ระดับท้องถิ่น การสนับสนุนส่งเสริมภาคการเกษตรให้เกิดความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming
  • 15. ตัวแบบภาครัฐ-ชุมชนเพื่อ การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพกับ การทาสวนผสม Biodiversity and Integrated Farming รัฐบาลระดับชาติ การสนับสนุทางการเมือง ข่าวสารข้อมูลและสิ่งสนับสนุนอื่นๆ -สิ่งกระตุ้นให้ท้องถิ่นมีการพัฒนาตนเอง -ยกระดับความต้องการและจิตวิญญาณให้เพิ่มขึ้น - ให้ข่าวสารข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม ชุมชน - การพัฒนาและกาลังอานาจทางการเมือง ตัวแทนสาธารณะท้องถิ่นและ บุคลากรในระดับรากหญ้า องค์กรที่มีความคล่องตัว(Organizational Streamline) -การเมืองและสิ่งกระตุ้นทางเศรษฐกิจ -กลยุทธ์ในการใช้ทรัพยากร การผลักดันให้เกิดการตรวจสอบติดตาม การปฏิบัติตามนโยบายของภาครัฐ
  • 16. แผนกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมของไทย...จังหวัด.................. วิสัยทัศน์(Vision) เป้ าหมาย(Goal) ประเด็นกลยุทธ์ (Strategic Issues) กลยุทธ์(Strategies) โครงการ(Projects) แผนยุทธศาสตร์จังหวัด................. เมืองที่เป็ นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เมืองสะอาดน่าอยู่ สภาพแวดล้อมดี เมืองประวัติศาสตร์/ เมืองที่เป็ นมิตร,ศูนย์กลาง การสัมมนาและปฏิสัมพันธ์ ผักผลไม้และผลผลิตปลอด สารเคมีอุตสาหกรรมเป็ น มิตรกับสิ่งแวดล้อม แหล่งดึงดูดการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เพิ่มรายได้จาก ผลผลิตการเกษตร ปลอดสารเคมีสู่ตลาด ภายในและภาย นอกประเทศ สร้างค่านิยมความ เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แหล่งสัมมนา/ การปฏิสัมพันธ์ พืชไร่พืชผล ปลอสารเคมีสู่ ตลาดภายใน และภายนอก ประเทศ ส่งเสริมอุตสา หกรรมเบา และขนาด ย่อมSMEs) แผนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน แผนพัฒนาการใช้ที่ดินและ แม่น้าสายหลัก นาการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมมาใช้ควบคุมดูแล ตลาดการท่องเที่ยวส่งเสริม การประชุมมสัมมนา การปฏิสัม พันธ์ ส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์(ทะเล ป่ า ภูเขา ควบคุมมาตรฐานผลผลิต ทางการเกษตรปลอดสาร พิษเพื่อการส่งออก ปรับปรุงการจัดการการท่องเที่ยว ส่งเสริมการเกษตรปลอดสาร พิษเพื่อการบริโภคภายใน ส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ สะอาดของอุตสาหกรรม โครงการวางแผนเมือง 1.โครงการอนุรักษ์แม่น้า 2.โครงการอนุรักษ์ป่ าชายเลน 3.โครงการติดตามคุณภาพน้าชายฝั่งทะเล 4. โครงการป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง 1.โครงการพัฒนาเมืองและการอนุรักษ์ 2.โครงการศึกษาความเป็ นไปได้ด้านการท่องเที่ยวและการขนส่ง 3.โครงการนาเสนอสินค้า ส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวเพื่อการ สัมมนาและประชุม 4.โครงการส่งเสริมตลาดนักท่องเที่ยว 5.โครงการปรับปรุงชายหาด 7.โครงการปรับปรุงจังหวัดให้สดใส 8.โครงการปรับปรุงผลผลิตการทอผ้าศิลา โครงการปรับปรุงศูนญ์บริการนักท่องเที่ยว โครงการควบคุมมาตรฐานคุณภาพไก่ กุ้ง กล้วยหอมทองปลอดสารเคมีเพื่อส่งออก โครงการปรับปรุงการควบคุมคุณภาพผักผลไม้ ปลอดสารเคมีเพื่อการบริโภคภายในเคมี โครงการประชาสัมพันธ์ ให้คาปรึกษาและบริการด้าน การลงทุนตามยุทธศาสตร์การ ส่งเสริมอุตสาหกรรมบ้านที่ดิน การจัดโซน อุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมขนาดเล็ก0 โครงการฝึ กอบรมเทคโนโลยีที่สะอาด