SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1. สารบาญ
15. ภาค 2 บทที่ 5 กฎหมายว่าด ้วยทรัพย์และทรัพย์สิน
2. ภาค2 บทที่ 5 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์และทรัพย์สิน
1. ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน
กฎหมายลักษณะทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินเป็นกฎหมายที่มี
ความสาคัญอีกทั้งเป็นกฎหมายที่เกี่ยว ข้องกับคนทุกคนอยู่ตลอดเวลาและเป็น
กฎหมายพื้นฐานที่จะต้องศึกษาก่อนที่จะศึกษากฎหมายบางเรื่อง จึงจะสามารถ
เข้าใจดี
1. ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มรตรา137 บัญญัติว่า "ทรัพย์หมายความว่า
วัตถุมีรูปร่าง" และมาตรา 138 บัญญัติว่า "ทรัพย์สินหมายความว่ารวมทั้งทรัพย์และ
วัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้"
เพื่อให้เข้าใจความหมายของคาว่า ทรัพย์และทรัพย์สิน จาเป็นต้องพิจารณา มาตรา
137 และมาตรา138 ประกอบกัน กล่าวคือ คาว่า "ทรัพย์" นอกจากจะหมายถึง
วัตถุมีรูปร่งแล้วยังต้องเป็นวัตถุมีรูปร่งซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอกได้ด้วย ส่วนคาว่า
"ทรัพย์สิน" หมายถึงวัตถุมีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอาได้ประการหนึ่ง และยัง
หมายถึงวัตถุ ไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอาได้อีกประการหนึ่ง
จะเห็นได้ว่าในเมื่อทรัพย์เป็นทรัพย์สินส่วนหนึ่ง ทรัพย์จึงต้องเป็นวัตถุมีรูปร่างซึ่ง
อาจมีราคาได้และถือเอาได้เช่นเดียวกัน
คาว่า "มีรูปร่าง" หมายถึง สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตาจับต้องสัมผัสได้เช่น โต๊ะ เก้าอี้
บ้าน เรือน
คาว่า "ไม่มีรูปร่าง" หมายถึง สิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตา จับต้องสัมผัสไม่ได้เช่น
พลังงานปรมาณู,แก๊ส,กาลังแห่งธรรมชาติ และยังได้แก่สิทธิต่างๆเกี่ยวกับทรัพย์เช่น
กรรมสิทธิ์,ลิขสิทธิ์,สิทธิบัตร
คาว่า "อาจถือเอาได้" หมายถึง เพียงแต่อาจถือเอาได้เท่านั้น มีอาการเข้าหวงกัน
ไว้เพื่อตนเอง ไม่จาเป็นต้องยึดถือจับต้องได้จริงจัง เช่น รังนกในถ้าเมื่อผู้นั้นได้
สัมปทานจากรัฐบาลย่อมมีอานาจเข้าครอบครองถ้าแสดงอาการหวงรังนก ก็เรียกได้ว่า
อาจถือเอาได้หรือสิทธิบางอย่างแม้จะจับต้องมิได้แต่ก็ยังอยู่ในลักษณะที่จะยึดถือหวง
แหนไว้เพื่อตนเองได้เช่น ลิขสิทธิ์,สิทธิในการเช่า,กระแสไฟฟ้า เป็นต้น
สิ่งสาคัญที่ต้องเน้นก็คือไม่ว่าจะเป็นวัตถุที่มีรูปร่างหรือไม่ก็ตาม จะเป็น
ทรัพย์สินได้ก็ต่อเมื่อ "อาจมีราคาและอาจถือเอาได้" ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งก็ไม่ถือ
เป็น ทรัพย์สิน เช่นมนุษย์เรา แม้จะมีรูปร่างแต่ก็ไม่อาจมีราคาซื้อขายกันได้ฉะนั้น
มนุษย์จึงไม่ใช่ทรัพย์เมื่อมนุษย์ไม่ใช่ทรัพย์ย่อมไม่ทรัพย์สินด้วย แต่หากได้มีการแยก
อวัยวะออกมาเป็นส่วนๆ จากร่างกาย เช่น ส้นผมหากได้ตัดไปขาย ตวงตาที่บุคคลขาย
หรืออุทิศแก่โรงพยาบาล ดังนี้ ย่อมมีราคาและถือเอาได้จึงเป็นทรัพย์สินได้
2. ประเภทของทรัพย์สิน
2.1 ความหมายของอสังหาริมทรัพย์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งทรัพย์ออกเป็น 5 ประเภท
1) อสังหาริมทรัพย์
2) สังหาริมทรัพย์
3) ทรัพย์แบ่งได้
4) ทรัพย์แบ่งไม่ได้
5) ทรัพย์นอกพาณิชย์
2.1 ความหมายของอสังหาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา139 บัญญัติว่า "อสังหาริมทรัพย์
หมายความว่า ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินลักษณะเป็นการถาวรหรือ
ประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ
ที่ดินหรือทรัพย์อันติด อยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย"
โดยพิจารณาแยกดังนี้
2.1.1 ที่ดิน
คือ พื้นดินทั่วๆ ไปที่มีอาณาเขต พึงกาหนดได้เป็นส่วนกว้างและส่วน
ยาว แต่ไม่รวมถึงดินทีขุดขึ้นมา แล้วย่อมไม่เป็นที่ดินต่อไป เป็นเพียง
สังหาริมทรัพย์เท่านั้น
2.1.2 ทรัพย์อันติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรได้แก่
2.1.2.1 ทรัพย์อันติดกับที่ดิน โดยธรรมชาติ เช่น ไม้ยืนต้นที่ปลูกลง
ในที่ดิน โดยไม้ยืนต้นนี้ส่วนใหญ่คือ พันธุ์ไม้ยืนต้นที่ปลูกลงในที่ดิน โดยไม้ยืน
ต้นนี้ส่วนใหญ่มีอายุยืนกว่า3 ปี เช่น ต้นพูล,มะม่วง
2.1.2.2 ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินโดยมีผู้นามาติดไว้เช่น ตึก สะพาน เจดีย์
อนุสาวรีย์หอนาฬิกา โดยการนามาติดกับที่ดิน เช่นนี้ต้อง เป็นการติดในลักษณะ
ตรึงตราแน่นหนาถาวร แต่ไม่จาเป็นต้องติดอยู่กับที่ตลอดไป และหากมีการรื้อ
ถอนจะทาทรัพย์นั้นเสีย หายทาให้บุบสลายเสียสภาพหรือเสียรูปทรง
การที่จะพิจารณาว่าเป็นทรัพย์ซึ่งติดอยู่กับที่ดินอันมีลักษณะเป็นถาวร
ให้ดูที่สภาพว่ามีลักษณะติดอยู่กับที่ดินเป็นการถาวรหรือไม่ ไม่ใช่ไปดูที่เจตนา
ติดไว้นานแค่ไหน เช่า ร้านค้าที่ปลูกในงานมหกรรมต่างๆ ชั่วระยะที่มีงาน โดยมี
การสร้างเป็นอย่างดี สามารถติดยู่เป็นการมั่นคงถาวร มีการขุดหลุมวางเสา
คอนกรีต หรือใช้ไม้อย่างดีมาเป็นโครงสร้าง เป็นต้น แต่ผู้ปลูกสร้างมีเจตนาให้
ติดอยู่กับที่ดินนี้เพียง5วัน 10 วัน ตามระยะเวลางาน กรณีเช่นนี้ยังคงถือว่าร้าน
ดังกล่าวเป็นอสังหาริมทรัพย์ด้วย
2.1.3 ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน
คือทรัพย์ที่ เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินบนพื้นโลกตามสภาพธรรมชาติ เช่น
กรวด,ทราบ,แร่โลหะต่างๆ,ห้วย,หนอง,คลอง,บึง,ทะเลสาบ
2.1.4 ทรัพย์สิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดิน
หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินทรัพยสิทธินี้ก็คือทรัพย์สิทธิที่
กฎหมายก่อตั้งไว้ใน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ4 นั้นเองไม่ว่า
จะเป็นกรรมสิทธิ์ในที่ดินสิทธิอาศัยในโรงเรียน,สิทธิครอบครองในสระในที่ดิน
ของเรา ย่อมเป็นอสังหาริมทรัพย์
2.2 ความหมายของสังหาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา140 บัญญัติว่า "สังหาริมทรัพย์หมายความว่า ทรัพย์สินอื่น
นอกจากอสังหาริมทรัพย์และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย"
มาตรา 140 นี้กาหนด ความหมายของอสังหาริมทรัพย์เป็นบทปฏิเสธของความหมายของ
อสังหาริมทรัพย์เพราะฉะนั้นอะไรก็ตามถ้าไม่เป็นอสังหาริมทรัพย์และจะต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ทั้งสิ้น
เช่น นาฬิกา,โต๊ะ,รถยนต์ตลอดจนสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย คาว่า "ทรัพย์สิน" ให้หมายรวมถึง
ทรัพย์และวัตถุมีรูปร่งซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ดังนั้น คาว่าทรัพย์สินในมาตรา140 นี้ต้องเอา
ความหมายนั้นมาพิจารณาด้วย
สิทธิในสังหาริมทรัพย์ที่มีรูปร่าง เช่น กรรมสิทธิ์ในรถยนต์เป็สิทธิกันเกี่ยวกับทรัพย์สินคือรถยนต์ดังนั้น
กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ย่อมเป็นสังหาริมทรัพย์ด้วย
สิทธิในสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง สิทธิเหล่านี้ต้องเป็นสิทธิที่กฎหมายให้การรับรองแล้ว เช่น ลิขสิทธิ์
,สิทธิบัตร สิทธิเหล่านี้เป็นทรัพย์สินซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้สิทธิเหล่านี้จึงเป็นสังหาริมทรัพย์
ประเภทของสังหาริมทรัพย์
ประเภทของสังหาริมทรัพย์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.2.1 สังหาริมทรัพย์ทั่วไป
สังหาริมทรัพย์ทั่วไป คือ ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มี ลักษณะเคลื่อนที่ได้ด้วยแรง
กาลังธรรมชาติ หรือโดยแรงกาลังกายภาพแห่งทรัพย์นั้น เช่น รถยนต์ตู้เย็น พัดลม โทรทัศน์ จักรยาน
2.2.2 สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ คือ ทรัพย์อื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มี กฎหมายได้กาหนดให้เป็น
ทรัพย์ในลักษณะพิเศษกว่าสังหาริมทรัพย์ทั่วไป อันได้แก่ เรือกาปั่นมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ
หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป แพ และสัตว์พาหนะ คือ ช้าง ม้า วัว ความ ลา ล่อ
สิ่งสาคัญคือในการทานิติกรรมจาหน่ายจ่ายโอนสังหาริมทรัพย์จาต้องทราบด้วย ว่าเป็น
สังหาริมทรัพย์ประเภทใด เพราะหากเป็นสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษและจะต้องได้ทาเป็นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่เช่นเดียวกับกรณี การจาหน่าย จ่าย โอนทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ด้วย
อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์มีลักษณะและผลของกฎหมายแตกต่างกันคือ
1) อสังหาริมทรัพย์
โดยเฉพาะที่ดินจะต้องมีเจ้าของเสมอ แต่สังหาริม ทรัพย์ไม่จาเป็นต้องมีเจ้าของเสมอไป
2) ทรัพยสิทธิบางอย่างจะก่อให้เกิดขึ้นได้ก็แต่ในอสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
เช่น ภาระจายอม, สิทธิอาศัย, สิทธิเก็บกิน, สิทธิเหนือพื้นดิน, ภาระติดพันใน
อสังหาริมทรัพย์
3) การได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองทรัพย์
ที่เรียกว่าแย่งการครอบครอง หรือครอบครองปรปักษ์นั้น มีอายุความได้สิทธิต่างกันโดยการ
ได้กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์จะ มีระยะเวลายาวกว่าสังหาริมทรัพย์
4) แบบนิติกรรม
นิติกรรมเพื่อให้ได้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ต้องทาตามแบบ ส่วนสังหาริมทรัพย์โดยทั่วไปไม่
จาต้องทา
5) ในเรื่องแดนกรรมสิทธิ์
เฉพาะตัวที่ดินซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์เท่านั้นมีกรรม สิทธิ์ทั้งเหนือพื้นดินและใต้พื้นดิน ส่วน
สังหาริมทรัพย์นี้ไม่มีแดนกรรมสิทธิ์
6) สิทธิของคนต่างด้าว
ในการได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินมีกฎหมายบัญญัติควบคุมไว้โดยไม่ให้คนต่างด้าวได้กรรมสิทธิ์
ในอสังหาริมทรัพย์หรือถ้าได้ก็ต้องอยู่ในวงจากัดแต่ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ไม่มีกฎหมายอะไรควบคุมไว้
2.3 ทรัพย์แบ่งได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา141 บัญญัติว่า "ทรัพย์แบ่งได้
หมายความว่า ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนๆ ได้จริงถนัดชัดแจ้งแต่ละ
ส่วน ได้รูปบริบูรณ์ลาพังตัว"
ทรัพย์แบ่งได้คือ ทรัพย์ที่อาจแยกหรือแบ่งออกจากกันได้และเมื่อแยกออกจาก
กันได้แล้ว ไม่เสียรูปทรงและแต่ละส่วนได้รูปบริบูรณ์ลาพังตนเอง คือแบ่งไป
แล้วยังมีลักษณะของตัวทรัพย์นั้น อยู่เพียงแต่ประมาณลดลงไป เช่น ผ้าเป็นพับๆ
ซึ่งสามารถตัดแบ่งเป็นเมตรๆ ได้จะเห็นได้ว่า ยังเป็นลักษณะผ้า เพียงแต่ปริมาณ
ในแต่ละผืนน้อยลง
2.4 ทรัพย์แบ่งไม่ได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา142 บัญญัติว่า "ทรัพย์แบ่งไม่ได้
หมายความว่า ทรัพย์อันจะแยกออกจากกันไม่ได้นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของ
ทรัพย์หมายความ ถึงทรัพย์ที่มีกฎหมายบัญญัติว่าแบ่งไม่ได้ด้วย"
ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้มี 2 ลักษณะ คือ
2.4.1 ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยสภาพ
คือ โดยสภาพของตัวทรัพย์นั้นเองถ้าแบ่งแล้วจะทาให้เปลี่ยน แปลง
สภาวะของทรัพย์นั้นไป เช่น ตึกรามบ้านช่อง
2.4.2 ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยอานาจของกฎหมาย
หมายความถึงทรัพย์หรือ ทรัพย์สินที่กฎหมายบัญญัติว่าแบ่งไม่ได้เช่น
หุ้นในบริษัทมหาชนหรือเอกชน ทรัพย์ที่เป็นส่วนควบ
ทรัพย์แบ่งได้หรือทรัพย์แบ่งไม่ได้นั้นอาจเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือเป็น
สังหาริมทรัพย์ก็ได้การที่กฎหมายแบ่งประเภทของทรัพย์เป็นทรัพย์แบ่งได้หรือ
แบ่งไม่ได้นี้เพื่อ ประโยชน์ในการแบ่งทรัพย์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมโดยถ้าเป็นทรัพย์
แบ่งได้ก็แบ่งตัวทรัพย์กัน ไปตามส่วนแห่งการเป็นเจ้าของรวม หากปรากฎว่าตก
ลงกันไม่ได้ว่าใครจะเอาส่วนใดหรือกรณีที่เป็นทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้ก็ต้องแบ่งตาม
วิธีการทีกฎหมายกาหนดไว้คือโดยวิธีประมูลราคาระหว่างเจ้าของรวมหรือขาย
ทอดตลาด
2.5 ทรัพย์นอกพาณิชย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา143 บัญญัติว่า "ทรัพย์นอก
พาณิชย์หมายความว่า ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้และทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดย
ชอบด้วยกฎหมาย"
2.5.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้
ทรัพย์และทรัพย์สินนั้นจะต้องเป็นสิ่งของหรือ สิทธิที่อาจมีราคาและ
อาจถือเอาได้โดยต้องประกอบกันทั้งสองอย่าง ถ้าอาจมีราคาอย่างเดียวแต่ไม่
อาจถือเอาได้หรืออาจเอาได้แต่ไม่อาจมีราคา ก็ไม่ใช้ทรัพย์สินดังนั้นทรัพย์นอก
พาณิชย์ในความหมายแรกนี้ คือ ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้นั้นก็ไม่ใช่ทรัพย์เช่น
ดวงดาว, ดวงจันทร์, เมฆบนฟ้า, สายลม
2.5.2 ทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
เป็นกรณีที่กฎหมายระบุไว้ชัดเจนว่าห้ามโอน หรือทรัพย์สินที่จะนามา
จาหน่ายจ่ายโอน เช่น ทรัพย์สินทั่วๆ ไปมิได้เว้นแต่จะโอน โดยอาศัยอานาจ
แห่งกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน, ที่ธรณีสงฆ์, สิทธิ
ได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดู เป็นต้น
3. ส่วนอันประกอบทรัพย์
3.1 ส่วนควบ
ส่วนอันประกอบทรัพย์มี3 ลักษณะ คือ ส่วนควบ อุปกรณ์ ดอกผล
3.1 ส่วนควบ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา144 บัญญัติว่า "ส่วนควบของ
ทรัพย์หมายความว่า ส่วนซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจากรีตประเพณีแห่ง
ท้องถิ่นเป็นสาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้นและไม่อาจแยกจากกันได้
นอกจากจะทาลายทาให้บุบสลายหรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปหรือสภาพ
ไป
เจ้าของทรัพย์ย่อมมีกรรมสิทธิ์ในส่วนควบของทรัพย์นั้น"
ในเรื่องส่วนควบนั้นจะมีความเกี่ยวพันกันระหว่างทรัพย์ตั้งแต่สองอย่างขึ้น
ไป และต้องมีทรัพย์หลักอยู่อย่างหนึ่งคือทรัพย์ประธาน ทรัพย์นอกนั้นเข้า
เกี่ยวข้องเป็นส่วนควบ และผู้ใดเป็นเจ้าของทรัพย์ประธานย่อมถือว่าเป็นเจ้าของ
ส่วนควบนั้นด้วย
ทรัพย์ที่เป็นส่วนควบต้องประกอบด้วย2 ประการ คือ
3.1.1 ส่วนควบต้องเป็นสาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของทรัพย์ใหม่นั้น
เช่น ใบพัดและหางเสือเป็นสาระสาคัญของเรือยนต์ เลนส์แว่นตาย่อมเป็น
สาระสาคัญในความเป็น อยู่ของแว่นตาโดยการเป็นสาระสาคัญนั้นอาจเป็น
3.1.1.1 โดยสภาพแห่งทรัพย์นั้นเอง เช่น เข็มนาฬิกา โดยสภาพย่อม
เป็นสาระสาคัญของนาฬิกา กระเบี้องมุงหลังคาย่อมเป็นสาระสาคัญของบ้าน
โดยสภาพ
3.1.1.2 โดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เช่น บ้านโดยจารีตประเพณี
ย่อมเป็น สาระสาคัญในความเป็นอยู่ของที่ดิน
3.1.2 ส่วนควบต้องมีสภาพไม่อาจแยกออกจากกันได้นอกจากทาลายทา
บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนรูปทรง เช่น บ้านย่อมประกอบด้วย เสา ฝา
หลังคา ประตู หน้าต่าง โดยสิ่งเหล่านี้ เราไม่อาจแยกออกจากตัวบ้านได้นอกจาก
จะรื้อทาลาย หรือรถยนต์ถ้าเอาล้อมรถออกไปย่อมทาให้รถยนต์นั้นเปลี่ยนแปลง
รูปทรงไป
การร่วมสภาพนั้นอาจเป็นการกระทาของบุคคลก็ได้เช่นบ้านเรือนรถยนต์
ดังกล่าว หรืออาจเป็นการรวมสภาพโดยธรรมชาติก็ได้เช่น ที่งอกริมตลิ่ง
ทรัพย์ใดแม้เป็นสาระสาคัญในความเป็นอยู่แห่งทรัพย์แต่ถ้าไม่มีการรวม
สภาพกัน จนแยกไม่ได้แล้วหาใช่ส่วนควบไม่ เช่น ช้อนกับส้อม ฉิ่งกับฉับ ไม่
อาจถือว่าช้อนเป็นส่วนความของส้อม หรือฉับเป็นส่วนควบของฉิ่ง และทรัพย์
ใดแม้จะรวมสภาพจนไม่อาจแยกออกจากันได้แต่ถ้าทรัพย์นั้นไม่เป็น
สาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของตัวทรัพย์ก็มิใช้ส่วนควบ เช่น ฝากั้นห้องแม้จะมี
สภาพไม่อาจแยกออกจากตัวบ้านได้และหากรื้อจะทาให้บุบสลายไป แต่
ตามปกติไม่ถือว่าเป็นสาระสาคัญของตัวบ้าน ดังนั้นฝากั้นห้องจึงมิใช่ส่วนควบ
ของตัวบ้าน
ข้อยกเว้นไม่เป็นส่วนควบ
1)ไม้ล้มลุก คือต้นไม่มีอายุไม่เกิน3 ปี และธัญชาติ คือข้าวต่างๆ อันจะ
เก็บเกี่ยวรวงผลได้คราวหนึ่งหรือหลายคราวต่อปี
2) ทรัพย์ซึ่งติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็น
ส่วนควบ เช่น ร้านค้าที่ตั้งขึ้นในงานมหกรรมต่างๆ เพียงชั่วคราว
3) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นอันผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่น ใช้
สิทธิ์ปลูกสร้างทาลงไว้ในที่ดังนั้น เช่น ทาสัญญาเช่าที่ดินเพื่อสร้างบ้านลงบน
ที่ดินนั้น ผู้เช่าย่อมมีสิทธิ์สร้างบ้านบนที่ดินนั้นได้บ้านย่อมไม่ตกเป็นส่วนควบ
ของที่ดิน
3.2 อุปกรณ์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา147 บัญญัติว่า "อุปกรณ์ หมายความว่า
สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าทรัพย์เป็นทรัพย์
ประธานเป็นของใช้ประจากับทรัพย์ประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดการดูแลใช้สอบ
หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธานและเจ้าของทรัพย์ได้นามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธาน โดยการนามา
ติดต่อหรือปรับเข้าไว้หรือโดยการทาประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกันทรัพย์ที่
เป็นประธานนั้น
อุปกรณ์ที่แยกออกจากทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นการชั่วคราวที่ยังไม่ขาดจาก การเป็นอุปกรณ์
ของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น
อุปกรณ์ย่อมตกติดไปกับทรัพย์ที่เป็นประธาน เว้นแต่จะมีการกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น"
องค์ประกอบที่จะเป็นอุปกรณ์พิจารณาได้ดังนี้
3.2.1 อุปกรณ์จะต้องมีทรัพย์เป็นประธานเสียก่อน โดยตัวทรัพย์ประธาน จะเป็น
สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ก็ได้เช่น ยางอะไหล่เครื่องมือแม่แรงอยู่ที่ท้ายรถ ต้องมี
ทรัพย์ประธานคือ ตัวรถยนต์ก่อน
3.2.2 อุปกรณ์ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น จะเป็นอสังหาริมทรัพย์
ไม่ได้
3.2.3 ต้องไม่ใช้ทรัพย์ที่มีการร่วมสภาพกับทรัพย์ที่เป็นประธานจนไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ซึ่งหากมี่การแยกจากกันไม่ได้ก็จะเป็นเรื่องของส่วนควบ เช่น แว่นตา กรอบแว่นตา
ถือว่าเป็นทรัพย์ประธาน ส่วนเลนส์เป็นส่วนควบ โดยจะต้องอยู่ร่วมกันถ้าเอาเลนส์ออก ไปแว่น
ย่อมเปลี่ยนสภาพไม่เป็นแว่นตา แต่หากเป็นปลอกแว่นตาย่อมไม่รวมสภาพกับแว่นตา จึง
แยกกันได้ปลอกแว่นตาจึงเป็นอุปกรณ์
3.2.4 อุปกรณ์ต้องไม่ใช้ทรัพย์ที่เป็นประธานด้วยกัน กล่าวคือในกรณีที่มีทรัพย์สอง สิ่งที่
มีความสาคัญเท่ากันไม่อาจชี้ชัดลงไปว่าอะไรเป็นทรัพย์ประธานสองสิ่งนี้ย่อมไม่เป็นอุปกรณ์ซึ่ง
กันและกัน เช่นตะเกียบ ช้อนส้อม
3.2.5 อุปกรณ์นั้นต้องเป็นทรัพย์ของเจ้าของเดียวกัน
3.2.6 อุปกรณ์ต้องเป็นทรัพย์ที่ใช้เป็นประจาอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้นเป็นอาจิณ คือ
มีการใช้เป็นไปตามปกติเสมอหรือเนื่องตามสภาพของทรัพย์นั้นโดยพิจารณาจากปกตินิยม
เฉพาะท้องถิ่น หรือพิจารณาจากเจตนา ของคนที่เป็นเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น
3.2.7 อุปกรณ์ซึ่งนามาใช้ประจาเป็นอาจิณกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้นต้องนามา อยู่เป็น
ประจาเพื่อประโยชน์ในการจัดดูแลใช้สอบหรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน เช่น วิทยุติดรถยนต์
ไม่ได้นามาติดไว้เพื่อดูแลรักษารถยนต์จึงไม่ใช่อุปกรณ์
3.2.8 อุปกรณ์ต้องเป็นทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์เป็นประธานนามาสู่ตัวทรัพย์เป็นประธาน
ในฐานะเคื่รองใช้เพื่อประโยชน์ในการดูแลใช้สอยหรือรักษาทรัพย์นั้น เช่น มีแว่นตาจึงไปซื้อ
ปลอกแว่นตาสาหรับใช้ใส่แว่นตา ปลอกแว่นตาจึงเป็นอุปกรณ์
ในกรณีที่มีการแยกอุปกรณ์ออกไปชั่วคราว อุปกรณ์ที่แยกออกไปยังไม่ถือว่าขาดจากการ
เป็นอุปกรณ์ เพราะเหตุว่าทรัพย์ที่เป็นอุปกรณ์ ย่อมติดไปกับทรัพย์ประธานเสมอ ดังนั้นหากมี
การขายทรัพย์ที่เป็นประธาน ย่อมถือว่าขายทรัพย์ที่เป็นอุปกรณ์ไปด้วย เว้นแต่มีการตกลงกัน
เป็นอย่างอื่น
3.3 ดอกผล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา148 บัญญัติว่า "ดอกผลของทรัพย์ได้แก่ ดอกผล
ธรรมดาและดอกผลนิตินัย"
ดอกผลธรรมดา หมายความสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยมี
การใช้ทรัพย์นั้นตามปกตินิยมและสามารถถือเอาได้เมื่อขาดทรัพย์นั้น
ดอกผลนิตินัย หมายความว่า ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้ง คราวแก่เจ้าของ
ทรัพย์จากผู้อื่น เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้นและสามารถคานวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตาม
ระยะเวลาที่กาหนดไว้ดอกผลตามกฎหมายมีอยู่2 ชนิด คือ
3.3.1 ดอกผลธรรมดา ซึ่งดอกผลธรรมดานันเป็นทรัพย์ที่เกิดขึ้นตามธรรม ชาติจากตัว
ทรัพย์หรือจากตัวแม่ทรัพย์เมื่อขาดตกออกมาจากแม่ทรัพย์แล้วจะกลายเป็นดอกผลธรรมดาที่
สามารถยึดถือเอา ได้และข้อสาคัญเมื่อหลุดขาดตกออกมาแล้ว ตัวแม่ทรัพย์จะต้องไม่เปลี่ยน
สภาวะหรือไม่เปลี่ยนรูปร่างไป เช่น ผลไม้ต่างๆขณะที่ ผลยังติดอยู่กับต้นไม่ถือเป็นดอกผล จะ
เป็นดอกผลเมื่อมันขาดหลุดมาจากต้นเสียก่อน แต่หากเป็นกรณีที่มีการขาดหลุดจากตัวทรัพย์
แล้วทาให้แม่ทรัพย์เปลี่ยนสภาวะหรือเปลี่ยนรูปร่างไม่ถือเป็นดอกผล เช่น วัวนั้นตามปกติเมื่อโต
ขึ้นจะมีเขางอกถ้าเราไปตัดเขาวัวออกเสียย่อมทาให้วัวเสียสภาพไป ดังนั้นเขาวัวหรือเขาสัตว์จึง
ไม่ถือเป็นดอกผล
3.3.2 ดอกผลนิตินัย เป็นดอกผลที่มิได้เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากตัวของแม่ทรัพย์แต่เป็น
การเกิดขึ้นจากผู้อื่นได้ใช้ทรัพย์โดยจากการใช้ทรัพย์นั้นเขาให้ทรัพย์อีกอย่างหนึ่งหรือประโยชน์
เป็นการตอบแทน ดอกผลนิตินัยมีลักษณะดังนี้
3.3.2.1 ดอกผลนิตินัยอาจจะเป็นทรัพย์หรือประโยชน์ก็ได้เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า หรือ
ประโยชน์ในการให้เข้าไปทากินในที่ดิน
3.3.2.2 ดอกผลนิตินัยเป็นทรัพย์ที่ตก ได้แก่ เจ้าของทรัพย์และเป็นการให้แก่แม่
ทรัพย์เป็นครั้งคราว โดยอาจเป็นรายวัน รายเดือนหรือตามระยะเวลาที่ตกลงไว้
3.3.2.3 ดอกผลนิตินัยตกได้แก่ผู้เป็นเจ้าของแม่ทรัพย์เพราะเหตุที่ผู้อื่นได้ใช้ตัวแม่
ทรัพย์นั้น เช่น นาที่ดินออกให้เช่า ค่าเช่าเป็นผลประโยชน์ที่ผู้เช่าให้แก่เจ้าของที่ดินเนื่องจากการ
ที่ได้ใช้สอยที่ดินนั้น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1336 บัญญัติว่า "เจ้าของ ทรัพย์สินสิทธิได้
ดอกผลแห่งทรัพย์นั้น"
ดังนั้น เจ้าของแม่ทรัพย์ย่อมมีสิทธิได้ดอกผลของตัวแม่ทรัพย์นั้น ไม่ว่าเป็นดอกผลธรรม
กาหรือดอกผลพิเศษ เช่น ที่ดินเพื่อปลูกบ้านโดยตกลงกันว่าดอกผล อันเกิดจากที่ดินผู้ให้เช่าขอ
สงวนไว้เก็บกินเป็นส่วนตัว หรือในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษ เช่น เรื่องทรัพย์สิน
ระหว่างสามีภริยา หรือกรณีลาภมิควรได้โดยผู้รับทรัพย์สินไปโดยสุจริต ว่าตนมีสิทธิรับทรัพย์
นั้นไว้ผู้นั้นย่อมได้ดอกผลของทรัพย์สินนั้นตลอดเวลาที่สุจริตอยู่
4. บุคคลสิทธิและทรัพย์สิทธิ
สิทธิต่างๆ ที่บุคคลมีได้นั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1) บุคคลสิทธิ(PERSONAL RIGHT)
2) ทรัพยสิทธิ (REAL RIGHT)
4.1) บุคคลสิทธิ(PERSONAL RIGHT)
บุคคลสิทธิ คือ สิทธิที่มีอยู่เหนือบุคคล เป็นสิทธิบังคับเอาแก่ตัวบุคคล
เป็นหลักเพื่อให้บุคคลนั้นทาการหรืองดเว้นกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือส่ง
มอบทรัพย์สิน ดังนั้น บุคคลสิทธิจึงเป็นสิทธิที่วัตถุแห่งสิทธิเป็นการกระทาหรือ
งดเว้นการกระทาการ ซึ่งในกฎหมายลักษณะหนี้เรียกว่า สิทธิเรียกร้อง สิทธิ
เหล่านี้เป็นสิทธิที่จะบังคับเอากับลูกหนี้เท่านั้น จะบังคับเอาจากตัวทรัพย์มิได้
บุคคลสิทธินี้ไม่อาจใช้ยันแก่บุคคลทั่วไป จะบังคับได้เฉพาะตัวลูกหนี้ ทายาท
หรือผู้สืบสิทธิของลูกหนี้เท่านั้น เช่น นาย ก. ทาสัญญาเช่าบ้านนาย ข. แต่ไม่อาจ
เข้าอยู่ได้เพราะนาย ค. ยังอาศัยอยู่ซึ่ง นาย ก. ต้องไปเรียกร้องในนาย ข. ผู้ให้เช่า
ส่งมอบบ้านที่เช่าให้ตนแต่จะไปบังคับนาย ค. ซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาของตน
ไม่ได้
4.2) ทรัพยสิทธิ (REAL RIGHT)
ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์สิน หรือสิทธิที่มีอยู่
เหนือทรัพย์สินโดยตรง เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจายอม สิทธิอาศัย
สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพื้นดิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์สิทธิจานอง สิทธิ
จานา สิทธิยึดหน่วง ลิขสิทธิ์ สิทธิในเครื่องหมายการค้า เป็นต้น ทรัพยสิทธิย่อม
ใช้ยันได้แก่บุคคลทั่วไป เช่น เรามีกรรมสิทธิ์หนังสือ เราจะขีดเขียน ทาลายอย่าง
ใดก็ได้แม้หนังสือนั้นจะตกไปอยู่ที่ผู้ใด เราก็มีสิทธิติดตามเอาคือได้ทรัพย์สิทธ
จะก่อตั้งขึ้นได้ก็โดยอาศัยอานาจของกฎหมายเท่านั้น
5. การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิ
5.1 การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิโดยทางนิติกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299 วรรค 1 บัญญัติว่า
"ภายในบังคับ แห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ท่านว่า
ได้มาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหา ริม
ทรัพย์นั้นไม่สมบูรณ์เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็นหนังสือและจาทะเบียนการ
ได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่"
การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์โดยทางนิติ
กรรม มาตรา1299 วรรค 1 นั้น ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นไม่สมบูรณ์ คาว่า "ไม่สมบูรณ์" นี้ต่างกับโมฆะ
หรือไม่สมบูรณ์ เพราะโมฆะหรือไม่สมบูรณ์นั้น หมายความว่า ไม่มีผลใดๆ ตาม
กฎหมายไม่มีอะไรเหลืออยู่ที่จะใช้บังคับกันได้เช่น การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
ตามมาตรา 456 การแลกเปลี่ยนตามมาตรา519 ในกรณีแลกเปลี่ยนที่ดิน ถ้า
ไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ คือถือว่าไม่มี่
สัญญาซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนต่อกัน ผู้ซื้อจะขอให้ผู้ขายโอนทรัพย์ให้มิได้ผู้ขาย
จะเรียกร้องราคาก็มิได้แต่คาว่า "ไม่บริบูรณ์" นั้น มีความหมายว่ายังไม่อาจถือ
หรือบังคับกันได้ตามทรัพย์สิทธินั้นๆเท่านั้น แต่การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์
หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์นั้นหาเสียเปล่าไม่ ยังคงสมบูรณ์ มี
ผลบังคับใช้ระหว่างคู่สัญญาในฐานะเป็นบุคคลสิทธิได้ถึงแม้จะใช้ยันต่อบุคคล
ภาย นอกในฐานะเป็นทรัพยสิทธิมิได้ก็ตาม เช่น
คาพิพากษาฎีกาที่ 367/2495 โจทก์และจาเลยตกลงกันตามคาเปรียบเทียบ
ของคณะกรรมการอาเภอ ซึ่งมีความว่า "ให้จาเลยอยู่ในที่พิพาทเรื่อยไป แต่จะยก
ที่ดินให้ใครมิได้ส่วนพืชผลก็อาศัยแบ่งกันเก็บกินไป" ดังนั้นย่อมแสดงให้เห็น
ว่าเจตนาของคู่ความว่าให้จาเลย มีสิทธิอาศัยอยู่ในที่พิพาทเรื่อยไปจนตลอดชีวิต
นั้นเองและการยอมให้อาศัยเช่นนี้แม้มิได้จดทะเบียนก็ใช้ยันกันเองได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 760/2507 การที่โจทก์จาเลยตกลงให้โจทก์ออกทุน
ขยายทางพิพาทให้กว้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกัน แต่สัญญาข้อตกลงนี้มิได้จดทะเบียน
ต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299
นั้น ย่อมไม่ทาให้โจทก์ได้ทรัพยสิทธิเป็นภาระจายอม แต่การไม่จดทะเบียนดัง
กล่าวมิได้ทาให้สัญญาระหว่างโจทก์จาเลยนั้นเป็นโมฆะอย่างใดไม่ คือเป็นเพียง
ยังไม่บริบูรณ์เท่านั้นโดยเหตุนี้ สัญญาระหว่างโจทก์จเลยจึงมีผลก่อให้เกิดบุคคล
สิทธิเรียกร้องบังคับกันได้ระหว่างคู่สัญญา ฉะนั้น โดยอาศัยสัญญาดังกล่าว
โจทก์จึงมีอานาจฟ้อง จาเลยมิให้ขัดขวางในวันที่โจทก์จะใช้ทาง พิพาทตาม
ข้อตกลงในสัญญาได้
การได้มาโดยนิติกรรมบางอย่าง ซึ่งอสังหาริมทรัพย์เช่น การซื้อขายตามาตรา
456 การขายฝากตามมาตรา491 การจานองตามมาตรา714 กฎหมาย
บัญญัติว่า ถ้าไม่ทา เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็น
โมฆะฉะนั้น การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ในกรณีดังกล่าว ถ้าไม่ทาตามแบบ
กฎหมายที่กฎหมายบังคับ ไว้ก็เป็นโมฆะทีเดียวจะอ้างว่าไม่บริบูรณ์ตามมาตรา
1299 มิได้เพราะมาตรา 1299 เป็นเพียงบทบัญญัติทั่วไปต้องตกอยู่ภายใต้
บังคับแห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อื่นๆ ด้วย
5.2 การได้มาซึ่งทรัพยสิทธิโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299 วรรค 2 บัญญัติว่า "ถ้ามีผู้
ได้มา ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์โดยทาง
อื่นนอกจากนิติกรรม สิทธิของผู้ได้มานั้นถ้ายังมิได้จดทะเบียนไซร้ ท่านว่าจะ
เปลี่ยนแปลงทางทะเบียนไม่ได้และสิทธิอันยังมิได้จดทะเบียนนั้น ให้ยกเป็นข้อ
ต่อสู้บุคคลภายนอก ผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริต และได้จด
ทะเบียนโดยสุจริตแล้ว"
การได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมนี้ ได้แก่การได้มาในอสังหาริมทรัพย์
หรือ ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอัสังหาริมทรัพย์โดยการครอบครองปรปักษ์ ตาม
มาตรา 1382 การได้มาโดยการับมรดกไม่ว่าโดยฐานะทายาทโดยธรรมหรือ
การรับพินัยกรรม การได้มาโดยคาพิพากษา การได้มาตามบทบัญญัติ มาตรา
1308 ถึง มาตรา 1315, 1401 เป็นต้น
6.ประเภทของทรัพย์สิทธิ
6.1 กรรมสิทธิ์
ประเภทของทรัพยสิทธิสามารถพิจารณาได้ดังนี้
6.1 กรรมสิทธิ์
6.2 สิทธิครอบครอง
6.3 ภาระจายอม
6.4 สิทธิอาศัย
6.5 สิทธิเหนือพื้นดิน
6.6 สิทธิเก็บกิน
6.7 ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์
6.1 กรรมสิทธิ์
กรรมสิทธิ์ หมายความถึงทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งที่แสดงถึงสิทธิแห่งความเป็น เจ้าของในทรัพย์สินสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งทุกชนิดไม่ว่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ซึ่งต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย กรรมสิทธิ์มี
ลักษณะเด็ดขาดถาวรกล่าวคือ ใครมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์อันใดก็ย่อมมีสิทธินั้นอยู่ตลอดไป แม้เจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นจะตายไป ทรัพย์สินของเขาก็คงตกได้แก่ทายาทของเขา
6.1.1 กรรมสิทธิ์หรือสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของทรัพย์นั้นตามมาตรา1336 มีสิทธิ์ดังนี้
6.1.1.1 สิทธิใช้สอยทรัพย์สิน เมื่อบุคคลใดเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิ่งใด บุคคลนั้นก็ย่อม
มีอานาจที่จะใช้สอบทรัพย์สินนั้นได้อย่างเต็มที่ แต่มีข้อยกเว้นอยู่ว่า จะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย
ด้วย เช่น เรามีวิทยุเรามีสิทธิเปิดฟังได้ทุกเวลา แต่การเปิดดังนี้ต้องไม่เปิดดังเป็นที่รบกวนของชาวบ้าน
เพราะมีกฎหมายบัญญัติห้าม ใช้สิทธิเกินขอบเขตจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นเดือดร้อน
6.1.1.2 สิทธิจาหน่ายทรัพย์สิน การจาหน่ายหมายความถึงการซื้อ ขายแลกเปลียนในกรรมสิทธิ์
และยังหมายถึงการทาลายทรัพย์สินนั้นได้ด้วย แต่ก็ยังคงอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายด้วย เช่น เรามีรถยนต์
คันหนึ่ง เราจะรื้อออก เป็นชิ้นๆหรือจะเผาทิ้งเสียก็ทาได้แต่เวลาเผาก็ต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่น
6.1.1.3 สิทธิติดตามเอาทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้ที่ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้เช่น รถยนต์หายไป เราไป
พบที่บ้านผู้อื่น เราจะเข้าไปเอาคืนโดยพลการไม่ได้ต้องแจ้งให้ตารวจจัดการ
6.1.1.4 สิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เช่น เรา
เป็นเจ้าของที่ดินมีโฉนดแปลงหนึ่ง ถ้ามีผู้บุกรุกเข้ามาในที่ดินของเรา เราก็มีสิทธิห้ามเขาไม่ให้เข้ามาได้
6.1.2 การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์
การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ มี 2 กรณี คือ การได้มาโดยทางนิติกรรม และการได้มาโดยทางอื่นนอกจาก
นิติกรรม
6.1.2.1 การได้มาโดยทางนิติกรรม
เช่น การซื้อขาย การแลกเปลี่ยน การให้เป็นต้น
6.1.2.2 การได้มาโดยผลของกฎหมาย ได้แก่
1) การได้กรรมสิทธิ์โดยหลักส่วนควบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา
1308-1317
(1) ส่วนควบโดยธรรมชาติ กรณีที่งอกริมตลิ่งมาตรา1308 บัญญัติว่า "ที่ดินแปลงใด
เกิดที่งอกริมตลิ่งที่งอกย่อมเป็นทรัพย์สิน ของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น"
ที่งอกริมตลิ่ง หมายความถึง ที่ดินซึ่งตามปกติน้าท่วมไม่ถึง กล่าวคือ เดิมเป็นที่ชายตลิ่งที่น้า
ท่วมถึง ต่อมาได้งอกเงยขึ้นจนน้าท่วมไม่ถึง อาจจะงอกขึ้นโดยกระแสน้าได้พัดพาเอากรวดหินดินทรายเข้า
มาทับถมจนที่ชาย ตลิ่งนั้นสูงขึ้นจนกลายเป็นที่งอกริมตลิ่ง หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ที่งอก ริมตลิ่งเกิดขึ้นโดย
ธรรมชาติในลักษณะค่อยๆ งอกเพิ่มขึ้นจากฝั่งออกไป มิใช่งอกจากท้องน้าเข้ามาหาตลิ่ง และที่งอกริมตลิ่ง
ดังกล่าวนี้ อาจจะเป็นที่งอกริมตลิ่งของทะเล แม่น้า หรือลาคลองก็ได้
ที่งอกริมตลิ่ง ถือว่าตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลง นั้นโดยต้องเป็นที่งอกติดต่อเป็น
แปลงเดียวกันกับที่ดินโดยไม่มีอะไรมาคั่น เช่น ถนนหรือลารางน้าฝน
2) ส่วนควบโดยการปลูกสร้าง ได้แก่ กรณีต่อไปนี้คือ
ก) การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต มาตรา1310 วรรคแรก บัญญัติว่า
"บุคคลใดสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที่ดินเป็นเจ้าของโรงเรือนนั้นๆ แต่
ต้องใช้ค่าแห่งที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้นเพราะ สร้างโรงเรือนนั้นให้แก่ผู้สร้าง" หมายความว่าเป็นการสร้างโดย
เข้าใจ ผิดที่ดินแปลงนั้นเป็นที่ดินของตน จึงเป็นการเชื่อโดยสุจริตคิดว่าตนเองมีสิทธิที่จะปลูกสร้างได้เช่น
เชื่อว่ามีสิทธิตามสัญญาเช่า
ดังนี้กฎหมายจะบังคับให้เจ้าของที่ดินนั้นยอมรับเป็นเจ้าของโรงเรือนนั้น ส่วนผู้ปลูกสร้างมี
สิทธิได้รับค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรือนนั้น ตามมาตรา1310
ข) การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริต มาตรา1311 บัญญัติว่า "บุคคลใด
สร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริตไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นต้องทาที่ดินให้เป็นตามเดิมแล้วส่งคืน
เจ้าของ เว้นแต่เจ้า ของจะเลือกให้ส่งคืนตามที่เป็นอยู่ในกรณีเช่นนี้เจ้าของที่ดินต้องใช้ราคาโรงเรือนหรือใช้
ค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้น เพราะสร้างโรงเรือนนั้นแล้วแต่จะเลือก"
คาว่า "ไม่สุจริต" นั้น หมายความว่ารู้อยู่แล้วว่าที่ดินนั้น ก.ไม่ใช่เจ้าของหรือเป็นผู้มีสิทธิอื่น
ใดที่จะปลูกสร้างได้เช่นนายมั่นเช่าที่ดินของนายแม้นเพื่อทาสวน แต่นายมั่นกลับปลูกสร้างโรงเรือนขึ้นบน
ที่ดินนั้นกรณี เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่ายาย มั่นปลูกสร้างโรงเรือนโดยไม่สุจริต
ผลแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1311 นี้ ให้สิทธิแก่เจ้าของที่ดิน จะเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ดังนี้ คือ
(1) เจ้าของที่ดินจะให้เจ้าของโรงเรือนรื้อถอนออก ไปในกรณีที่เจ้าขอที่ดินไม่
ต้องการโรงเรือนนั้น หรือ
(2) หากเจ้าของที่ดินอยากได้โรงเรือนนั้นก็กระทาได้แต่ต้องใช้ราคาโรงเรือนหรือ
ให้ค่าแห่งที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรือนนั้น แล้วแต่จะเลือก
ค) การสร้างโรงเรือนรุกล้าเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต มาตรา1312 วรรคแรก
บัญญัติว่า "บุคคลใดสร้างโรงเรือนรุกล้า เข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นเป็นเจ้าของ
โรงเรือนที่สร้างขึ้น แต่ต้องเสียเงินให้แก่เจ้าของที่ดินเป็นค่า ใช้จ่ายนั้นและจดทะเบียนสิทธิเป็นภารจายอม
ต่อมาภายหลังถ้าโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดินจะเรียกให้เพิกถอนการจะทะเบียนเสียก็ได้"
ผลแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1312 นี้อาจแยกพิจารณาออกเป็น
(ก) สิทธิของผู้ปลูกโรงเรือนรุกล้า กล่าวคือ ได้เป็นเจ้าของโรงเรือนที่สร้างขึ้น หมายถึง
ส่วนที่รุกล้านั้นและได้สิทธิในการจดทะเบียนภารจายอมโดยกฎหมายบังคับให้เจ้าของที่ดินที่ถูกโรงเรือน
รุกล้านั้นต้องยินยอมไปจดทะเบียนภารจายอมให้ส่วนสิทธิของเจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้า คือ เจ้าของที่ดินถูก
รุกล้ามีสิทธิที่จะเรียกให้เจ้าของ โรงเรือนนั้นชดใช้เงินค่าใช้ที่ดินให้แก่ตนได้
(ข) หน้าที่ของเจ้าของโรงเรือน ต้องชดใช้เงินค่าใช้ที่ดินโดยจะชด ใช้เป็นครั้งเดียวหรือ
เป็นคราวๆ เช่น เป็นปี เป็นเดือนก็ได้สุดแท้แต่จะตกลงกัน เทียบได้กับค่าเช่าที่ดิน ซึ่งอาจจะชดใช้เหมาจ่าย
ไปเลย หรือใช้กันเป็นงวดๆ เหมือนค่าเช่าก็ได้
(ค) ส่วนหน้าที่ของเจ้าของที่ดิน เจ้าของที่ดินมีหน้าที่ต้องยอมจด ทะเบียนภารจายอมใน
ที่ดินส่วนที่รุกล้านั้นให้แก่เจ้าของโรงเรือน
อนึ่ง หากต่อมาภายหลัง ปรากฎว่าโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดินจะเรียกให้
เพิกถอนการจดทะเบียนเสียก็ได้นั้น หมายความรวมถึง ส่วนของโรงเรือนที่รุกล้านั้นสลายไปทั้งหมดด้วย
เจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้าก็มีสิทธิ ขอเพิกถอนการจดทะเบียนเสียได้
มาตรา 1312 วรรคสองบัญญัติว่า "ถ้าบุคคลผู้สร้างโรงเรือน นั้นกระทาการโดยไม่
สุจริต ท่านว่าเจ้าของที่ดินจะเรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนไป และทาที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออก
ค่าใช้จ่ายก็ได้"
มาตรา 1312 วรรคสองนี้ เป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้าเข้า ไปในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่
สุจริต ซึ่งมีผลทาให้เจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้ามีสิทธิ
(1) จะรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนออกไป และ
(2) ให้ผู้สร้างทาที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเอง
(ง) การสร้างสิ่งอื่น ปลูกต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของผู้อื่น มาตรา1314 บัญญัติว่า
"ท่านให้ใช้บทบัญญัติ มาตรา 1310, 1311 และ 1313 บังคับตลอดถึงการก่อสร้างใดๆ ซึ่งติดที่ดิน
และการเพาะปลูกต้นไม้หรือธัญชาติด้วยโดยอนุโลม
แต่ข้าวหรือธัญชาติอย่างอื่นอันจะเก็บเกี่ยวรวงผลได้คราว หนึ่งหรือหลายคราวต่อปี
เจ้าของที่ดินต้องยอมให้บุคคลผู้กระทาการโดยสุจริตหรือ ผู้เป็นเจ้าของที่ดิน โดยมีเงื่อนไขซึ่งได้เพาะปลูก
ลงไว้นั้น ครอบครองที่ดินจนกว่าจะเสร็จการเก็บเกี่ยว โดยใช้เงินคานาณตามเกณฑ์ค่าเช่าที่ดินนั้น หรือ
เจ้าของที่ดินจะเข้าครอบครองในทันทีโดยใช้ค่าทดแทนให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งก็ได้"
"การก่อสร้างใดๆ ซึ่งติดที่ดิน" หมายความถึง การก่อสร้างสิ่งอื่นใดนอกเหนือจากากร
ปลูกสร้างโรงเรือน เช่น การก่อสร้างหอนาฬิกา อนุสาวรีย์สะพาน หรือฮวงซุ้ย เป็นต้น ข้อสาคัญต้องเป็น
การสร้างติดกับที่ดินใน ลักษณะที่เป็นส่วนควบกับที่ดิน ตามมาตรา107 และสิ่งก่อสร้างใดๆ ดังกล่าวนี้
หมายถึงอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 100
การเพาะปลูกต้นไม้หรือธัญชาติ หมายความรวมถึง ไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก รวมทั้งธัญ
ชาติก็ย่อมนามาตรา1310, 1311, 1313 มาใช้บังคับได้
มาตรา 1314 วรรค 2 บัญญัติให้เจ้าของที่ดินสิทธิจะเลือกได้2 ทาง คือ ยอมให้ผู้ที่เข้า
มาเพาะปลูกโดยสุจริต หรือผู้ที่เป็นเจ้าของที่ดินโดยมีเงื่อน ไขครอบครองที่ดินต่อไปจนกว่าจะเก็บเกี่ยวให้
แล้วเสร็จ แต่ต้องให้เงินแก่เจ้าของ ที่ดินนั้นในลักษณะของเงินค่าทดแทนการใช้ที่ดินให้แก่เจ้าของที่ดิน
หรือเจ้าของที่ดินจะเข้าครอบครองที่ดินนั้นทันที แต่ต้องชดใช้ค่าทดแทนให้แก่ผู้เพาะ ปลูกโดยสุจริตหรือผู้
เป็นเจ้าของที่ดินโดยมีเงื่อนไขนั้น
(จ) การสร้างสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของตนเอง ด้วยสัมภาระของผู้อื่น
มาตรา 1315 บัญญัติว่า "บุคคลใดสร้างโรงเรือนหรือทา การก่อสร้างอย่างอื่นซึ่งติดที่ดิน หรือเพาะปลูก
ต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของตนด้วยสัมภาระของผู้อื่น ท่านว่าบุคคลนั้นเป็นเจ้าของสัมภาระ แต่ต้องใช้ค่า
สัมภาระ" มาตรา1315 นี้ เป็นกรณีเกี่ยงกับการนาเอาสัมภาระ ของผู้อื่นมาปลูกสร้างในที่ดินของตนเอง
เช่น เอาอิฐ ทราย ไม้หิน ตะปู ซึ่งประกอบเป็นตัวโรงเรือน หรือนาเมล็ดพันธุ์รวมทั้งกิ่งตอน กิ่งชา นามา
เพาะปลูกลงบนที่ดิน
ผลของ มาตรา 1315 มีสาระสาคัญ คือบุคคลที่เป็นเจ้าของ ที่ดินได้เป็นเจ้าของสัมภาระ
แต่ต้องใช้ค่าสัมภาระนั้น อันหมายถึงค่าสิ่งของที่เอามาสร้างหรือเพาะปลูก โดยถือเกณฑ์แห่งราคาสิ่งของใน
ขณะที่นาสัมภาระนั้นมาเป็นหลัก
ฉ) การเอาสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นมารวมเป็นส่วนควบ มาตร1316 บัญญัติว่า "ถ้าเอา
สังหาริมทรัพย์ของบึคคลหลายคนมารวมเข้ากัน จนเป็นส่วนควบหรือแบ่งแยกไม่ได้ไซร้ ท่านว่าบุคคล
เหล่านั้นเป็นเจ้าของรวมแห่งทรัพย์ที่รวมเข้ากัน แต่ละคนมีส่วนตาม ค่าแห่งทรัพย์ของตนในเวลาที่รวมเข้า
กับทรัพย์อื่น
ถ้าทรัพย์อันหนึ่งอาจถือได้ว่าเป็นทรัพย์ประธานไซร้ ท่านว่า เจ้าของทรัพย์นั้นเป็นเจ้าของ
ทรัพย์ที่รวมเข้ากันแต่ผู้เดียว แต่ต้องใช้ค่าแห่งทรัพย์อื่นๆ ให้แกเจ้าของทรัพย์นั้นๆ"
มาตรา 1316 เป็นบทบัญญัติเฉพาะสังหาริมทรัพย์เท่านั้น เพื่อกาหนดว่าใครจะเป็น
เจ้าของสังหาริมทรัพย์ที่รวมกันเข้าจนเป็นส่วนควบ
มาตรา 1316 วรรคแรก เป็นกรณีที่สังหาริมทรัพย์ที่รวมกันเข้านั้น ไม่มีทรัพย์ใดเป็น
ประธาน ซึ่งทรัพย์ส่วนใดจะเป็นทรัพย์ประธานได้ต้องถือเอาทรัพย์ที่มี ลักษณะเป็นส่วนสาคัญที่สุดในความ
เป็นอยู่ของทรัพย์ที่รวมกันนั้นด้วย เช่น แหวนมุกนั้น ทรัพย์ใดเป็นประธาน กรณีนี้ถือว่ามุกมีราคาสูบกว่า
และสาคัญกว่าตัวเรือน แต่ถ้ามุกมาแกะสลักลงบนสิ่งของต่างๆ เช่นที่เขี่ยบุหรี่ ก็ย่อมไม่ถือว่ามุกเป็นทรัพย์
ประธาน ฉะนั้นทรัพย์ประธานนั้นย่อมขึ้อยู่กับข้อเท็จจริงเป็นเรื่องๆไปกล่าวคือ ในบางกรณีก็ยึดถือคุณค่า
หรือราคาของทรัพย์นั้นเป็นเกณฑ์สาคัญ แต่ในบางกรณีก็ต้อง คานึงถึงสภาพของทรัพย์เป็นสาระสาคัญ
1) การรวมสภาพของทรัพย์อาจจะรวมผสมกลมกลืนกันกลายเป็น สิ่งใหม่ขึ้มาจนไม่
สามารถหาร่องรอยอสังหาริมทรัพย์เดิมได้ฉะนั้น มาตรา1316 วรรคแรก จึงบัญญัติให้เจ้าของทรัพย์ทุก
คนที่นาทรัพย์มารวมกันเป็นเจ้า ของรวมแห่งทรัพย์ที่นามารวมกันเป็นส่วนควบหรือทรัพย์ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้
นั้นและแต่ละคนมี ส่วนตามค่าแห่งทรัพย์ของตนในเวลาที่รวมเข้ากับทรัพย์อื่น เพราะไม่สามารถทราบ ได้
ว่าทรัพย์ส่วนไหนเป็นทรัพย์ประธาน
ส่วนมาตรา 1316 วรรคสอง เป็นกรณีที่อาจถือหรือทราบได้ว่าทรัพย์ใด เป็นทรัพย์
ประธานโดยให้เจ้าของทรัพย์ประธรานเป็นเจ้าของทรัพย์ที่รวมกันเข้าแต่ผู้เดียว แต่ต้องใช้ค่าแห่งทรัพย์อื่นๆ
ให้แก่เจ้าของทรัพย์นั้นๆ เช่น นายเอกเป็นเจ้าของล้อรถจักรยาน นายโทเป็นเจ้าของตัวรถจักรยาน ย่อมถือว่า
นายโทเป็นเจ้าของรถจักรยานและรวมทั้งล้อรถจักรยานด้วย แต่ต้องชดให้ราคาล้อรถจักรยานให้กับนายเอก
2) การได้มาโดยเข้าถือเอาซึ่งสังหาริมทรัพย์ไม่มีเจ้าของตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์มาตรา 1318-1322
เป็นกรณีที่สังหาริมทรัพย์นั้นอาจเคยมีเจ้าของมาก่อนแต่เจ้า ของเลิกครอบครองโดยมี
เจตนาสละกรรมสิทธิ์ เช่น การที่เจ้าของสนัขนาสุนัขไปปล่อย เป็นต้น โดยการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ใน
สังหาริม ทรัพย์ที่ไม่มีเจ้าของเช่นนี้สามารถกระทาโดยการเข้ายึดถือหรือแสดงการหวงแหนด้วย เจตนาจะ
เอาเป็นของตน
นอกจากนี้ สัตว์ป่าในที่รกร้างว่างเปล่าหรือในที่น้าสาธารณะหรือที่ดินที่น้าของผู้อื่น
แต่เจ้าของมิได้หวงแหน ย่อมเป็นสัตว์ไม่มีเจ้าของผู้ใดจับได้จึงเป็นการเข้าถือเอา และถือเป็นเจ้าของสัตว์นั้น
แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นๆ ด้วย อย่างไรก็ตามการที่บุคคลทา ให้สัตว์ป่าที่ไม่มี
เจ้าของบาดเจ็บแล้วติดตามไปย่อมถือเป็นการเข้าถือสัตว์ที่ไม่มีเจ้าของได้
3) การได้มาซึ่งของตกหาย ทรัพย์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและ สังหาริมทรัพย์มีค่าซึ่งซ่อน
หรือฝังไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1323-1328
1) การได้มาซึ่งของตกหาย
(1) ส่งมอบทรัพย์สินนั้นแก่ผู้ทาของหายหรือเจ้าของ หรือผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้น
โดยมิชักช้า หรือ
(2) แจ้งแก่บุคคลดังกล่าวในข้อ (1) โดยไม่ชักช้า
(3) ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้ตารวจหรือเจ้าหน้าที่อื่นภายใน 3 วัน และแจ้งพฤติการณ์
ตามที่ทราบ อันอาจเป็นเครื่องช่วนในการสืบหาตัวบุคคล ผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้น
สิทธิเรียกร้องเอารางวัลของผู้เก็บของได้เมื่อได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้เก็บ
ได้อาจเรียกเอารางวัลจากบุคคลผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้นเป็นจานวนร้อยละ10 แห่งค่าทรัพย์สินภายใน
ราคาพันบาท และถ้าราคาสูงกว่านั้นขึ้นไปให้คิดให้อีกร้อยละ5 ในจานวนที่เพิ่มขึ้น
ถ้าผู้เก็บได้ส่งมอบทรัพย์สินแก่ตารวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่อื่นนอกจากจะต้องให้
รางวัลผู้เก็บได้ตามอัตราดังกล่าวแล้วเจ้าของทรัพย์สิน ยังจะต้องเสียค่าธรรมเนียมอีกร้อยละ2.5 ให้แก่กรม
ตารวจหรือทบวงการอื่นๆ อีกด้วย แต่ค่าธรรมเนียมจานวนนี้ ท่านจากัดไว้ไม่ให้เกินร้อยบาทตามมาตรา
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

More Related Content

What's hot

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
Eyezz Alazy
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
Zee Gopgap
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
Nithimar Or
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
0895043723
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
krupornpana55
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
billy ratchadamri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
Saiiew
 
การศาล
การศาลการศาล
การศาล
thnaporn999
 

What's hot (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
การศาล
การศาลการศาล
การศาล
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

  • 1. 1. สารบาญ 15. ภาค 2 บทที่ 5 กฎหมายว่าด ้วยทรัพย์และทรัพย์สิน 2. ภาค2 บทที่ 5 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์และทรัพย์สิน 1. ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน กฎหมายลักษณะทรัพย์หรือกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินเป็นกฎหมายที่มี ความสาคัญอีกทั้งเป็นกฎหมายที่เกี่ยว ข้องกับคนทุกคนอยู่ตลอดเวลาและเป็น กฎหมายพื้นฐานที่จะต้องศึกษาก่อนที่จะศึกษากฎหมายบางเรื่อง จึงจะสามารถ เข้าใจดี 1. ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มรตรา137 บัญญัติว่า "ทรัพย์หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง" และมาตรา 138 บัญญัติว่า "ทรัพย์สินหมายความว่ารวมทั้งทรัพย์และ วัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้" เพื่อให้เข้าใจความหมายของคาว่า ทรัพย์และทรัพย์สิน จาเป็นต้องพิจารณา มาตรา 137 และมาตรา138 ประกอบกัน กล่าวคือ คาว่า "ทรัพย์" นอกจากจะหมายถึง วัตถุมีรูปร่งแล้วยังต้องเป็นวัตถุมีรูปร่งซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอกได้ด้วย ส่วนคาว่า "ทรัพย์สิน" หมายถึงวัตถุมีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอาได้ประการหนึ่ง และยัง หมายถึงวัตถุ ไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาได้และถือเอาได้อีกประการหนึ่ง จะเห็นได้ว่าในเมื่อทรัพย์เป็นทรัพย์สินส่วนหนึ่ง ทรัพย์จึงต้องเป็นวัตถุมีรูปร่างซึ่ง อาจมีราคาได้และถือเอาได้เช่นเดียวกัน คาว่า "มีรูปร่าง" หมายถึง สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตาจับต้องสัมผัสได้เช่น โต๊ะ เก้าอี้ บ้าน เรือน คาว่า "ไม่มีรูปร่าง" หมายถึง สิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตา จับต้องสัมผัสไม่ได้เช่น พลังงานปรมาณู,แก๊ส,กาลังแห่งธรรมชาติ และยังได้แก่สิทธิต่างๆเกี่ยวกับทรัพย์เช่น
  • 2. กรรมสิทธิ์,ลิขสิทธิ์,สิทธิบัตร คาว่า "อาจถือเอาได้" หมายถึง เพียงแต่อาจถือเอาได้เท่านั้น มีอาการเข้าหวงกัน ไว้เพื่อตนเอง ไม่จาเป็นต้องยึดถือจับต้องได้จริงจัง เช่น รังนกในถ้าเมื่อผู้นั้นได้ สัมปทานจากรัฐบาลย่อมมีอานาจเข้าครอบครองถ้าแสดงอาการหวงรังนก ก็เรียกได้ว่า อาจถือเอาได้หรือสิทธิบางอย่างแม้จะจับต้องมิได้แต่ก็ยังอยู่ในลักษณะที่จะยึดถือหวง แหนไว้เพื่อตนเองได้เช่น ลิขสิทธิ์,สิทธิในการเช่า,กระแสไฟฟ้า เป็นต้น สิ่งสาคัญที่ต้องเน้นก็คือไม่ว่าจะเป็นวัตถุที่มีรูปร่างหรือไม่ก็ตาม จะเป็น ทรัพย์สินได้ก็ต่อเมื่อ "อาจมีราคาและอาจถือเอาได้" ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งก็ไม่ถือ เป็น ทรัพย์สิน เช่นมนุษย์เรา แม้จะมีรูปร่างแต่ก็ไม่อาจมีราคาซื้อขายกันได้ฉะนั้น มนุษย์จึงไม่ใช่ทรัพย์เมื่อมนุษย์ไม่ใช่ทรัพย์ย่อมไม่ทรัพย์สินด้วย แต่หากได้มีการแยก อวัยวะออกมาเป็นส่วนๆ จากร่างกาย เช่น ส้นผมหากได้ตัดไปขาย ตวงตาที่บุคคลขาย หรืออุทิศแก่โรงพยาบาล ดังนี้ ย่อมมีราคาและถือเอาได้จึงเป็นทรัพย์สินได้ 2. ประเภทของทรัพย์สิน 2.1 ความหมายของอสังหาริมทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งทรัพย์ออกเป็น 5 ประเภท 1) อสังหาริมทรัพย์ 2) สังหาริมทรัพย์ 3) ทรัพย์แบ่งได้ 4) ทรัพย์แบ่งไม่ได้ 5) ทรัพย์นอกพาณิชย์ 2.1 ความหมายของอสังหาริมทรัพย์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา139 บัญญัติว่า "อสังหาริมทรัพย์ หมายความว่า ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินลักษณะเป็นการถาวรหรือ ประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ ที่ดินหรือทรัพย์อันติด อยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย" โดยพิจารณาแยกดังนี้ 2.1.1 ที่ดิน คือ พื้นดินทั่วๆ ไปที่มีอาณาเขต พึงกาหนดได้เป็นส่วนกว้างและส่วน ยาว แต่ไม่รวมถึงดินทีขุดขึ้นมา แล้วย่อมไม่เป็นที่ดินต่อไป เป็นเพียง
  • 3. สังหาริมทรัพย์เท่านั้น 2.1.2 ทรัพย์อันติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรได้แก่ 2.1.2.1 ทรัพย์อันติดกับที่ดิน โดยธรรมชาติ เช่น ไม้ยืนต้นที่ปลูกลง ในที่ดิน โดยไม้ยืนต้นนี้ส่วนใหญ่คือ พันธุ์ไม้ยืนต้นที่ปลูกลงในที่ดิน โดยไม้ยืน ต้นนี้ส่วนใหญ่มีอายุยืนกว่า3 ปี เช่น ต้นพูล,มะม่วง 2.1.2.2 ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินโดยมีผู้นามาติดไว้เช่น ตึก สะพาน เจดีย์ อนุสาวรีย์หอนาฬิกา โดยการนามาติดกับที่ดิน เช่นนี้ต้อง เป็นการติดในลักษณะ ตรึงตราแน่นหนาถาวร แต่ไม่จาเป็นต้องติดอยู่กับที่ตลอดไป และหากมีการรื้อ ถอนจะทาทรัพย์นั้นเสีย หายทาให้บุบสลายเสียสภาพหรือเสียรูปทรง การที่จะพิจารณาว่าเป็นทรัพย์ซึ่งติดอยู่กับที่ดินอันมีลักษณะเป็นถาวร ให้ดูที่สภาพว่ามีลักษณะติดอยู่กับที่ดินเป็นการถาวรหรือไม่ ไม่ใช่ไปดูที่เจตนา ติดไว้นานแค่ไหน เช่า ร้านค้าที่ปลูกในงานมหกรรมต่างๆ ชั่วระยะที่มีงาน โดยมี การสร้างเป็นอย่างดี สามารถติดยู่เป็นการมั่นคงถาวร มีการขุดหลุมวางเสา คอนกรีต หรือใช้ไม้อย่างดีมาเป็นโครงสร้าง เป็นต้น แต่ผู้ปลูกสร้างมีเจตนาให้ ติดอยู่กับที่ดินนี้เพียง5วัน 10 วัน ตามระยะเวลางาน กรณีเช่นนี้ยังคงถือว่าร้าน ดังกล่าวเป็นอสังหาริมทรัพย์ด้วย 2.1.3 ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน คือทรัพย์ที่ เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินบนพื้นโลกตามสภาพธรรมชาติ เช่น กรวด,ทราบ,แร่โลหะต่างๆ,ห้วย,หนอง,คลอง,บึง,ทะเลสาบ 2.1.4 ทรัพย์สิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดิน หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินทรัพยสิทธินี้ก็คือทรัพย์สิทธิที่ กฎหมายก่อตั้งไว้ใน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ4 นั้นเองไม่ว่า จะเป็นกรรมสิทธิ์ในที่ดินสิทธิอาศัยในโรงเรียน,สิทธิครอบครองในสระในที่ดิน ของเรา ย่อมเป็นอสังหาริมทรัพย์ 2.2 ความหมายของสังหาริมทรัพย์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา140 บัญญัติว่า "สังหาริมทรัพย์หมายความว่า ทรัพย์สินอื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย์และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย" มาตรา 140 นี้กาหนด ความหมายของอสังหาริมทรัพย์เป็นบทปฏิเสธของความหมายของ อสังหาริมทรัพย์เพราะฉะนั้นอะไรก็ตามถ้าไม่เป็นอสังหาริมทรัพย์และจะต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ทั้งสิ้น เช่น นาฬิกา,โต๊ะ,รถยนต์ตลอดจนสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย คาว่า "ทรัพย์สิน" ให้หมายรวมถึง ทรัพย์และวัตถุมีรูปร่งซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ดังนั้น คาว่าทรัพย์สินในมาตรา140 นี้ต้องเอา
  • 4. ความหมายนั้นมาพิจารณาด้วย สิทธิในสังหาริมทรัพย์ที่มีรูปร่าง เช่น กรรมสิทธิ์ในรถยนต์เป็สิทธิกันเกี่ยวกับทรัพย์สินคือรถยนต์ดังนั้น กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ย่อมเป็นสังหาริมทรัพย์ด้วย สิทธิในสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง สิทธิเหล่านี้ต้องเป็นสิทธิที่กฎหมายให้การรับรองแล้ว เช่น ลิขสิทธิ์ ,สิทธิบัตร สิทธิเหล่านี้เป็นทรัพย์สินซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้สิทธิเหล่านี้จึงเป็นสังหาริมทรัพย์ ประเภทของสังหาริมทรัพย์ ประเภทของสังหาริมทรัพย์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 สังหาริมทรัพย์ทั่วไป สังหาริมทรัพย์ทั่วไป คือ ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มี ลักษณะเคลื่อนที่ได้ด้วยแรง กาลังธรรมชาติ หรือโดยแรงกาลังกายภาพแห่งทรัพย์นั้น เช่น รถยนต์ตู้เย็น พัดลม โทรทัศน์ จักรยาน 2.2.2 สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ คือ ทรัพย์อื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มี กฎหมายได้กาหนดให้เป็น ทรัพย์ในลักษณะพิเศษกว่าสังหาริมทรัพย์ทั่วไป อันได้แก่ เรือกาปั่นมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป แพ และสัตว์พาหนะ คือ ช้าง ม้า วัว ความ ลา ล่อ สิ่งสาคัญคือในการทานิติกรรมจาหน่ายจ่ายโอนสังหาริมทรัพย์จาต้องทราบด้วย ว่าเป็น สังหาริมทรัพย์ประเภทใด เพราะหากเป็นสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษและจะต้องได้ทาเป็นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่เช่นเดียวกับกรณี การจาหน่าย จ่าย โอนทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ด้วย อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์มีลักษณะและผลของกฎหมายแตกต่างกันคือ 1) อสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะที่ดินจะต้องมีเจ้าของเสมอ แต่สังหาริม ทรัพย์ไม่จาเป็นต้องมีเจ้าของเสมอไป 2) ทรัพยสิทธิบางอย่างจะก่อให้เกิดขึ้นได้ก็แต่ในอสังหาริมทรัพย์เท่านั้น เช่น ภาระจายอม, สิทธิอาศัย, สิทธิเก็บกิน, สิทธิเหนือพื้นดิน, ภาระติดพันใน อสังหาริมทรัพย์ 3) การได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองทรัพย์ ที่เรียกว่าแย่งการครอบครอง หรือครอบครองปรปักษ์นั้น มีอายุความได้สิทธิต่างกันโดยการ ได้กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์จะ มีระยะเวลายาวกว่าสังหาริมทรัพย์ 4) แบบนิติกรรม นิติกรรมเพื่อให้ได้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ต้องทาตามแบบ ส่วนสังหาริมทรัพย์โดยทั่วไปไม่ จาต้องทา 5) ในเรื่องแดนกรรมสิทธิ์ เฉพาะตัวที่ดินซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์เท่านั้นมีกรรม สิทธิ์ทั้งเหนือพื้นดินและใต้พื้นดิน ส่วน สังหาริมทรัพย์นี้ไม่มีแดนกรรมสิทธิ์
  • 5. 6) สิทธิของคนต่างด้าว ในการได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินมีกฎหมายบัญญัติควบคุมไว้โดยไม่ให้คนต่างด้าวได้กรรมสิทธิ์ ในอสังหาริมทรัพย์หรือถ้าได้ก็ต้องอยู่ในวงจากัดแต่ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ไม่มีกฎหมายอะไรควบคุมไว้ 2.3 ทรัพย์แบ่งได้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา141 บัญญัติว่า "ทรัพย์แบ่งได้ หมายความว่า ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนๆ ได้จริงถนัดชัดแจ้งแต่ละ ส่วน ได้รูปบริบูรณ์ลาพังตัว" ทรัพย์แบ่งได้คือ ทรัพย์ที่อาจแยกหรือแบ่งออกจากกันได้และเมื่อแยกออกจาก กันได้แล้ว ไม่เสียรูปทรงและแต่ละส่วนได้รูปบริบูรณ์ลาพังตนเอง คือแบ่งไป แล้วยังมีลักษณะของตัวทรัพย์นั้น อยู่เพียงแต่ประมาณลดลงไป เช่น ผ้าเป็นพับๆ ซึ่งสามารถตัดแบ่งเป็นเมตรๆ ได้จะเห็นได้ว่า ยังเป็นลักษณะผ้า เพียงแต่ปริมาณ ในแต่ละผืนน้อยลง 2.4 ทรัพย์แบ่งไม่ได้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา142 บัญญัติว่า "ทรัพย์แบ่งไม่ได้ หมายความว่า ทรัพย์อันจะแยกออกจากกันไม่ได้นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของ ทรัพย์หมายความ ถึงทรัพย์ที่มีกฎหมายบัญญัติว่าแบ่งไม่ได้ด้วย" ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้มี 2 ลักษณะ คือ 2.4.1 ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยสภาพ คือ โดยสภาพของตัวทรัพย์นั้นเองถ้าแบ่งแล้วจะทาให้เปลี่ยน แปลง สภาวะของทรัพย์นั้นไป เช่น ตึกรามบ้านช่อง 2.4.2 ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยอานาจของกฎหมาย หมายความถึงทรัพย์หรือ ทรัพย์สินที่กฎหมายบัญญัติว่าแบ่งไม่ได้เช่น หุ้นในบริษัทมหาชนหรือเอกชน ทรัพย์ที่เป็นส่วนควบ ทรัพย์แบ่งได้หรือทรัพย์แบ่งไม่ได้นั้นอาจเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือเป็น สังหาริมทรัพย์ก็ได้การที่กฎหมายแบ่งประเภทของทรัพย์เป็นทรัพย์แบ่งได้หรือ แบ่งไม่ได้นี้เพื่อ ประโยชน์ในการแบ่งทรัพย์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมโดยถ้าเป็นทรัพย์ แบ่งได้ก็แบ่งตัวทรัพย์กัน ไปตามส่วนแห่งการเป็นเจ้าของรวม หากปรากฎว่าตก ลงกันไม่ได้ว่าใครจะเอาส่วนใดหรือกรณีที่เป็นทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้ก็ต้องแบ่งตาม วิธีการทีกฎหมายกาหนดไว้คือโดยวิธีประมูลราคาระหว่างเจ้าของรวมหรือขาย ทอดตลาด
  • 6. 2.5 ทรัพย์นอกพาณิชย์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา143 บัญญัติว่า "ทรัพย์นอก พาณิชย์หมายความว่า ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้และทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดย ชอบด้วยกฎหมาย" 2.5.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้ ทรัพย์และทรัพย์สินนั้นจะต้องเป็นสิ่งของหรือ สิทธิที่อาจมีราคาและ อาจถือเอาได้โดยต้องประกอบกันทั้งสองอย่าง ถ้าอาจมีราคาอย่างเดียวแต่ไม่ อาจถือเอาได้หรืออาจเอาได้แต่ไม่อาจมีราคา ก็ไม่ใช้ทรัพย์สินดังนั้นทรัพย์นอก พาณิชย์ในความหมายแรกนี้ คือ ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้นั้นก็ไม่ใช่ทรัพย์เช่น ดวงดาว, ดวงจันทร์, เมฆบนฟ้า, สายลม 2.5.2 ทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เป็นกรณีที่กฎหมายระบุไว้ชัดเจนว่าห้ามโอน หรือทรัพย์สินที่จะนามา จาหน่ายจ่ายโอน เช่น ทรัพย์สินทั่วๆ ไปมิได้เว้นแต่จะโอน โดยอาศัยอานาจ แห่งกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน, ที่ธรณีสงฆ์, สิทธิ ได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดู เป็นต้น 3. ส่วนอันประกอบทรัพย์ 3.1 ส่วนควบ ส่วนอันประกอบทรัพย์มี3 ลักษณะ คือ ส่วนควบ อุปกรณ์ ดอกผล 3.1 ส่วนควบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา144 บัญญัติว่า "ส่วนควบของ ทรัพย์หมายความว่า ส่วนซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจากรีตประเพณีแห่ง ท้องถิ่นเป็นสาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้นและไม่อาจแยกจากกันได้ นอกจากจะทาลายทาให้บุบสลายหรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปหรือสภาพ ไป เจ้าของทรัพย์ย่อมมีกรรมสิทธิ์ในส่วนควบของทรัพย์นั้น" ในเรื่องส่วนควบนั้นจะมีความเกี่ยวพันกันระหว่างทรัพย์ตั้งแต่สองอย่างขึ้น ไป และต้องมีทรัพย์หลักอยู่อย่างหนึ่งคือทรัพย์ประธาน ทรัพย์นอกนั้นเข้า เกี่ยวข้องเป็นส่วนควบ และผู้ใดเป็นเจ้าของทรัพย์ประธานย่อมถือว่าเป็นเจ้าของ
  • 7. ส่วนควบนั้นด้วย ทรัพย์ที่เป็นส่วนควบต้องประกอบด้วย2 ประการ คือ 3.1.1 ส่วนควบต้องเป็นสาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของทรัพย์ใหม่นั้น เช่น ใบพัดและหางเสือเป็นสาระสาคัญของเรือยนต์ เลนส์แว่นตาย่อมเป็น สาระสาคัญในความเป็น อยู่ของแว่นตาโดยการเป็นสาระสาคัญนั้นอาจเป็น 3.1.1.1 โดยสภาพแห่งทรัพย์นั้นเอง เช่น เข็มนาฬิกา โดยสภาพย่อม เป็นสาระสาคัญของนาฬิกา กระเบี้องมุงหลังคาย่อมเป็นสาระสาคัญของบ้าน โดยสภาพ 3.1.1.2 โดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เช่น บ้านโดยจารีตประเพณี ย่อมเป็น สาระสาคัญในความเป็นอยู่ของที่ดิน 3.1.2 ส่วนควบต้องมีสภาพไม่อาจแยกออกจากกันได้นอกจากทาลายทา บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนรูปทรง เช่น บ้านย่อมประกอบด้วย เสา ฝา หลังคา ประตู หน้าต่าง โดยสิ่งเหล่านี้ เราไม่อาจแยกออกจากตัวบ้านได้นอกจาก จะรื้อทาลาย หรือรถยนต์ถ้าเอาล้อมรถออกไปย่อมทาให้รถยนต์นั้นเปลี่ยนแปลง รูปทรงไป การร่วมสภาพนั้นอาจเป็นการกระทาของบุคคลก็ได้เช่นบ้านเรือนรถยนต์ ดังกล่าว หรืออาจเป็นการรวมสภาพโดยธรรมชาติก็ได้เช่น ที่งอกริมตลิ่ง ทรัพย์ใดแม้เป็นสาระสาคัญในความเป็นอยู่แห่งทรัพย์แต่ถ้าไม่มีการรวม สภาพกัน จนแยกไม่ได้แล้วหาใช่ส่วนควบไม่ เช่น ช้อนกับส้อม ฉิ่งกับฉับ ไม่ อาจถือว่าช้อนเป็นส่วนความของส้อม หรือฉับเป็นส่วนควบของฉิ่ง และทรัพย์ ใดแม้จะรวมสภาพจนไม่อาจแยกออกจากันได้แต่ถ้าทรัพย์นั้นไม่เป็น สาระสาคัญ ในความเป็นอยู่ของตัวทรัพย์ก็มิใช้ส่วนควบ เช่น ฝากั้นห้องแม้จะมี สภาพไม่อาจแยกออกจากตัวบ้านได้และหากรื้อจะทาให้บุบสลายไป แต่ ตามปกติไม่ถือว่าเป็นสาระสาคัญของตัวบ้าน ดังนั้นฝากั้นห้องจึงมิใช่ส่วนควบ ของตัวบ้าน ข้อยกเว้นไม่เป็นส่วนควบ 1)ไม้ล้มลุก คือต้นไม่มีอายุไม่เกิน3 ปี และธัญชาติ คือข้าวต่างๆ อันจะ เก็บเกี่ยวรวงผลได้คราวหนึ่งหรือหลายคราวต่อปี 2) ทรัพย์ซึ่งติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็น ส่วนควบ เช่น ร้านค้าที่ตั้งขึ้นในงานมหกรรมต่างๆ เพียงชั่วคราว 3) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นอันผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่น ใช้ สิทธิ์ปลูกสร้างทาลงไว้ในที่ดังนั้น เช่น ทาสัญญาเช่าที่ดินเพื่อสร้างบ้านลงบน
  • 8. ที่ดินนั้น ผู้เช่าย่อมมีสิทธิ์สร้างบ้านบนที่ดินนั้นได้บ้านย่อมไม่ตกเป็นส่วนควบ ของที่ดิน 3.2 อุปกรณ์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา147 บัญญัติว่า "อุปกรณ์ หมายความว่า สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าทรัพย์เป็นทรัพย์ ประธานเป็นของใช้ประจากับทรัพย์ประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดการดูแลใช้สอบ หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธานและเจ้าของทรัพย์ได้นามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธาน โดยการนามา ติดต่อหรือปรับเข้าไว้หรือโดยการทาประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกันทรัพย์ที่ เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ที่แยกออกจากทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นการชั่วคราวที่ยังไม่ขาดจาก การเป็นอุปกรณ์ ของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ย่อมตกติดไปกับทรัพย์ที่เป็นประธาน เว้นแต่จะมีการกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น" องค์ประกอบที่จะเป็นอุปกรณ์พิจารณาได้ดังนี้ 3.2.1 อุปกรณ์จะต้องมีทรัพย์เป็นประธานเสียก่อน โดยตัวทรัพย์ประธาน จะเป็น สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ก็ได้เช่น ยางอะไหล่เครื่องมือแม่แรงอยู่ที่ท้ายรถ ต้องมี ทรัพย์ประธานคือ ตัวรถยนต์ก่อน 3.2.2 อุปกรณ์ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น จะเป็นอสังหาริมทรัพย์ ไม่ได้ 3.2.3 ต้องไม่ใช้ทรัพย์ที่มีการร่วมสภาพกับทรัพย์ที่เป็นประธานจนไม่สามารถแยกออก จากกันได้ซึ่งหากมี่การแยกจากกันไม่ได้ก็จะเป็นเรื่องของส่วนควบ เช่น แว่นตา กรอบแว่นตา ถือว่าเป็นทรัพย์ประธาน ส่วนเลนส์เป็นส่วนควบ โดยจะต้องอยู่ร่วมกันถ้าเอาเลนส์ออก ไปแว่น ย่อมเปลี่ยนสภาพไม่เป็นแว่นตา แต่หากเป็นปลอกแว่นตาย่อมไม่รวมสภาพกับแว่นตา จึง แยกกันได้ปลอกแว่นตาจึงเป็นอุปกรณ์ 3.2.4 อุปกรณ์ต้องไม่ใช้ทรัพย์ที่เป็นประธานด้วยกัน กล่าวคือในกรณีที่มีทรัพย์สอง สิ่งที่ มีความสาคัญเท่ากันไม่อาจชี้ชัดลงไปว่าอะไรเป็นทรัพย์ประธานสองสิ่งนี้ย่อมไม่เป็นอุปกรณ์ซึ่ง กันและกัน เช่นตะเกียบ ช้อนส้อม 3.2.5 อุปกรณ์นั้นต้องเป็นทรัพย์ของเจ้าของเดียวกัน 3.2.6 อุปกรณ์ต้องเป็นทรัพย์ที่ใช้เป็นประจาอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้นเป็นอาจิณ คือ มีการใช้เป็นไปตามปกติเสมอหรือเนื่องตามสภาพของทรัพย์นั้นโดยพิจารณาจากปกตินิยม เฉพาะท้องถิ่น หรือพิจารณาจากเจตนา ของคนที่เป็นเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น 3.2.7 อุปกรณ์ซึ่งนามาใช้ประจาเป็นอาจิณกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้นต้องนามา อยู่เป็น
  • 9. ประจาเพื่อประโยชน์ในการจัดดูแลใช้สอบหรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน เช่น วิทยุติดรถยนต์ ไม่ได้นามาติดไว้เพื่อดูแลรักษารถยนต์จึงไม่ใช่อุปกรณ์ 3.2.8 อุปกรณ์ต้องเป็นทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์เป็นประธานนามาสู่ตัวทรัพย์เป็นประธาน ในฐานะเคื่รองใช้เพื่อประโยชน์ในการดูแลใช้สอยหรือรักษาทรัพย์นั้น เช่น มีแว่นตาจึงไปซื้อ ปลอกแว่นตาสาหรับใช้ใส่แว่นตา ปลอกแว่นตาจึงเป็นอุปกรณ์ ในกรณีที่มีการแยกอุปกรณ์ออกไปชั่วคราว อุปกรณ์ที่แยกออกไปยังไม่ถือว่าขาดจากการ เป็นอุปกรณ์ เพราะเหตุว่าทรัพย์ที่เป็นอุปกรณ์ ย่อมติดไปกับทรัพย์ประธานเสมอ ดังนั้นหากมี การขายทรัพย์ที่เป็นประธาน ย่อมถือว่าขายทรัพย์ที่เป็นอุปกรณ์ไปด้วย เว้นแต่มีการตกลงกัน เป็นอย่างอื่น 3.3 ดอกผล ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา148 บัญญัติว่า "ดอกผลของทรัพย์ได้แก่ ดอกผล ธรรมดาและดอกผลนิตินัย" ดอกผลธรรมดา หมายความสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยมี การใช้ทรัพย์นั้นตามปกตินิยมและสามารถถือเอาได้เมื่อขาดทรัพย์นั้น ดอกผลนิตินัย หมายความว่า ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้ง คราวแก่เจ้าของ ทรัพย์จากผู้อื่น เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้นและสามารถคานวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตาม ระยะเวลาที่กาหนดไว้ดอกผลตามกฎหมายมีอยู่2 ชนิด คือ 3.3.1 ดอกผลธรรมดา ซึ่งดอกผลธรรมดานันเป็นทรัพย์ที่เกิดขึ้นตามธรรม ชาติจากตัว ทรัพย์หรือจากตัวแม่ทรัพย์เมื่อขาดตกออกมาจากแม่ทรัพย์แล้วจะกลายเป็นดอกผลธรรมดาที่ สามารถยึดถือเอา ได้และข้อสาคัญเมื่อหลุดขาดตกออกมาแล้ว ตัวแม่ทรัพย์จะต้องไม่เปลี่ยน สภาวะหรือไม่เปลี่ยนรูปร่างไป เช่น ผลไม้ต่างๆขณะที่ ผลยังติดอยู่กับต้นไม่ถือเป็นดอกผล จะ เป็นดอกผลเมื่อมันขาดหลุดมาจากต้นเสียก่อน แต่หากเป็นกรณีที่มีการขาดหลุดจากตัวทรัพย์ แล้วทาให้แม่ทรัพย์เปลี่ยนสภาวะหรือเปลี่ยนรูปร่างไม่ถือเป็นดอกผล เช่น วัวนั้นตามปกติเมื่อโต ขึ้นจะมีเขางอกถ้าเราไปตัดเขาวัวออกเสียย่อมทาให้วัวเสียสภาพไป ดังนั้นเขาวัวหรือเขาสัตว์จึง ไม่ถือเป็นดอกผล 3.3.2 ดอกผลนิตินัย เป็นดอกผลที่มิได้เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากตัวของแม่ทรัพย์แต่เป็น การเกิดขึ้นจากผู้อื่นได้ใช้ทรัพย์โดยจากการใช้ทรัพย์นั้นเขาให้ทรัพย์อีกอย่างหนึ่งหรือประโยชน์ เป็นการตอบแทน ดอกผลนิตินัยมีลักษณะดังนี้ 3.3.2.1 ดอกผลนิตินัยอาจจะเป็นทรัพย์หรือประโยชน์ก็ได้เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า หรือ ประโยชน์ในการให้เข้าไปทากินในที่ดิน 3.3.2.2 ดอกผลนิตินัยเป็นทรัพย์ที่ตก ได้แก่ เจ้าของทรัพย์และเป็นการให้แก่แม่
  • 10. ทรัพย์เป็นครั้งคราว โดยอาจเป็นรายวัน รายเดือนหรือตามระยะเวลาที่ตกลงไว้ 3.3.2.3 ดอกผลนิตินัยตกได้แก่ผู้เป็นเจ้าของแม่ทรัพย์เพราะเหตุที่ผู้อื่นได้ใช้ตัวแม่ ทรัพย์นั้น เช่น นาที่ดินออกให้เช่า ค่าเช่าเป็นผลประโยชน์ที่ผู้เช่าให้แก่เจ้าของที่ดินเนื่องจากการ ที่ได้ใช้สอยที่ดินนั้น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1336 บัญญัติว่า "เจ้าของ ทรัพย์สินสิทธิได้ ดอกผลแห่งทรัพย์นั้น" ดังนั้น เจ้าของแม่ทรัพย์ย่อมมีสิทธิได้ดอกผลของตัวแม่ทรัพย์นั้น ไม่ว่าเป็นดอกผลธรรม กาหรือดอกผลพิเศษ เช่น ที่ดินเพื่อปลูกบ้านโดยตกลงกันว่าดอกผล อันเกิดจากที่ดินผู้ให้เช่าขอ สงวนไว้เก็บกินเป็นส่วนตัว หรือในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษ เช่น เรื่องทรัพย์สิน ระหว่างสามีภริยา หรือกรณีลาภมิควรได้โดยผู้รับทรัพย์สินไปโดยสุจริต ว่าตนมีสิทธิรับทรัพย์ นั้นไว้ผู้นั้นย่อมได้ดอกผลของทรัพย์สินนั้นตลอดเวลาที่สุจริตอยู่ 4. บุคคลสิทธิและทรัพย์สิทธิ สิทธิต่างๆ ที่บุคคลมีได้นั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1) บุคคลสิทธิ(PERSONAL RIGHT) 2) ทรัพยสิทธิ (REAL RIGHT) 4.1) บุคคลสิทธิ(PERSONAL RIGHT) บุคคลสิทธิ คือ สิทธิที่มีอยู่เหนือบุคคล เป็นสิทธิบังคับเอาแก่ตัวบุคคล เป็นหลักเพื่อให้บุคคลนั้นทาการหรืองดเว้นกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือส่ง มอบทรัพย์สิน ดังนั้น บุคคลสิทธิจึงเป็นสิทธิที่วัตถุแห่งสิทธิเป็นการกระทาหรือ งดเว้นการกระทาการ ซึ่งในกฎหมายลักษณะหนี้เรียกว่า สิทธิเรียกร้อง สิทธิ เหล่านี้เป็นสิทธิที่จะบังคับเอากับลูกหนี้เท่านั้น จะบังคับเอาจากตัวทรัพย์มิได้ บุคคลสิทธินี้ไม่อาจใช้ยันแก่บุคคลทั่วไป จะบังคับได้เฉพาะตัวลูกหนี้ ทายาท หรือผู้สืบสิทธิของลูกหนี้เท่านั้น เช่น นาย ก. ทาสัญญาเช่าบ้านนาย ข. แต่ไม่อาจ เข้าอยู่ได้เพราะนาย ค. ยังอาศัยอยู่ซึ่ง นาย ก. ต้องไปเรียกร้องในนาย ข. ผู้ให้เช่า ส่งมอบบ้านที่เช่าให้ตนแต่จะไปบังคับนาย ค. ซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาของตน ไม่ได้ 4.2) ทรัพยสิทธิ (REAL RIGHT) ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์สิน หรือสิทธิที่มีอยู่ เหนือทรัพย์สินโดยตรง เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพื้นดิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์สิทธิจานอง สิทธิ จานา สิทธิยึดหน่วง ลิขสิทธิ์ สิทธิในเครื่องหมายการค้า เป็นต้น ทรัพยสิทธิย่อม
  • 11. ใช้ยันได้แก่บุคคลทั่วไป เช่น เรามีกรรมสิทธิ์หนังสือ เราจะขีดเขียน ทาลายอย่าง ใดก็ได้แม้หนังสือนั้นจะตกไปอยู่ที่ผู้ใด เราก็มีสิทธิติดตามเอาคือได้ทรัพย์สิทธ จะก่อตั้งขึ้นได้ก็โดยอาศัยอานาจของกฎหมายเท่านั้น 5. การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิ 5.1 การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิโดยทางนิติกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299 วรรค 1 บัญญัติว่า "ภายในบังคับ แห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ท่านว่า ได้มาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหา ริม ทรัพย์นั้นไม่สมบูรณ์เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็นหนังสือและจาทะเบียนการ ได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่" การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์โดยทางนิติ กรรม มาตรา1299 วรรค 1 นั้น ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นไม่สมบูรณ์ คาว่า "ไม่สมบูรณ์" นี้ต่างกับโมฆะ หรือไม่สมบูรณ์ เพราะโมฆะหรือไม่สมบูรณ์นั้น หมายความว่า ไม่มีผลใดๆ ตาม กฎหมายไม่มีอะไรเหลืออยู่ที่จะใช้บังคับกันได้เช่น การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ตามมาตรา 456 การแลกเปลี่ยนตามมาตรา519 ในกรณีแลกเปลี่ยนที่ดิน ถ้า ไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ คือถือว่าไม่มี่ สัญญาซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนต่อกัน ผู้ซื้อจะขอให้ผู้ขายโอนทรัพย์ให้มิได้ผู้ขาย จะเรียกร้องราคาก็มิได้แต่คาว่า "ไม่บริบูรณ์" นั้น มีความหมายว่ายังไม่อาจถือ หรือบังคับกันได้ตามทรัพย์สิทธินั้นๆเท่านั้น แต่การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์นั้นหาเสียเปล่าไม่ ยังคงสมบูรณ์ มี ผลบังคับใช้ระหว่างคู่สัญญาในฐานะเป็นบุคคลสิทธิได้ถึงแม้จะใช้ยันต่อบุคคล ภาย นอกในฐานะเป็นทรัพยสิทธิมิได้ก็ตาม เช่น คาพิพากษาฎีกาที่ 367/2495 โจทก์และจาเลยตกลงกันตามคาเปรียบเทียบ ของคณะกรรมการอาเภอ ซึ่งมีความว่า "ให้จาเลยอยู่ในที่พิพาทเรื่อยไป แต่จะยก ที่ดินให้ใครมิได้ส่วนพืชผลก็อาศัยแบ่งกันเก็บกินไป" ดังนั้นย่อมแสดงให้เห็น ว่าเจตนาของคู่ความว่าให้จาเลย มีสิทธิอาศัยอยู่ในที่พิพาทเรื่อยไปจนตลอดชีวิต นั้นเองและการยอมให้อาศัยเช่นนี้แม้มิได้จดทะเบียนก็ใช้ยันกันเองได้ คาพิพากษาฎีกาที่ 760/2507 การที่โจทก์จาเลยตกลงให้โจทก์ออกทุน ขยายทางพิพาทให้กว้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกัน แต่สัญญาข้อตกลงนี้มิได้จดทะเบียน ต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299
  • 12. นั้น ย่อมไม่ทาให้โจทก์ได้ทรัพยสิทธิเป็นภาระจายอม แต่การไม่จดทะเบียนดัง กล่าวมิได้ทาให้สัญญาระหว่างโจทก์จาเลยนั้นเป็นโมฆะอย่างใดไม่ คือเป็นเพียง ยังไม่บริบูรณ์เท่านั้นโดยเหตุนี้ สัญญาระหว่างโจทก์จเลยจึงมีผลก่อให้เกิดบุคคล สิทธิเรียกร้องบังคับกันได้ระหว่างคู่สัญญา ฉะนั้น โดยอาศัยสัญญาดังกล่าว โจทก์จึงมีอานาจฟ้อง จาเลยมิให้ขัดขวางในวันที่โจทก์จะใช้ทาง พิพาทตาม ข้อตกลงในสัญญาได้ การได้มาโดยนิติกรรมบางอย่าง ซึ่งอสังหาริมทรัพย์เช่น การซื้อขายตามาตรา 456 การขายฝากตามมาตรา491 การจานองตามมาตรา714 กฎหมาย บัญญัติว่า ถ้าไม่ทา เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็น โมฆะฉะนั้น การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ในกรณีดังกล่าว ถ้าไม่ทาตามแบบ กฎหมายที่กฎหมายบังคับ ไว้ก็เป็นโมฆะทีเดียวจะอ้างว่าไม่บริบูรณ์ตามมาตรา 1299 มิได้เพราะมาตรา 1299 เป็นเพียงบทบัญญัติทั่วไปต้องตกอยู่ภายใต้ บังคับแห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อื่นๆ ด้วย 5.2 การได้มาซึ่งทรัพยสิทธิโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1299 วรรค 2 บัญญัติว่า "ถ้ามีผู้ ได้มา ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์โดยทาง อื่นนอกจากนิติกรรม สิทธิของผู้ได้มานั้นถ้ายังมิได้จดทะเบียนไซร้ ท่านว่าจะ เปลี่ยนแปลงทางทะเบียนไม่ได้และสิทธิอันยังมิได้จดทะเบียนนั้น ให้ยกเป็นข้อ ต่อสู้บุคคลภายนอก ผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริต และได้จด ทะเบียนโดยสุจริตแล้ว" การได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมนี้ ได้แก่การได้มาในอสังหาริมทรัพย์ หรือ ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอัสังหาริมทรัพย์โดยการครอบครองปรปักษ์ ตาม มาตรา 1382 การได้มาโดยการับมรดกไม่ว่าโดยฐานะทายาทโดยธรรมหรือ การรับพินัยกรรม การได้มาโดยคาพิพากษา การได้มาตามบทบัญญัติ มาตรา 1308 ถึง มาตรา 1315, 1401 เป็นต้น 6.ประเภทของทรัพย์สิทธิ 6.1 กรรมสิทธิ์ ประเภทของทรัพยสิทธิสามารถพิจารณาได้ดังนี้ 6.1 กรรมสิทธิ์
  • 13. 6.2 สิทธิครอบครอง 6.3 ภาระจายอม 6.4 สิทธิอาศัย 6.5 สิทธิเหนือพื้นดิน 6.6 สิทธิเก็บกิน 6.7 ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ 6.1 กรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์ หมายความถึงทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งที่แสดงถึงสิทธิแห่งความเป็น เจ้าของในทรัพย์สินสิ่งใดสิ่ง หนึ่งทุกชนิดไม่ว่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ซึ่งต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย กรรมสิทธิ์มี ลักษณะเด็ดขาดถาวรกล่าวคือ ใครมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์อันใดก็ย่อมมีสิทธินั้นอยู่ตลอดไป แม้เจ้าของ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นจะตายไป ทรัพย์สินของเขาก็คงตกได้แก่ทายาทของเขา 6.1.1 กรรมสิทธิ์หรือสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของทรัพย์นั้นตามมาตรา1336 มีสิทธิ์ดังนี้ 6.1.1.1 สิทธิใช้สอยทรัพย์สิน เมื่อบุคคลใดเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิ่งใด บุคคลนั้นก็ย่อม มีอานาจที่จะใช้สอบทรัพย์สินนั้นได้อย่างเต็มที่ แต่มีข้อยกเว้นอยู่ว่า จะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ด้วย เช่น เรามีวิทยุเรามีสิทธิเปิดฟังได้ทุกเวลา แต่การเปิดดังนี้ต้องไม่เปิดดังเป็นที่รบกวนของชาวบ้าน เพราะมีกฎหมายบัญญัติห้าม ใช้สิทธิเกินขอบเขตจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นเดือดร้อน 6.1.1.2 สิทธิจาหน่ายทรัพย์สิน การจาหน่ายหมายความถึงการซื้อ ขายแลกเปลียนในกรรมสิทธิ์ และยังหมายถึงการทาลายทรัพย์สินนั้นได้ด้วย แต่ก็ยังคงอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายด้วย เช่น เรามีรถยนต์ คันหนึ่ง เราจะรื้อออก เป็นชิ้นๆหรือจะเผาทิ้งเสียก็ทาได้แต่เวลาเผาก็ต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่น 6.1.1.3 สิทธิติดตามเอาทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้ที่ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้เช่น รถยนต์หายไป เราไป พบที่บ้านผู้อื่น เราจะเข้าไปเอาคืนโดยพลการไม่ได้ต้องแจ้งให้ตารวจจัดการ 6.1.1.4 สิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เช่น เรา เป็นเจ้าของที่ดินมีโฉนดแปลงหนึ่ง ถ้ามีผู้บุกรุกเข้ามาในที่ดินของเรา เราก็มีสิทธิห้ามเขาไม่ให้เข้ามาได้ 6.1.2 การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ มี 2 กรณี คือ การได้มาโดยทางนิติกรรม และการได้มาโดยทางอื่นนอกจาก นิติกรรม 6.1.2.1 การได้มาโดยทางนิติกรรม เช่น การซื้อขาย การแลกเปลี่ยน การให้เป็นต้น 6.1.2.2 การได้มาโดยผลของกฎหมาย ได้แก่ 1) การได้กรรมสิทธิ์โดยหลักส่วนควบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1308-1317
  • 14. (1) ส่วนควบโดยธรรมชาติ กรณีที่งอกริมตลิ่งมาตรา1308 บัญญัติว่า "ที่ดินแปลงใด เกิดที่งอกริมตลิ่งที่งอกย่อมเป็นทรัพย์สิน ของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น" ที่งอกริมตลิ่ง หมายความถึง ที่ดินซึ่งตามปกติน้าท่วมไม่ถึง กล่าวคือ เดิมเป็นที่ชายตลิ่งที่น้า ท่วมถึง ต่อมาได้งอกเงยขึ้นจนน้าท่วมไม่ถึง อาจจะงอกขึ้นโดยกระแสน้าได้พัดพาเอากรวดหินดินทรายเข้า มาทับถมจนที่ชาย ตลิ่งนั้นสูงขึ้นจนกลายเป็นที่งอกริมตลิ่ง หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ที่งอก ริมตลิ่งเกิดขึ้นโดย ธรรมชาติในลักษณะค่อยๆ งอกเพิ่มขึ้นจากฝั่งออกไป มิใช่งอกจากท้องน้าเข้ามาหาตลิ่ง และที่งอกริมตลิ่ง ดังกล่าวนี้ อาจจะเป็นที่งอกริมตลิ่งของทะเล แม่น้า หรือลาคลองก็ได้ ที่งอกริมตลิ่ง ถือว่าตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลง นั้นโดยต้องเป็นที่งอกติดต่อเป็น แปลงเดียวกันกับที่ดินโดยไม่มีอะไรมาคั่น เช่น ถนนหรือลารางน้าฝน 2) ส่วนควบโดยการปลูกสร้าง ได้แก่ กรณีต่อไปนี้คือ ก) การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต มาตรา1310 วรรคแรก บัญญัติว่า "บุคคลใดสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที่ดินเป็นเจ้าของโรงเรือนนั้นๆ แต่ ต้องใช้ค่าแห่งที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้นเพราะ สร้างโรงเรือนนั้นให้แก่ผู้สร้าง" หมายความว่าเป็นการสร้างโดย เข้าใจ ผิดที่ดินแปลงนั้นเป็นที่ดินของตน จึงเป็นการเชื่อโดยสุจริตคิดว่าตนเองมีสิทธิที่จะปลูกสร้างได้เช่น เชื่อว่ามีสิทธิตามสัญญาเช่า ดังนี้กฎหมายจะบังคับให้เจ้าของที่ดินนั้นยอมรับเป็นเจ้าของโรงเรือนนั้น ส่วนผู้ปลูกสร้างมี สิทธิได้รับค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรือนนั้น ตามมาตรา1310 ข) การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริต มาตรา1311 บัญญัติว่า "บุคคลใด สร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริตไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นต้องทาที่ดินให้เป็นตามเดิมแล้วส่งคืน เจ้าของ เว้นแต่เจ้า ของจะเลือกให้ส่งคืนตามที่เป็นอยู่ในกรณีเช่นนี้เจ้าของที่ดินต้องใช้ราคาโรงเรือนหรือใช้ ค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้น เพราะสร้างโรงเรือนนั้นแล้วแต่จะเลือก" คาว่า "ไม่สุจริต" นั้น หมายความว่ารู้อยู่แล้วว่าที่ดินนั้น ก.ไม่ใช่เจ้าของหรือเป็นผู้มีสิทธิอื่น ใดที่จะปลูกสร้างได้เช่นนายมั่นเช่าที่ดินของนายแม้นเพื่อทาสวน แต่นายมั่นกลับปลูกสร้างโรงเรือนขึ้นบน ที่ดินนั้นกรณี เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่ายาย มั่นปลูกสร้างโรงเรือนโดยไม่สุจริต ผลแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1311 นี้ ให้สิทธิแก่เจ้าของที่ดิน จะเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ คือ (1) เจ้าของที่ดินจะให้เจ้าของโรงเรือนรื้อถอนออก ไปในกรณีที่เจ้าขอที่ดินไม่ ต้องการโรงเรือนนั้น หรือ (2) หากเจ้าของที่ดินอยากได้โรงเรือนนั้นก็กระทาได้แต่ต้องใช้ราคาโรงเรือนหรือ ให้ค่าแห่งที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรือนนั้น แล้วแต่จะเลือก ค) การสร้างโรงเรือนรุกล้าเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต มาตรา1312 วรรคแรก บัญญัติว่า "บุคคลใดสร้างโรงเรือนรุกล้า เข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นเป็นเจ้าของ
  • 15. โรงเรือนที่สร้างขึ้น แต่ต้องเสียเงินให้แก่เจ้าของที่ดินเป็นค่า ใช้จ่ายนั้นและจดทะเบียนสิทธิเป็นภารจายอม ต่อมาภายหลังถ้าโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดินจะเรียกให้เพิกถอนการจะทะเบียนเสียก็ได้" ผลแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1312 นี้อาจแยกพิจารณาออกเป็น (ก) สิทธิของผู้ปลูกโรงเรือนรุกล้า กล่าวคือ ได้เป็นเจ้าของโรงเรือนที่สร้างขึ้น หมายถึง ส่วนที่รุกล้านั้นและได้สิทธิในการจดทะเบียนภารจายอมโดยกฎหมายบังคับให้เจ้าของที่ดินที่ถูกโรงเรือน รุกล้านั้นต้องยินยอมไปจดทะเบียนภารจายอมให้ส่วนสิทธิของเจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้า คือ เจ้าของที่ดินถูก รุกล้ามีสิทธิที่จะเรียกให้เจ้าของ โรงเรือนนั้นชดใช้เงินค่าใช้ที่ดินให้แก่ตนได้ (ข) หน้าที่ของเจ้าของโรงเรือน ต้องชดใช้เงินค่าใช้ที่ดินโดยจะชด ใช้เป็นครั้งเดียวหรือ เป็นคราวๆ เช่น เป็นปี เป็นเดือนก็ได้สุดแท้แต่จะตกลงกัน เทียบได้กับค่าเช่าที่ดิน ซึ่งอาจจะชดใช้เหมาจ่าย ไปเลย หรือใช้กันเป็นงวดๆ เหมือนค่าเช่าก็ได้ (ค) ส่วนหน้าที่ของเจ้าของที่ดิน เจ้าของที่ดินมีหน้าที่ต้องยอมจด ทะเบียนภารจายอมใน ที่ดินส่วนที่รุกล้านั้นให้แก่เจ้าของโรงเรือน อนึ่ง หากต่อมาภายหลัง ปรากฎว่าโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดินจะเรียกให้ เพิกถอนการจดทะเบียนเสียก็ได้นั้น หมายความรวมถึง ส่วนของโรงเรือนที่รุกล้านั้นสลายไปทั้งหมดด้วย เจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้าก็มีสิทธิ ขอเพิกถอนการจดทะเบียนเสียได้ มาตรา 1312 วรรคสองบัญญัติว่า "ถ้าบุคคลผู้สร้างโรงเรือน นั้นกระทาการโดยไม่ สุจริต ท่านว่าเจ้าของที่ดินจะเรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนไป และทาที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออก ค่าใช้จ่ายก็ได้" มาตรา 1312 วรรคสองนี้ เป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้าเข้า ไปในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่ สุจริต ซึ่งมีผลทาให้เจ้าของที่ดินที่ถูกรุกล้ามีสิทธิ (1) จะรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนออกไป และ (2) ให้ผู้สร้างทาที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเอง (ง) การสร้างสิ่งอื่น ปลูกต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของผู้อื่น มาตรา1314 บัญญัติว่า "ท่านให้ใช้บทบัญญัติ มาตรา 1310, 1311 และ 1313 บังคับตลอดถึงการก่อสร้างใดๆ ซึ่งติดที่ดิน และการเพาะปลูกต้นไม้หรือธัญชาติด้วยโดยอนุโลม แต่ข้าวหรือธัญชาติอย่างอื่นอันจะเก็บเกี่ยวรวงผลได้คราว หนึ่งหรือหลายคราวต่อปี เจ้าของที่ดินต้องยอมให้บุคคลผู้กระทาการโดยสุจริตหรือ ผู้เป็นเจ้าของที่ดิน โดยมีเงื่อนไขซึ่งได้เพาะปลูก ลงไว้นั้น ครอบครองที่ดินจนกว่าจะเสร็จการเก็บเกี่ยว โดยใช้เงินคานาณตามเกณฑ์ค่าเช่าที่ดินนั้น หรือ เจ้าของที่ดินจะเข้าครอบครองในทันทีโดยใช้ค่าทดแทนให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งก็ได้" "การก่อสร้างใดๆ ซึ่งติดที่ดิน" หมายความถึง การก่อสร้างสิ่งอื่นใดนอกเหนือจากากร ปลูกสร้างโรงเรือน เช่น การก่อสร้างหอนาฬิกา อนุสาวรีย์สะพาน หรือฮวงซุ้ย เป็นต้น ข้อสาคัญต้องเป็น การสร้างติดกับที่ดินใน ลักษณะที่เป็นส่วนควบกับที่ดิน ตามมาตรา107 และสิ่งก่อสร้างใดๆ ดังกล่าวนี้
  • 16. หมายถึงอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 100 การเพาะปลูกต้นไม้หรือธัญชาติ หมายความรวมถึง ไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก รวมทั้งธัญ ชาติก็ย่อมนามาตรา1310, 1311, 1313 มาใช้บังคับได้ มาตรา 1314 วรรค 2 บัญญัติให้เจ้าของที่ดินสิทธิจะเลือกได้2 ทาง คือ ยอมให้ผู้ที่เข้า มาเพาะปลูกโดยสุจริต หรือผู้ที่เป็นเจ้าของที่ดินโดยมีเงื่อน ไขครอบครองที่ดินต่อไปจนกว่าจะเก็บเกี่ยวให้ แล้วเสร็จ แต่ต้องให้เงินแก่เจ้าของ ที่ดินนั้นในลักษณะของเงินค่าทดแทนการใช้ที่ดินให้แก่เจ้าของที่ดิน หรือเจ้าของที่ดินจะเข้าครอบครองที่ดินนั้นทันที แต่ต้องชดใช้ค่าทดแทนให้แก่ผู้เพาะ ปลูกโดยสุจริตหรือผู้ เป็นเจ้าของที่ดินโดยมีเงื่อนไขนั้น (จ) การสร้างสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของตนเอง ด้วยสัมภาระของผู้อื่น มาตรา 1315 บัญญัติว่า "บุคคลใดสร้างโรงเรือนหรือทา การก่อสร้างอย่างอื่นซึ่งติดที่ดิน หรือเพาะปลูก ต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของตนด้วยสัมภาระของผู้อื่น ท่านว่าบุคคลนั้นเป็นเจ้าของสัมภาระ แต่ต้องใช้ค่า สัมภาระ" มาตรา1315 นี้ เป็นกรณีเกี่ยงกับการนาเอาสัมภาระ ของผู้อื่นมาปลูกสร้างในที่ดินของตนเอง เช่น เอาอิฐ ทราย ไม้หิน ตะปู ซึ่งประกอบเป็นตัวโรงเรือน หรือนาเมล็ดพันธุ์รวมทั้งกิ่งตอน กิ่งชา นามา เพาะปลูกลงบนที่ดิน ผลของ มาตรา 1315 มีสาระสาคัญ คือบุคคลที่เป็นเจ้าของ ที่ดินได้เป็นเจ้าของสัมภาระ แต่ต้องใช้ค่าสัมภาระนั้น อันหมายถึงค่าสิ่งของที่เอามาสร้างหรือเพาะปลูก โดยถือเกณฑ์แห่งราคาสิ่งของใน ขณะที่นาสัมภาระนั้นมาเป็นหลัก ฉ) การเอาสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นมารวมเป็นส่วนควบ มาตร1316 บัญญัติว่า "ถ้าเอา สังหาริมทรัพย์ของบึคคลหลายคนมารวมเข้ากัน จนเป็นส่วนควบหรือแบ่งแยกไม่ได้ไซร้ ท่านว่าบุคคล เหล่านั้นเป็นเจ้าของรวมแห่งทรัพย์ที่รวมเข้ากัน แต่ละคนมีส่วนตาม ค่าแห่งทรัพย์ของตนในเวลาที่รวมเข้า กับทรัพย์อื่น ถ้าทรัพย์อันหนึ่งอาจถือได้ว่าเป็นทรัพย์ประธานไซร้ ท่านว่า เจ้าของทรัพย์นั้นเป็นเจ้าของ ทรัพย์ที่รวมเข้ากันแต่ผู้เดียว แต่ต้องใช้ค่าแห่งทรัพย์อื่นๆ ให้แกเจ้าของทรัพย์นั้นๆ" มาตรา 1316 เป็นบทบัญญัติเฉพาะสังหาริมทรัพย์เท่านั้น เพื่อกาหนดว่าใครจะเป็น เจ้าของสังหาริมทรัพย์ที่รวมกันเข้าจนเป็นส่วนควบ มาตรา 1316 วรรคแรก เป็นกรณีที่สังหาริมทรัพย์ที่รวมกันเข้านั้น ไม่มีทรัพย์ใดเป็น ประธาน ซึ่งทรัพย์ส่วนใดจะเป็นทรัพย์ประธานได้ต้องถือเอาทรัพย์ที่มี ลักษณะเป็นส่วนสาคัญที่สุดในความ เป็นอยู่ของทรัพย์ที่รวมกันนั้นด้วย เช่น แหวนมุกนั้น ทรัพย์ใดเป็นประธาน กรณีนี้ถือว่ามุกมีราคาสูบกว่า และสาคัญกว่าตัวเรือน แต่ถ้ามุกมาแกะสลักลงบนสิ่งของต่างๆ เช่นที่เขี่ยบุหรี่ ก็ย่อมไม่ถือว่ามุกเป็นทรัพย์ ประธาน ฉะนั้นทรัพย์ประธานนั้นย่อมขึ้อยู่กับข้อเท็จจริงเป็นเรื่องๆไปกล่าวคือ ในบางกรณีก็ยึดถือคุณค่า หรือราคาของทรัพย์นั้นเป็นเกณฑ์สาคัญ แต่ในบางกรณีก็ต้อง คานึงถึงสภาพของทรัพย์เป็นสาระสาคัญ 1) การรวมสภาพของทรัพย์อาจจะรวมผสมกลมกลืนกันกลายเป็น สิ่งใหม่ขึ้มาจนไม่
  • 17. สามารถหาร่องรอยอสังหาริมทรัพย์เดิมได้ฉะนั้น มาตรา1316 วรรคแรก จึงบัญญัติให้เจ้าของทรัพย์ทุก คนที่นาทรัพย์มารวมกันเป็นเจ้า ของรวมแห่งทรัพย์ที่นามารวมกันเป็นส่วนควบหรือทรัพย์ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้ นั้นและแต่ละคนมี ส่วนตามค่าแห่งทรัพย์ของตนในเวลาที่รวมเข้ากับทรัพย์อื่น เพราะไม่สามารถทราบ ได้ ว่าทรัพย์ส่วนไหนเป็นทรัพย์ประธาน ส่วนมาตรา 1316 วรรคสอง เป็นกรณีที่อาจถือหรือทราบได้ว่าทรัพย์ใด เป็นทรัพย์ ประธานโดยให้เจ้าของทรัพย์ประธรานเป็นเจ้าของทรัพย์ที่รวมกันเข้าแต่ผู้เดียว แต่ต้องใช้ค่าแห่งทรัพย์อื่นๆ ให้แก่เจ้าของทรัพย์นั้นๆ เช่น นายเอกเป็นเจ้าของล้อรถจักรยาน นายโทเป็นเจ้าของตัวรถจักรยาน ย่อมถือว่า นายโทเป็นเจ้าของรถจักรยานและรวมทั้งล้อรถจักรยานด้วย แต่ต้องชดให้ราคาล้อรถจักรยานให้กับนายเอก 2) การได้มาโดยเข้าถือเอาซึ่งสังหาริมทรัพย์ไม่มีเจ้าของตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 1318-1322 เป็นกรณีที่สังหาริมทรัพย์นั้นอาจเคยมีเจ้าของมาก่อนแต่เจ้า ของเลิกครอบครองโดยมี เจตนาสละกรรมสิทธิ์ เช่น การที่เจ้าของสนัขนาสุนัขไปปล่อย เป็นต้น โดยการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ใน สังหาริม ทรัพย์ที่ไม่มีเจ้าของเช่นนี้สามารถกระทาโดยการเข้ายึดถือหรือแสดงการหวงแหนด้วย เจตนาจะ เอาเป็นของตน นอกจากนี้ สัตว์ป่าในที่รกร้างว่างเปล่าหรือในที่น้าสาธารณะหรือที่ดินที่น้าของผู้อื่น แต่เจ้าของมิได้หวงแหน ย่อมเป็นสัตว์ไม่มีเจ้าของผู้ใดจับได้จึงเป็นการเข้าถือเอา และถือเป็นเจ้าของสัตว์นั้น แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นๆ ด้วย อย่างไรก็ตามการที่บุคคลทา ให้สัตว์ป่าที่ไม่มี เจ้าของบาดเจ็บแล้วติดตามไปย่อมถือเป็นการเข้าถือสัตว์ที่ไม่มีเจ้าของได้ 3) การได้มาซึ่งของตกหาย ทรัพย์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและ สังหาริมทรัพย์มีค่าซึ่งซ่อน หรือฝังไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1323-1328 1) การได้มาซึ่งของตกหาย (1) ส่งมอบทรัพย์สินนั้นแก่ผู้ทาของหายหรือเจ้าของ หรือผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้น โดยมิชักช้า หรือ (2) แจ้งแก่บุคคลดังกล่าวในข้อ (1) โดยไม่ชักช้า (3) ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้ตารวจหรือเจ้าหน้าที่อื่นภายใน 3 วัน และแจ้งพฤติการณ์ ตามที่ทราบ อันอาจเป็นเครื่องช่วนในการสืบหาตัวบุคคล ผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้น สิทธิเรียกร้องเอารางวัลของผู้เก็บของได้เมื่อได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้เก็บ ได้อาจเรียกเอารางวัลจากบุคคลผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้นเป็นจานวนร้อยละ10 แห่งค่าทรัพย์สินภายใน ราคาพันบาท และถ้าราคาสูงกว่านั้นขึ้นไปให้คิดให้อีกร้อยละ5 ในจานวนที่เพิ่มขึ้น ถ้าผู้เก็บได้ส่งมอบทรัพย์สินแก่ตารวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่อื่นนอกจากจะต้องให้ รางวัลผู้เก็บได้ตามอัตราดังกล่าวแล้วเจ้าของทรัพย์สิน ยังจะต้องเสียค่าธรรมเนียมอีกร้อยละ2.5 ให้แก่กรม ตารวจหรือทบวงการอื่นๆ อีกด้วย แต่ค่าธรรมเนียมจานวนนี้ ท่านจากัดไว้ไม่ให้เกินร้อยบาทตามมาตรา