SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
Intensive farming
ความหมาย
Intensive farming หรื อ intensive agriculture
  หมายถึง ระบบการผลิตทางการเกษตรทีมคุณสมบัติประกอบด้ วยการใช้
                                           ่ ี
  ปัจจัยการผลิตประเภททุนและแรงงานสู ง หรื อการใช้เทคโนโลยีการ
  ผลิต เช่น สารเคมีจากัดสัตว์ศตรู พืช และปุ๋ ยเคมี เป็ นต้น ในสัดส่ วนที่สูง
                                 ั
  เมื่อเปรี ยบเทียบกับพื้นที่ดิน
ตรงกันข้ามกับ sustainable agriculture เช่น organic farming or
  extensive agriculture เป็ นต้น ซึ่งมีการใช้ปัจจัยการผลิต
  (แรงงาน) ค่อนข้างน้อยเมื่อเปรี ยบเทียบกับขนาดพื้นที่ดินทาฟาร์ม และ
  เน้นการรักษาสภาพแวดล้อมของการทาฟาร์มที่ดินในระยะยาว เพื่อ
  สามารถทาฟาร์มได้ตลอดไป
ระบบการผลิต
รู ปแบบที่ทนสมัยของการทาฟาร์มในระบบ intensive นี้
            ั
    ประกอบด้วยการใช้เครื่ องจักรกลในการเตรี ยมดิน การใช้ปุ๋ยเคมี สารเร่ ง
    ให้พืชเจริ ญเติบโต และหรื อสารป้ องกันและกาจัดศัตรู พืช
การเพิมการใช้กลไกการเกษตรข้างต้น สามารถเพิ่มผลผลิตได้อย่างยังยืน
       ่                                                         ่
    แต่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ้นของมลภาวะต่อสิ่ งแวดล้อม โดยการชะ
    ล้างพังทะลายของดิน และการสะสมของสารพิษในน้ าของสารเคมี
    เกษตร
การผลิตสัตว์
Intensive animal farming สามารถทาการผลิตสัตว์ได้
  จานวนมากในพื้นที่ที่จากัด ซึ่งต้องการปริ มาณอาหารจานวนมาก ปัจจัย
  น้ า และเวชภัณฑ์ (เพื่อให้สตว์มีสุขภาพดีและแข็งแรงในพื้นที่เลี้ยงที่
                             ั
  แคบ)
การผลิตสัตว์ในระบบปิ ดและมีขนาดใหญ่ ตามปกติจะหมายถึงระบบ
                                                  ่
  เกษตรอุตสาหกรรม และได้รับการวิพากษ์วจารณ์วาขาดความตระหนัก
                                            ิ
  ในเรื่ องมาตรฐานด้านสวัสดิการของสัตว์ (animal welfare)
  และเกี่ยวข้องกับประเด็นมลภาวะและสุ ขภาพ
ข้อได้เปรี ยบ (Advantages)
1. สามารถเพิ่มปริ มาณผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ต่อแรงงาน ต่อเงินลงทุน เมื่อ
   เปรี ยบเทียบกับระบบฟาร์ มแบบ extensive farming
2. สามารถผลิตอาหารเลี้ยงประชากรและผูบริ โภคได้ดวยต้นทุนที่ต่า
                                        ้           ้
3. เมื่อพิจารณาในขนาดพื้นที่ผลิตอาหารและเส้นใยเดียวกัน ระบบฟาร์ มนี้ สามารถ
   ช่วยแก้ปัญหาความหิ วโหยของประชากรได้
                                                             ่
4. สามารถรักษาพื้นที่ตองการรักษาไว้เป็ นป่ าไม้และสัตว์ป่าอยูอาศัยได้ แทนที่จะ
                        ้
   ถูกตัดโค่นเพื่อนาไปใช้ในการผลิตแบบ extensive farming
5. ในฟาร์ มเลี้ยวสัตว์ สามารถนาก๊าซมีเธนที่หากถูกปล่อยออกไปตามธรรมชาติ จะ
   สร้างปัญหาโลกร้อน มาผลิตพลังงานความร้อนได้ ลดการใช้พลังงานจาก
   ฟอสซิ ล
ข้อเสี ย (Disadvantages)
1. ทาลายแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า และสัตว์ป่าและนาไปสู่ปัญหาการ
   กัดเชาะหน้าดิน
2. การใช้ปุ๋ยเคมีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของแม่น้ าและ
   ทะเลสาป ทาให้เกิดปัญหาสาหร่ ายที่ไม่พึงประสงค์
3. ยาปราบศัตรู พืช ทาลายแมลงที่เป็ นประโยชน์ เช่นเดียวกับแมลงที่
   ทาลายพืชผล
4. ไม่มีความยังยืน หากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม และอาจนาไปสู่ความ
               ่
   แห้งแล้ง หรื อดินเป็ นพิษ หรื อถูกชะหล้างหน้าดินจนกระทังไม่
                                                          ่
   สามารถทาการผลิตต่อไปได้
ข้อเสี ย (Disadvantages)
5. ต้องการปัจจัยพลังงานจานวนมากในการผลิต การขนส่ ง และการใช้
   สารเคมี
6. การใช้สารเคมีนาไปสู่ สารตกค้าง ที่น้ าพัดพาลงสู่แหล่งน้ า และน้ าใต้ดิน
7. การใช้สารเคมี ส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพของแรงงาน ประชาชนที่อาศัยอยู่
   ข้างเคียง และผูบริ โภค
                  ้
Pre modern intensive farming
การทาเกษตรบนพื้นที่ลาดเอียง ส่ วนหนึ่งบนพินที่เนินเขา ได้ถกออกแบบ
                                              ้                ู
  สาหรับการอนุรักษ์ดิน ป้ องกันและหรื อลดความแรงของน้ า ด้วยการทา
  เป็ นขั้นบันได
มนุษย์ได้สร้างสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมสาหรับการปลูกข้าวบนพื้นที่ลาด
  เอียง ตามแนวรู ปร่ างของลักษณะธรรมชาติของพื้นที่ มีการไถตามแนว
  เส้นธรรมชาติ ตัวอย่างที่เห็นเป็ นรู ปร่ างแบบดั้งเดิม ได้แก่การทานาที่
  บาหลี และฟิ ลิปปิ นส์ ในเปรู ชนเผ่าอินดา ได้สร้างสร้างแนวขั้นบันได
  ด้วยหิ น
Pre modern intensive farming
พื้นที่ปลูกข้าว (paddy field) เป็ นพื้นที่น้ าท่วมขังใช้เพาะปลูกได้ และใช้
    สาหรับการทานา และพืชกึ่งน้ าอื่น ๆ พื้นที่ปลูกข้าวพบเสมอในประเทศที่ทาการ
    ปลูกข้าวในประเทศเอเซี ยตะวันออกและตะวันออกเฉี ยงใต้ ประกอบด้วยมาเลเซี ย
    จีน ศรี ลงกา เมียนมาร์ ไทย เกาหลี ญี่ปุ่น เวียตนาม ไต้หวัน อันโดนีเซี ย อินเดีย
               ั
    และฟิ ลิปปิ นส์
พื้นที่ปลูกข้าวนี้ ยังพบในแหล่งอื่นอีก ได้แก่ Peidmont ในอิตาลี
    Camargue ในฝรั่งเศส และ Artibonite Valley ในเฮติ โดยจะพบ
    เสมอในธรรมชาติของพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ าและบริ เวณน้ าท่วมขัง หรื อแม้แต่สภาพ
    พื้นที่ที่สร้างขึ้น เช่น บริ เวณไหล่เขา เป็ นต้น
ระบบการปลูกข้าวมีความต้องการน้ าในปริ มาณมาก ระบบชลประทานได้มการ            ั
    พัฒนาขึ้นอย่างสลับซับซ้อนเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าว
Pre modern intensive farming
น้ าที่ท่วมล้นได้ให้ปริ มาณน้ าที่มากเพียงพอสาหรับการเจริ ญเติบโตของข้าว
    และให้สภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการปลูก และยังที่อาศัยของหญ้า
    นานาชนิด มีสตว์ใช้งานที่ปรับตัวได้ดีในสภาพของน้ าปริ มาณมากคือ
                   ั
    กระบือน้ า ซึ่งพบทั้วไปในแหล่งปลูกข้าวของเอเซีย มีการประมาณการ
    แล้วว่า ก๊าซมีเธนของโลก ปริ มาณ 50-100 ล้านตันต่อปี มีแหล่งกาเนิด
    จากนาข้าว
ในเกาหลี การปลูกข้าวในพื้นที่ลุ่มได้ปฏิบติมาช้านานแล้ว ก่อนคริ สต
                                           ั
    ศักราช 3,500-2,000 ปี ซึ่งก่อนหน้านี้ ทาการปลูกกันบนพื้นที่ดอน
Pre modern intensive farming
เกษตรกรผูปลูกข้าวในยุคสมัย Mumun มีองค์ประกอบทุกชนิดเกี่ยวกับ
            ้
   การทานาเช่นเดียวกับในปัจจุบน กล่าวคือ มีการทานาบนไหล่เขา ทางริ ม
                                 ั
   แม่น้ าลาคลอง คลอง และอ่างเก็บน้ าเล็ก ๆ เทคนิคการทานาในสมัยมูมูน
   กลาง (ก่อนปี คริ สศักราช 850-500 ปี )
การปลูกข้าวในคลาดิช
การปลูกข้าวในกวางจิน
การปลูกข้าวใน Yunyan จีน
การปลูกข้าวในอิหร่ าน
Modern intensive farming types
การทาฟาร์มแบบเข้มข้นสมัยใหม่ หมายถึง การผลิตพชืและสัตว์ในเชิง
  อุตสาหกรรม (ปศุสัตว์ สัตว์ปีก และปลา) วิธีการที่นามาใช้ได้ถูก
  ออกแบบเพื่อการผลิตให้ได้ผลผลิตสูงสุ ดด้วยต้นทุนต่าสุ ด ด้วยกา
  ประหยัดต่อขนาด (economies of scale) เครื่ องจักรกล
  สมัยใหม่ เวชภัณฑ์สตว์ที่ทนสมัย และการค้าระหว่างประเทศ (การเงิน
                      ั       ั
  การซื้อ และการขาย)
                           ั ั
การทาฟาร์มแบบนี้ ได้ปฏิบติกนอย่างกว้างขวางในประเทศพัฒนาแล้ว โดย
  มีสินค้าสาคัญได้แก่ เนื้อสัตว์ นมและผลิตภัณฑ์ ไข่ และผลผลิตจากพืชที่
  นิยมจาหน่ายกันในซุปเปอร์มาร์เก็ต
Sustainable intensive farming
เกษตรชีวภาพแบบเข้มข้น เน้นในเรื่ องการทาให้ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด
   ประกอบด้วยผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ผลผลิตต่อปัจจัยพลังงาน ผลผลิตต่อ
   ปัจจัยน้ า ฯลฯ
วนเกษตร (Agroforesty) เป็ นเทคโนโลยีการเชื่อมผสมกันระหว่าง
   การเกษตร และต้นไม้/ป่ าไม้ เพื่อทาให้ระบบการใช้ที่ดินมีการ
   ผสมผสาน มีความหลากหลาย มีผลิตภาพ มีกาไร มีสุขอนามัย และมี
   ความยังยืน
          ่
การปลูกพืชแซม (Intercropping) สามารถเพิ่มผลผลิตรวมต่อ
   หน่วยพื้นที่ หรื อปัจจัยการผลิตให้ให้บรรลุวตถุประสงค์เดียวกัน อย่างไร
                                              ั
   ก็ตาม พืชแซมบางชนิดมีแนวโน้มลดลง เพราะมีความเหมหาะสม
   สาหรับการผลิตแบบพืชเชิงเดี่ยวมากกว่า
Sustainable intensive farming
การปลูกพืชแนวดิ่ง (Vertical farming) เป็ นประเภทของการผลิต
  พืชแบบหนาแน่นที่นามาใช้ในระบบเกษตรเมือง เพื่อผลิตอาหารด้วย
  ฟาร์มขนาดใหญ่ ลดผลกระทบด้านลบต่อสิ่ งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก
  การทาเกษตรแบบดั้งเดิมในชนบท
Intensive aquaculture
การผลิตสัตว์น้ า (Aquaculture) เป็ นผลผลิตของน้ าตามธรรมชาติที่
  ได้จากการเลี้ยง ประกอบด้วยปลา หอย สาหร่ าย หญ้าทะเล และสัตว์น้ า
  อื่น ๆ
การผลิตสัตว์น้ าอย่างเข้มข้น สามารถกระทได้โดยการเลี้ยงในถัง หรื อบ่อที่
  มีระบบการควบคุมอย่างสูง ซึ่งถูกออกแบบเพื่อสนับสนุนการผลิตให้
  เหมาะสมกับทรัพยากรน้ าที่มีอยู่
Intensive livestock farming
Intensive livestock farming
Factory farming เป็ นคาที่กระบวนการเลี้ยงปศุสตว์ในคอก ด้วย
                                                       ั
  จานวนสัตว์ที่ความหนาแน่นสูง ซึ่งฟาร์มดาเนินการผลิตในลักษณะ
  อุตสาหกรรม ด้วยธุรกิจเกษตร ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในระบบนี้ ได้แก่
  เนื้อสัตว์ นม และไข่ เพื่อการบริ โภคของมนุษย์
คานี้ ถูกวิจารณ์ไปในทางที่ไม่ดี เป็ นการวิจารณ์กระบวนการทาฟาร์มขนดา
  ใหญ่ ซึ่งกักขังสัตว์
การทาฟาร์มเลี้ยงสัตว์สตว์แบบเข้มข้นนี้ ใช้จานวนสัตว์มากบนพื้นที่ดิน
                       ั
  แคบ ๆ ซึ่งต้องการอาหารสัตว์ในปริ มาณมาก ปัจจัยน้ าและเวชภัณฑ์
Managed intensive grazing
ระบบการจัดการเลี้ยงสัตว์แบบเข้มข้นเพื่อคความยังยืน เป็ นการทาให้
                                                   ่
     เกิดผลผลิตเพิ่มขึ้นสู งสุ ด ภายใต้กรอบการปฏิบติที่ยงยืน และไม่ได้ทา
                                                  ั ั่
     ฟาร์มในลักษณะอุตสาหกรรม
เนื่องจากระบบการทาเกษตรแบบเข้มข้นมีรูปแบบที่ตรงข้ามกับการทา
     ฟาร์มแบบยังยืน เช่น การเกษตรแบบถาวร (permaculture)
                 ่
     หรื อ การเกษตรแบบเบาบาง (Extensive) ที่มีการใช้ปัจจัยการ
     ผลิตและแรงงานน้อย บนพื้นที่ฟาร์มขนาดเดียวกัน และเน้นในเรื่ องการ
     รักษาระบบนิเวศน์ในฟาร์มในระยะยาว
Integrated farming systems
ระบบการทาฟาร์มแบบผสมผสาน เป็ นระบบการผลิตทางการเกษตรที่ยงยืน       ั่
  และผสมผสานด้วยวิธีทางชีววิธีเข้าด้วยกันอย่างก้าวหน้า ตัวอย่าง เช่น
  Integrated Multi-Trophic Aquaculture หรื อ
  Zero waste agriculture ซึ่งเป็ นการนาความรู ้เกี่ยวกับ
              ั
  ปฏิสัมพันธ์กนระหว่างพืชและสัตว์เข้าร่ วมในกระบวนการผลิต และให้
  ผลประโยชน์ในด้านความยังยืนของระบบการผลิต และผลกาไรที่ได้จาก
                          ่
  การผลิต
Crop rotation
เป็ นวิธีการปฏิบติในการปลูกพืชต่างชนิดกัน ในพื้นที่เดี่ยวกัน แต่ต่าง
                  ั
    ฤดูกาลกัน ซึ่งจะได้รับผลประโยชน์ในการหลีกเลี่ยงการเกิดโรค และ
    สัตว์ศตรู พืช ที่มกเกิดขึ้นเมื่อมีการปลูกพชประเภทเดียวกันซ้ า ๆ
           ั          ั
    ต่อเนื่องกัน
นอกจากนี้ การปลูกพืชหมุนเวียน ยังช่วยสร้างสมดุลซึ่งเกิดจากความ
    ต้องการปุ๋ ยของพืชที่มีความแตกต่างกัน และหลีกเลี่ยงการใช้แบบหมด
    ไปของปุ๋ ยในดิน
การปลูกพืชหมุนเวียนแบบดั้งเดิม ประกอบด้วยการเพิ่มธาตุไนโตรเจนให้
    ดิน ด้วยการใช้ปุ๋ยพืชสดต่อจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ การปรับปรุ ง
    โครงสร้างและความสมบูรณ์ของดิน ด้วยการเลือกพืชที่มีระบบรากลึก
    และตื้น สลับกัน
Water use efficiency
ระบบชลประทานในโลกใช้น้ าจืดประมาณร้อยละ 70 ภาคการเกษตรของประเทศใน
   โลกส่ วนใหญ่ให้ความสาคัญกับน้ า ทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง และการให้
   การสนับสนุนด้านการเงินแก่ทรัพยากรน้ า ถือเป็ นเรื่ องปกติ แต่ผให้การสนับสนุน
                                                                    ู้
   ความคิดด้านอนุรักษ์ตองการให้ยกเลิกการสนับสนุนด้านการเงินทุกกรณี เพื่อ
                           ้
   บังคับให้เกษตรกรปลูกพืชที่มีการใช้ประอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น และยอมรับ
   เทคนิคการชลประทานที่สูญเสี ยน้ าน้อยที่สุด
การใช้น้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด หมายถึงการลดการสู ญเสี ยให้เหลือน้อยที่สุดใน
   ด้านการคายน้ า การไหลออกไปของน้ า และการระบายน้ าผิวดิน
evaporation pan ใช้ในการกาหนดปริ มาณที่ตองการในพื้นที่ชลประทาน
                                                       ้
Flood irrigation เป็ นวิธีการเก่าแก่ที่สุดและปกติที่สุดในการกระจายน้ าไปสู่
   พื้นที่ชลประทาน บางส่ วนของพื้นที่จะได้รับน้ าที่มากเกิน เพื่อสามารถส่ งน้ าที่
   เหลือต่อไปยังอีกพื้นที่หนึ่ ง
Water use efficiency
Overhead irrigation การใช้หวจ่าย หรื อสปริ งเกอร์ พนน้ าสู่ แปลงปลูก
                                             ั                    ่
                                                                ั
Drip irrigation ระบบน้ าหยด มีตนทุนสู งที่สุด และใช้กนน้อยที่สุด แต่เป็ น
                                           ้
   สามารถส่ งน้ าไปสู่ รากพืชได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่สุด และสู ญเสี ยน้ าน้อยที่สุด
การจัดระบบชลประทานล้วนมีค่าใช้จ่าย แต่เป็ นความพยายามที่เน้นประสิ ทธิ ภาพ
   สูงสุ ดให้ก่ระบบที่มีอยู่ รวมถึงการการสกัดดินที่อดแน่นการทาร่ องน้ าเพื่อกันน้ า
                                                         ั
   ไหลออก การใช้เครื่ องตรวจวัดความชื้นและน้ าฝนเพื่อการใช้น้ าสู งสุ ด
มาตรการจัดการการเก็บกักน้ าประกอบด้วยการวิธีการเก็บกักน้ าฝนและน้ าที่ไหลจาก
   แหล่งอื่น การเติมน้ าลงสู่ แหล่งน้ าใต้ดิน ซึ่ งจะช่วยในการพัฒนาการขุดบ่อน้ าใต้ดิน
   มาใช้ประโยชน์ และป้ องกันการเซาะหน้าดิน
Nutrient audits
การตรวจสอบสารอาหารในดิน จะช่วยให้เกษตรกรลดค่าใช้จ่ายในการทาฟาร์ มให้
   น้อยลง ลดมลภาวะของอากาศ และยังช่วยเพิ่มแร่ ธาตุต่างๆ ที่จะช่วยในการ
   เจริ ญเติบโตของพืช วิธีการในการตรวจสอบธาตุอาหารในดินได้รับการศึกษาและ
   ใช้สาหรับการฟาร์ มและประเทศทั้งประเทศมานานหลายทศวรรษ แต่ในปั จจุบน                ั
   ไม่มีมาตรฐานสาหรับการตรวจสอบสารอาหารที่ยงไม่ได้รับการยอมรับ กับการที่
                                                    ั
   จะประเมินประสิ ทธิภาพการใช้สารอาหารที่ฟาร์ม สาหรับการตรวจสอบ
   สารอาหารในฟาร์ ม เพื่อที่จะช่วยลด ยาปราบศัตรู พืชและมลพิษทางอากาศจาก
   การเกษตร เป็ นวิธีที่ที่ดีที่สุดในการจัดการในการใช้ปุ๋ยและปุ๋ ยพืชสดอินทรี ยเ์ ป็ น
   ส่ วนหนึ่ งของการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจและสิ่ งแวดล้อม ระบบการทา
   ฟาร์ มที่ยงยืน
              ั่
Herbicide resistance
ในภาคเกษตรกรรมขนาดใหญ่และการกาจัดวัชพืชจะต้องเป็ นระบบและมักจะแสดง
   โดยเครื่ องเช่น cultivators หรื อพ่นสารเคมีกาจัดวัชพืชของเหลว สารเคมี
   กาจัดวัชพืชที่เลือกฆ่าเป้ าหมายเฉพาะขณะที่ออกจากพืชที่ตองการที่ค่อนข้าง
                                                          ้
   อันตราย
บางส่ วนของการกระทาเหล่านี้โดยการรบกวนการเจริ ญเติบโตของวัชพืชและขึ้นอยู่
   บ่อยครั้งเกี่ยวกับฮอร์ โมนพืช การควบคุมวัชพืชโดยใช้สารสารกาจัดวัชพืชที่ผาน
                                                                           ่
   การทายากมากขึ้นเมื่อวัชพืชกลายเป็ นทนต่อสารกาจัดวัชพืช
• การใช้พืชคลุม (โดยเฉพาะผูที่มีคุณสมบัติ allelopathic) ที่ออกมาแข่งขัน
                             ้
  วัชพืชหรื อยับยั้งการงอกของพวกเขา
• การใช้สารกาจัดวัชพืชที่แตกต่างกัน
                     ่          ั
• โดยใช้เป็ นพืชที่ตางสายพันธุ์กน (เช่นการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมเพื่อให้ทนต่อสาร
  กาจัดวัชพืช )
• โดยใช้ความหลากหลายที่แตกต่างกัน (เช่นความหลากหลายภายในที่ดดแปลงขัดั
  ขืนยอมรับหรื อแม้กระทังการเอาแข่งขันวัชพืช)
                          ่
• การไถกลบ
• คลุมดินเช่นคลุมด้วยหญ้าหรื อพลาสติก
• ถอนออก

More Related Content

What's hot

2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมTBnakglan
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลPonpirun Homsuwan
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูDashodragon KaoKaen
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการKongkrit Pimpa
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)somporn Isvilanonda
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์joyzazaz
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานguestb5b79b
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 

What's hot (20)

2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงู
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
01
0101
01
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
Solid
SolidSolid
Solid
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 

Similar to Farming System 23/06/54

Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
ระบบฟาร์ม (แปล)
ระบบฟาร์ม (แปล)ระบบฟาร์ม (แปล)
ระบบฟาร์ม (แปล)Jitty Charming
 
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2Jack Wong
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่Budsayarangsri Hasuttijai
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 

Similar to Farming System 23/06/54 (20)

Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ระบบฟาร์ม (แปล)
ระบบฟาร์ม (แปล)ระบบฟาร์ม (แปล)
ระบบฟาร์ม (แปล)
 
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 

Farming System 23/06/54

  • 2. ความหมาย Intensive farming หรื อ intensive agriculture หมายถึง ระบบการผลิตทางการเกษตรทีมคุณสมบัติประกอบด้ วยการใช้ ่ ี ปัจจัยการผลิตประเภททุนและแรงงานสู ง หรื อการใช้เทคโนโลยีการ ผลิต เช่น สารเคมีจากัดสัตว์ศตรู พืช และปุ๋ ยเคมี เป็ นต้น ในสัดส่ วนที่สูง ั เมื่อเปรี ยบเทียบกับพื้นที่ดิน ตรงกันข้ามกับ sustainable agriculture เช่น organic farming or extensive agriculture เป็ นต้น ซึ่งมีการใช้ปัจจัยการผลิต (แรงงาน) ค่อนข้างน้อยเมื่อเปรี ยบเทียบกับขนาดพื้นที่ดินทาฟาร์ม และ เน้นการรักษาสภาพแวดล้อมของการทาฟาร์มที่ดินในระยะยาว เพื่อ สามารถทาฟาร์มได้ตลอดไป
  • 3. ระบบการผลิต รู ปแบบที่ทนสมัยของการทาฟาร์มในระบบ intensive นี้ ั ประกอบด้วยการใช้เครื่ องจักรกลในการเตรี ยมดิน การใช้ปุ๋ยเคมี สารเร่ ง ให้พืชเจริ ญเติบโต และหรื อสารป้ องกันและกาจัดศัตรู พืช การเพิมการใช้กลไกการเกษตรข้างต้น สามารถเพิ่มผลผลิตได้อย่างยังยืน ่ ่ แต่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ้นของมลภาวะต่อสิ่ งแวดล้อม โดยการชะ ล้างพังทะลายของดิน และการสะสมของสารพิษในน้ าของสารเคมี เกษตร
  • 4. การผลิตสัตว์ Intensive animal farming สามารถทาการผลิตสัตว์ได้ จานวนมากในพื้นที่ที่จากัด ซึ่งต้องการปริ มาณอาหารจานวนมาก ปัจจัย น้ า และเวชภัณฑ์ (เพื่อให้สตว์มีสุขภาพดีและแข็งแรงในพื้นที่เลี้ยงที่ ั แคบ) การผลิตสัตว์ในระบบปิ ดและมีขนาดใหญ่ ตามปกติจะหมายถึงระบบ ่ เกษตรอุตสาหกรรม และได้รับการวิพากษ์วจารณ์วาขาดความตระหนัก ิ ในเรื่ องมาตรฐานด้านสวัสดิการของสัตว์ (animal welfare) และเกี่ยวข้องกับประเด็นมลภาวะและสุ ขภาพ
  • 5. ข้อได้เปรี ยบ (Advantages) 1. สามารถเพิ่มปริ มาณผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ต่อแรงงาน ต่อเงินลงทุน เมื่อ เปรี ยบเทียบกับระบบฟาร์ มแบบ extensive farming 2. สามารถผลิตอาหารเลี้ยงประชากรและผูบริ โภคได้ดวยต้นทุนที่ต่า ้ ้ 3. เมื่อพิจารณาในขนาดพื้นที่ผลิตอาหารและเส้นใยเดียวกัน ระบบฟาร์ มนี้ สามารถ ช่วยแก้ปัญหาความหิ วโหยของประชากรได้ ่ 4. สามารถรักษาพื้นที่ตองการรักษาไว้เป็ นป่ าไม้และสัตว์ป่าอยูอาศัยได้ แทนที่จะ ้ ถูกตัดโค่นเพื่อนาไปใช้ในการผลิตแบบ extensive farming 5. ในฟาร์ มเลี้ยวสัตว์ สามารถนาก๊าซมีเธนที่หากถูกปล่อยออกไปตามธรรมชาติ จะ สร้างปัญหาโลกร้อน มาผลิตพลังงานความร้อนได้ ลดการใช้พลังงานจาก ฟอสซิ ล
  • 6. ข้อเสี ย (Disadvantages) 1. ทาลายแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า และสัตว์ป่าและนาไปสู่ปัญหาการ กัดเชาะหน้าดิน 2. การใช้ปุ๋ยเคมีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของแม่น้ าและ ทะเลสาป ทาให้เกิดปัญหาสาหร่ ายที่ไม่พึงประสงค์ 3. ยาปราบศัตรู พืช ทาลายแมลงที่เป็ นประโยชน์ เช่นเดียวกับแมลงที่ ทาลายพืชผล 4. ไม่มีความยังยืน หากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม และอาจนาไปสู่ความ ่ แห้งแล้ง หรื อดินเป็ นพิษ หรื อถูกชะหล้างหน้าดินจนกระทังไม่ ่ สามารถทาการผลิตต่อไปได้
  • 7. ข้อเสี ย (Disadvantages) 5. ต้องการปัจจัยพลังงานจานวนมากในการผลิต การขนส่ ง และการใช้ สารเคมี 6. การใช้สารเคมีนาไปสู่ สารตกค้าง ที่น้ าพัดพาลงสู่แหล่งน้ า และน้ าใต้ดิน 7. การใช้สารเคมี ส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพของแรงงาน ประชาชนที่อาศัยอยู่ ข้างเคียง และผูบริ โภค ้
  • 8. Pre modern intensive farming การทาเกษตรบนพื้นที่ลาดเอียง ส่ วนหนึ่งบนพินที่เนินเขา ได้ถกออกแบบ ้ ู สาหรับการอนุรักษ์ดิน ป้ องกันและหรื อลดความแรงของน้ า ด้วยการทา เป็ นขั้นบันได มนุษย์ได้สร้างสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมสาหรับการปลูกข้าวบนพื้นที่ลาด เอียง ตามแนวรู ปร่ างของลักษณะธรรมชาติของพื้นที่ มีการไถตามแนว เส้นธรรมชาติ ตัวอย่างที่เห็นเป็ นรู ปร่ างแบบดั้งเดิม ได้แก่การทานาที่ บาหลี และฟิ ลิปปิ นส์ ในเปรู ชนเผ่าอินดา ได้สร้างสร้างแนวขั้นบันได ด้วยหิ น
  • 9. Pre modern intensive farming พื้นที่ปลูกข้าว (paddy field) เป็ นพื้นที่น้ าท่วมขังใช้เพาะปลูกได้ และใช้ สาหรับการทานา และพืชกึ่งน้ าอื่น ๆ พื้นที่ปลูกข้าวพบเสมอในประเทศที่ทาการ ปลูกข้าวในประเทศเอเซี ยตะวันออกและตะวันออกเฉี ยงใต้ ประกอบด้วยมาเลเซี ย จีน ศรี ลงกา เมียนมาร์ ไทย เกาหลี ญี่ปุ่น เวียตนาม ไต้หวัน อันโดนีเซี ย อินเดีย ั และฟิ ลิปปิ นส์ พื้นที่ปลูกข้าวนี้ ยังพบในแหล่งอื่นอีก ได้แก่ Peidmont ในอิตาลี Camargue ในฝรั่งเศส และ Artibonite Valley ในเฮติ โดยจะพบ เสมอในธรรมชาติของพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ าและบริ เวณน้ าท่วมขัง หรื อแม้แต่สภาพ พื้นที่ที่สร้างขึ้น เช่น บริ เวณไหล่เขา เป็ นต้น ระบบการปลูกข้าวมีความต้องการน้ าในปริ มาณมาก ระบบชลประทานได้มการ ั พัฒนาขึ้นอย่างสลับซับซ้อนเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าว
  • 10. Pre modern intensive farming น้ าที่ท่วมล้นได้ให้ปริ มาณน้ าที่มากเพียงพอสาหรับการเจริ ญเติบโตของข้าว และให้สภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการปลูก และยังที่อาศัยของหญ้า นานาชนิด มีสตว์ใช้งานที่ปรับตัวได้ดีในสภาพของน้ าปริ มาณมากคือ ั กระบือน้ า ซึ่งพบทั้วไปในแหล่งปลูกข้าวของเอเซีย มีการประมาณการ แล้วว่า ก๊าซมีเธนของโลก ปริ มาณ 50-100 ล้านตันต่อปี มีแหล่งกาเนิด จากนาข้าว ในเกาหลี การปลูกข้าวในพื้นที่ลุ่มได้ปฏิบติมาช้านานแล้ว ก่อนคริ สต ั ศักราช 3,500-2,000 ปี ซึ่งก่อนหน้านี้ ทาการปลูกกันบนพื้นที่ดอน
  • 11. Pre modern intensive farming เกษตรกรผูปลูกข้าวในยุคสมัย Mumun มีองค์ประกอบทุกชนิดเกี่ยวกับ ้ การทานาเช่นเดียวกับในปัจจุบน กล่าวคือ มีการทานาบนไหล่เขา ทางริ ม ั แม่น้ าลาคลอง คลอง และอ่างเก็บน้ าเล็ก ๆ เทคนิคการทานาในสมัยมูมูน กลาง (ก่อนปี คริ สศักราช 850-500 ปี )
  • 16. Modern intensive farming types การทาฟาร์มแบบเข้มข้นสมัยใหม่ หมายถึง การผลิตพชืและสัตว์ในเชิง อุตสาหกรรม (ปศุสัตว์ สัตว์ปีก และปลา) วิธีการที่นามาใช้ได้ถูก ออกแบบเพื่อการผลิตให้ได้ผลผลิตสูงสุ ดด้วยต้นทุนต่าสุ ด ด้วยกา ประหยัดต่อขนาด (economies of scale) เครื่ องจักรกล สมัยใหม่ เวชภัณฑ์สตว์ที่ทนสมัย และการค้าระหว่างประเทศ (การเงิน ั ั การซื้อ และการขาย) ั ั การทาฟาร์มแบบนี้ ได้ปฏิบติกนอย่างกว้างขวางในประเทศพัฒนาแล้ว โดย มีสินค้าสาคัญได้แก่ เนื้อสัตว์ นมและผลิตภัณฑ์ ไข่ และผลผลิตจากพืชที่ นิยมจาหน่ายกันในซุปเปอร์มาร์เก็ต
  • 17. Sustainable intensive farming เกษตรชีวภาพแบบเข้มข้น เน้นในเรื่ องการทาให้ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด ประกอบด้วยผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ผลผลิตต่อปัจจัยพลังงาน ผลผลิตต่อ ปัจจัยน้ า ฯลฯ วนเกษตร (Agroforesty) เป็ นเทคโนโลยีการเชื่อมผสมกันระหว่าง การเกษตร และต้นไม้/ป่ าไม้ เพื่อทาให้ระบบการใช้ที่ดินมีการ ผสมผสาน มีความหลากหลาย มีผลิตภาพ มีกาไร มีสุขอนามัย และมี ความยังยืน ่ การปลูกพืชแซม (Intercropping) สามารถเพิ่มผลผลิตรวมต่อ หน่วยพื้นที่ หรื อปัจจัยการผลิตให้ให้บรรลุวตถุประสงค์เดียวกัน อย่างไร ั ก็ตาม พืชแซมบางชนิดมีแนวโน้มลดลง เพราะมีความเหมหาะสม สาหรับการผลิตแบบพืชเชิงเดี่ยวมากกว่า
  • 18. Sustainable intensive farming การปลูกพืชแนวดิ่ง (Vertical farming) เป็ นประเภทของการผลิต พืชแบบหนาแน่นที่นามาใช้ในระบบเกษตรเมือง เพื่อผลิตอาหารด้วย ฟาร์มขนาดใหญ่ ลดผลกระทบด้านลบต่อสิ่ งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก การทาเกษตรแบบดั้งเดิมในชนบท
  • 19. Intensive aquaculture การผลิตสัตว์น้ า (Aquaculture) เป็ นผลผลิตของน้ าตามธรรมชาติที่ ได้จากการเลี้ยง ประกอบด้วยปลา หอย สาหร่ าย หญ้าทะเล และสัตว์น้ า อื่น ๆ การผลิตสัตว์น้ าอย่างเข้มข้น สามารถกระทได้โดยการเลี้ยงในถัง หรื อบ่อที่ มีระบบการควบคุมอย่างสูง ซึ่งถูกออกแบบเพื่อสนับสนุนการผลิตให้ เหมาะสมกับทรัพยากรน้ าที่มีอยู่
  • 21. Intensive livestock farming Factory farming เป็ นคาที่กระบวนการเลี้ยงปศุสตว์ในคอก ด้วย ั จานวนสัตว์ที่ความหนาแน่นสูง ซึ่งฟาร์มดาเนินการผลิตในลักษณะ อุตสาหกรรม ด้วยธุรกิจเกษตร ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในระบบนี้ ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม และไข่ เพื่อการบริ โภคของมนุษย์ คานี้ ถูกวิจารณ์ไปในทางที่ไม่ดี เป็ นการวิจารณ์กระบวนการทาฟาร์มขนดา ใหญ่ ซึ่งกักขังสัตว์ การทาฟาร์มเลี้ยงสัตว์สตว์แบบเข้มข้นนี้ ใช้จานวนสัตว์มากบนพื้นที่ดิน ั แคบ ๆ ซึ่งต้องการอาหารสัตว์ในปริ มาณมาก ปัจจัยน้ าและเวชภัณฑ์
  • 22. Managed intensive grazing ระบบการจัดการเลี้ยงสัตว์แบบเข้มข้นเพื่อคความยังยืน เป็ นการทาให้ ่ เกิดผลผลิตเพิ่มขึ้นสู งสุ ด ภายใต้กรอบการปฏิบติที่ยงยืน และไม่ได้ทา ั ั่ ฟาร์มในลักษณะอุตสาหกรรม เนื่องจากระบบการทาเกษตรแบบเข้มข้นมีรูปแบบที่ตรงข้ามกับการทา ฟาร์มแบบยังยืน เช่น การเกษตรแบบถาวร (permaculture) ่ หรื อ การเกษตรแบบเบาบาง (Extensive) ที่มีการใช้ปัจจัยการ ผลิตและแรงงานน้อย บนพื้นที่ฟาร์มขนาดเดียวกัน และเน้นในเรื่ องการ รักษาระบบนิเวศน์ในฟาร์มในระยะยาว
  • 23. Integrated farming systems ระบบการทาฟาร์มแบบผสมผสาน เป็ นระบบการผลิตทางการเกษตรที่ยงยืน ั่ และผสมผสานด้วยวิธีทางชีววิธีเข้าด้วยกันอย่างก้าวหน้า ตัวอย่าง เช่น Integrated Multi-Trophic Aquaculture หรื อ Zero waste agriculture ซึ่งเป็ นการนาความรู ้เกี่ยวกับ ั ปฏิสัมพันธ์กนระหว่างพืชและสัตว์เข้าร่ วมในกระบวนการผลิต และให้ ผลประโยชน์ในด้านความยังยืนของระบบการผลิต และผลกาไรที่ได้จาก ่ การผลิต
  • 24. Crop rotation เป็ นวิธีการปฏิบติในการปลูกพืชต่างชนิดกัน ในพื้นที่เดี่ยวกัน แต่ต่าง ั ฤดูกาลกัน ซึ่งจะได้รับผลประโยชน์ในการหลีกเลี่ยงการเกิดโรค และ สัตว์ศตรู พืช ที่มกเกิดขึ้นเมื่อมีการปลูกพชประเภทเดียวกันซ้ า ๆ ั ั ต่อเนื่องกัน นอกจากนี้ การปลูกพืชหมุนเวียน ยังช่วยสร้างสมดุลซึ่งเกิดจากความ ต้องการปุ๋ ยของพืชที่มีความแตกต่างกัน และหลีกเลี่ยงการใช้แบบหมด ไปของปุ๋ ยในดิน การปลูกพืชหมุนเวียนแบบดั้งเดิม ประกอบด้วยการเพิ่มธาตุไนโตรเจนให้ ดิน ด้วยการใช้ปุ๋ยพืชสดต่อจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ การปรับปรุ ง โครงสร้างและความสมบูรณ์ของดิน ด้วยการเลือกพืชที่มีระบบรากลึก และตื้น สลับกัน
  • 25. Water use efficiency ระบบชลประทานในโลกใช้น้ าจืดประมาณร้อยละ 70 ภาคการเกษตรของประเทศใน โลกส่ วนใหญ่ให้ความสาคัญกับน้ า ทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง และการให้ การสนับสนุนด้านการเงินแก่ทรัพยากรน้ า ถือเป็ นเรื่ องปกติ แต่ผให้การสนับสนุน ู้ ความคิดด้านอนุรักษ์ตองการให้ยกเลิกการสนับสนุนด้านการเงินทุกกรณี เพื่อ ้ บังคับให้เกษตรกรปลูกพืชที่มีการใช้ประอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น และยอมรับ เทคนิคการชลประทานที่สูญเสี ยน้ าน้อยที่สุด การใช้น้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด หมายถึงการลดการสู ญเสี ยให้เหลือน้อยที่สุดใน ด้านการคายน้ า การไหลออกไปของน้ า และการระบายน้ าผิวดิน evaporation pan ใช้ในการกาหนดปริ มาณที่ตองการในพื้นที่ชลประทาน ้ Flood irrigation เป็ นวิธีการเก่าแก่ที่สุดและปกติที่สุดในการกระจายน้ าไปสู่ พื้นที่ชลประทาน บางส่ วนของพื้นที่จะได้รับน้ าที่มากเกิน เพื่อสามารถส่ งน้ าที่ เหลือต่อไปยังอีกพื้นที่หนึ่ ง
  • 26. Water use efficiency Overhead irrigation การใช้หวจ่าย หรื อสปริ งเกอร์ พนน้ าสู่ แปลงปลูก ั ่ ั Drip irrigation ระบบน้ าหยด มีตนทุนสู งที่สุด และใช้กนน้อยที่สุด แต่เป็ น ้ สามารถส่ งน้ าไปสู่ รากพืชได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่สุด และสู ญเสี ยน้ าน้อยที่สุด การจัดระบบชลประทานล้วนมีค่าใช้จ่าย แต่เป็ นความพยายามที่เน้นประสิ ทธิ ภาพ สูงสุ ดให้ก่ระบบที่มีอยู่ รวมถึงการการสกัดดินที่อดแน่นการทาร่ องน้ าเพื่อกันน้ า ั ไหลออก การใช้เครื่ องตรวจวัดความชื้นและน้ าฝนเพื่อการใช้น้ าสู งสุ ด มาตรการจัดการการเก็บกักน้ าประกอบด้วยการวิธีการเก็บกักน้ าฝนและน้ าที่ไหลจาก แหล่งอื่น การเติมน้ าลงสู่ แหล่งน้ าใต้ดิน ซึ่ งจะช่วยในการพัฒนาการขุดบ่อน้ าใต้ดิน มาใช้ประโยชน์ และป้ องกันการเซาะหน้าดิน
  • 27. Nutrient audits การตรวจสอบสารอาหารในดิน จะช่วยให้เกษตรกรลดค่าใช้จ่ายในการทาฟาร์ มให้ น้อยลง ลดมลภาวะของอากาศ และยังช่วยเพิ่มแร่ ธาตุต่างๆ ที่จะช่วยในการ เจริ ญเติบโตของพืช วิธีการในการตรวจสอบธาตุอาหารในดินได้รับการศึกษาและ ใช้สาหรับการฟาร์ มและประเทศทั้งประเทศมานานหลายทศวรรษ แต่ในปั จจุบน ั ไม่มีมาตรฐานสาหรับการตรวจสอบสารอาหารที่ยงไม่ได้รับการยอมรับ กับการที่ ั จะประเมินประสิ ทธิภาพการใช้สารอาหารที่ฟาร์ม สาหรับการตรวจสอบ สารอาหารในฟาร์ ม เพื่อที่จะช่วยลด ยาปราบศัตรู พืชและมลพิษทางอากาศจาก การเกษตร เป็ นวิธีที่ที่ดีที่สุดในการจัดการในการใช้ปุ๋ยและปุ๋ ยพืชสดอินทรี ยเ์ ป็ น ส่ วนหนึ่ งของการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจและสิ่ งแวดล้อม ระบบการทา ฟาร์ มที่ยงยืน ั่
  • 28. Herbicide resistance ในภาคเกษตรกรรมขนาดใหญ่และการกาจัดวัชพืชจะต้องเป็ นระบบและมักจะแสดง โดยเครื่ องเช่น cultivators หรื อพ่นสารเคมีกาจัดวัชพืชของเหลว สารเคมี กาจัดวัชพืชที่เลือกฆ่าเป้ าหมายเฉพาะขณะที่ออกจากพืชที่ตองการที่ค่อนข้าง ้ อันตราย บางส่ วนของการกระทาเหล่านี้โดยการรบกวนการเจริ ญเติบโตของวัชพืชและขึ้นอยู่ บ่อยครั้งเกี่ยวกับฮอร์ โมนพืช การควบคุมวัชพืชโดยใช้สารสารกาจัดวัชพืชที่ผาน ่ การทายากมากขึ้นเมื่อวัชพืชกลายเป็ นทนต่อสารกาจัดวัชพืช
  • 29. • การใช้พืชคลุม (โดยเฉพาะผูที่มีคุณสมบัติ allelopathic) ที่ออกมาแข่งขัน ้ วัชพืชหรื อยับยั้งการงอกของพวกเขา • การใช้สารกาจัดวัชพืชที่แตกต่างกัน ่ ั • โดยใช้เป็ นพืชที่ตางสายพันธุ์กน (เช่นการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมเพื่อให้ทนต่อสาร กาจัดวัชพืช ) • โดยใช้ความหลากหลายที่แตกต่างกัน (เช่นความหลากหลายภายในที่ดดแปลงขัดั ขืนยอมรับหรื อแม้กระทังการเอาแข่งขันวัชพืช) ่ • การไถกลบ • คลุมดินเช่นคลุมด้วยหญ้าหรื อพลาสติก • ถอนออก