SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วัสดุ เวลา 10 ชั่วโมง
เรื่อง สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว เวลา 2 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มาตรฐาน
ว 3.1 สมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้นาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
1.2 ตัวชี้วัด
ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนาความร้อน
การนาไฟฟ้า และความหนาแน่น (ว 3.1 ป. 5/1)
2. สาระสาคัญ
ความเหนียวเป็นสมบัติเฉพาะของวัสดุแต่ละชนิด วัสดุที่มีความเหนียวมากจะดึงให้ฉีกขาดได้ยากกว่า
วัสดุที่มีความเหนียวน้อย และวัสดุที่มีความเหนียวมากจะรับน้าหนักได้มากกว่าวัสดุที่มีความเหนียวน้อย
3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้ (K)
1. ซักถามความรู้เรื่อง สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว
2. ประเมินกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน
3.2 ทักษะ/กระบวน (P)
1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A)
1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล
2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีความกระตือรือร้น
2. มีความรับผิดชอบ
3. มุ่งมั่นในการทางาน
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
ใบงานที่ 3 สังเกต สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
(1) ถามนักเรียนว่า เคยเห็นสายเบ็ดตกปลาหรือไม่ ทามาจากอะไร ทาไมจึงใช้วัสดุชนิดนี้
(2) นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม นาอภิปรายว่าสายเบ็ดตกปลานิยมทามาจากเอ็น เพราะเอ็นมี
ความเหนียว เมื่อมีปลาตัวใหญ่มาติดเบ็ดสายเบ็ดจะไม่ขาด ซึ่งความเหนียวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของวัสดุ
เช่นเดียวกับความแข็งที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ
(1)นาแผ่นกระดาษ และถุงพลาสติกเข้ามาในชั้นเรียน แล้วถามนักเรียนว่าถ้าจะออกแรง
ฉีกกระดาษ และถุงพลาสติกให้ขาด สิ่งใดต้องใช้แรงมากกว่า
(2) นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็นจากประสบการณ์ของตน
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) นักเรียนศึกษาสมบัติของวัสดุด้านความเหนียว และการตรวจสอบสมบัติของวัสดุจากใบ
ความรู้หรือหนังสือเรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้วด้วยการ
ใช้คาถามกระตุ้น ให้นักเรียนตอบจากความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน
(2) นักเรียนแบ่งกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรมสังเกตสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุแต่ละกลุ่ม
ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ดังนี้
- พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้
- ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟุต ที่ขอเกี่ยว และนาขอเกี่ยวอีกอันผูกติดปลายล่างของเชือกฟาง
- แขวนถุงทรายที่ขอเกี่ยวอันล่าง เพิ่มถุงทรายทีละถุงจนเชือกขาด นับจานวนถุงทราย
ทั้งหมด บันทึกผล
- ทาการทดลองซ้าโดยเปลี่ยนจากเชือกฟางเป็นเชือกกล้วย ด้าย และเอ็น
หมายเหตุ เชือกแต่ละชนิดควรมีขนาดและความยาวเท่ากัน
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
(1) ร่วมกันกับนักเรียนอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้แนวคาถาม เช่น
- วัสดุที่มีความเหนียวมากที่สุดและน้อยที่สุดตามลาดับคืออะไร
- วิธีการที่ใช้ทดสอบความเหนียวในกิจกรรมนี้คืออะไร
- ยกตัวอย่างวัสดุที่มีความเหนียว ที่ถูกนามาใช้ในชีวิตประจาวัน
(2) ร่วมกันกับนักเรียนสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมอธิบายเพิ่มเติมว่า นอกจากวัสดุ
ที่นักเรียนนามาสังเกตแล้ว ยังมีวัสดุอย่างอื่นอีกที่มีสมบัติด้านความเหนียว เช่น ดินเหนียว สามารถนามาปั้น
สิ่งของเป็นรูปทรงต่างๆ ได้ และโลหะเมื่อทาให้ร้อนจะสามารถตีแผ่เป็นแผ่น หรือรีดให้เป็นเส้น นามาทา
เป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น หม้อ กระทะ
(3) อธิบายเพิ่มเติมว่า วัสดุแต่ละชนิดมีความเหนียวแตกต่างกัน วัสดุที่มีความเหนียวมาก
ต้องใช้แรงดึงมากจึงจะขาด ส่วนวัสดุที่มีความเหนียวน้อยใช้แรงดึงไม่มากก็สามารถขาดได้
4) ขั้นขยายความรู้
(1) นาภาพการแข่งขันชักเย่อ ภาพช้างลากซุง ภาพสะพานที่มีลวดเหล็กยึด เช่น สะพาน
พระราม 8 มาให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าเกี่ยวข้องกับสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุหรือไม่ เพราะอะไร
(2) นักเรียนค้นคว้าคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับชนิดของวัสดุที่มีสมบัติด้านความเหนียว
จากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอให้เพื่อนฟัง คัดคาศัพท์พร้อมคาแปลลงในสมุด
ส่ง
5) ขั้นประเมิน
(1) ให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุด
ใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ
แก้ไขอย่างบ้าง
(3) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ
การนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาถาม เช่น
- ความเหนียว คือ อะไร
- การพิจารณาสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ ทาได้ด้วยวิธีการใดบ้าง
- ยกตัวอย่างวัสดุที่มีสมบัติด้านความเหนียว
ขั้นสรุป
นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านความเหนียวโดยร่วมกันสรุปเขียนเป็นแผนที่ความคิด
หรือผังมโนทัศน์
8. การวัดผลและประเมินผล
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
2. โดยการตรวจผลงานจากใบงาน
3. โดยการประเมินการเห็นคุณค่า
2. เครื่องมือ
1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
2. แบบตรวจผลงาน
3. แบบประเมินการเห็นคุณค่า
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1) แผ่นกระดาษ และถุงพลาสติก
2) ภาพการแข่งขันชักเย่อ ภาพช้างลากซุง ภาพสะพานที่มีลวดเหล็กยึด
3) ใบงานที่ 3 สังเกต สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ
4) ถุงทราย เชือกฟาง เชือกกล้วย ด้าย เอ็นไม้ยาว ขอเกี่ยว
5) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้น ป. 5
ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.....................................................
(.....................................................)
............/............................/..............
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมจัดการเรียนรู้
1. ผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
4. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.....................................................
(.....................................................)
............/............................/..............
ภาคผนวก
ใบงานที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของวัสดุในชีวิตประจาวัน
เรื่อง สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง ให้นักเรียนทดสอบความเหนียวของวัสดุต่างๆ ด้วยวิธีที่กาหนดให้ แล้วจดบันทึกความยาวที่วัดไว้
ลงในตารางแล้วสรุปผล
ขั้นตอน
1. แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5­6 คน
2. พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้
3. ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟุตที่ขอ นาขอเกี่ยวอีกอันผูกติดปลายล่างของเชือกฟาง
4. แขวนถุงทรายที่ขอเกี่ยวอันล่าง เพิ่มถุงทรายทีละถุงจนเชือกขาด นับจานวนถุงทรายทั้งหมด
5. ทาการทดสอบซ้าโดยเปลี่ยนจากเชือกฟางเป็นเชือกกล้วย ด้าย และเอ็น
6. นาเสนอผลการทดสอบหน้าชั้นเรียน อภิปราย วิเคราะห์ และสรุปผล
บันทึกผล
สรุปผล
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
วัสดุ จานวนถุงทราย (ถุง)
1. เชือกฟาง
2. เชือกกล้วย
3. ด้าย
4. เอ็น
บัตรภาพ
ภาพการแข่งขันชักเย่อ ภาพช้างลากซุง ภาพสะพานที่มีลวดเหล็กยึด

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
Nang Ka Nangnarak
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
thanakit553
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
Rattana Wongphu-nga
 

What's hot (20)

บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (6)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ความหนาแน่น
ความหนาแน่นความหนาแน่น
ความหนาแน่น
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
ความแข็ง
ความแข็งความแข็ง
ความแข็ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)

รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
Kasetsart University
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
krupornpana55
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3) (7)

เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วัสดุ เวลา 10 ชั่วโมง เรื่อง สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 1.1 มาตรฐาน ว 3.1 สมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้นาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 1.2 ตัวชี้วัด ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนาความร้อน การนาไฟฟ้า และความหนาแน่น (ว 3.1 ป. 5/1) 2. สาระสาคัญ ความเหนียวเป็นสมบัติเฉพาะของวัสดุแต่ละชนิด วัสดุที่มีความเหนียวมากจะดึงให้ฉีกขาดได้ยากกว่า วัสดุที่มีความเหนียวน้อย และวัสดุที่มีความเหนียวมากจะรับน้าหนักได้มากกว่าวัสดุที่มีความเหนียวน้อย 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ (K) 1. ซักถามความรู้เรื่อง สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว 2. ประเมินกิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 3.2 ทักษะ/กระบวน (P) 1. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคิด 3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล
  • 2. 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มีความกระตือรือร้น 2. มีความรับผิดชอบ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 3 สังเกต สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (1) ถามนักเรียนว่า เคยเห็นสายเบ็ดตกปลาหรือไม่ ทามาจากอะไร ทาไมจึงใช้วัสดุชนิดนี้ (2) นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม นาอภิปรายว่าสายเบ็ดตกปลานิยมทามาจากเอ็น เพราะเอ็นมี ความเหนียว เมื่อมีปลาตัวใหญ่มาติดเบ็ดสายเบ็ดจะไม่ขาด ซึ่งความเหนียวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของวัสดุ เช่นเดียวกับความแข็งที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (1)นาแผ่นกระดาษ และถุงพลาสติกเข้ามาในชั้นเรียน แล้วถามนักเรียนว่าถ้าจะออกแรง ฉีกกระดาษ และถุงพลาสติกให้ขาด สิ่งใดต้องใช้แรงมากกว่า (2) นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็นจากประสบการณ์ของตน 2) ขั้นสารวจและค้นหา (1) นักเรียนศึกษาสมบัติของวัสดุด้านความเหนียว และการตรวจสอบสมบัติของวัสดุจากใบ ความรู้หรือหนังสือเรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้วด้วยการ ใช้คาถามกระตุ้น ให้นักเรียนตอบจากความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน
  • 3. (2) นักเรียนแบ่งกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรมสังเกตสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุแต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ดังนี้ - พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้ - ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟุต ที่ขอเกี่ยว และนาขอเกี่ยวอีกอันผูกติดปลายล่างของเชือกฟาง - แขวนถุงทรายที่ขอเกี่ยวอันล่าง เพิ่มถุงทรายทีละถุงจนเชือกขาด นับจานวนถุงทราย ทั้งหมด บันทึกผล - ทาการทดลองซ้าโดยเปลี่ยนจากเชือกฟางเป็นเชือกกล้วย ด้าย และเอ็น หมายเหตุ เชือกแต่ละชนิดควรมีขนาดและความยาวเท่ากัน 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (1) ร่วมกันกับนักเรียนอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้แนวคาถาม เช่น - วัสดุที่มีความเหนียวมากที่สุดและน้อยที่สุดตามลาดับคืออะไร - วิธีการที่ใช้ทดสอบความเหนียวในกิจกรรมนี้คืออะไร - ยกตัวอย่างวัสดุที่มีความเหนียว ที่ถูกนามาใช้ในชีวิตประจาวัน (2) ร่วมกันกับนักเรียนสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมอธิบายเพิ่มเติมว่า นอกจากวัสดุ ที่นักเรียนนามาสังเกตแล้ว ยังมีวัสดุอย่างอื่นอีกที่มีสมบัติด้านความเหนียว เช่น ดินเหนียว สามารถนามาปั้น สิ่งของเป็นรูปทรงต่างๆ ได้ และโลหะเมื่อทาให้ร้อนจะสามารถตีแผ่เป็นแผ่น หรือรีดให้เป็นเส้น นามาทา เป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น หม้อ กระทะ (3) อธิบายเพิ่มเติมว่า วัสดุแต่ละชนิดมีความเหนียวแตกต่างกัน วัสดุที่มีความเหนียวมาก ต้องใช้แรงดึงมากจึงจะขาด ส่วนวัสดุที่มีความเหนียวน้อยใช้แรงดึงไม่มากก็สามารถขาดได้ 4) ขั้นขยายความรู้ (1) นาภาพการแข่งขันชักเย่อ ภาพช้างลากซุง ภาพสะพานที่มีลวดเหล็กยึด เช่น สะพาน พระราม 8 มาให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าเกี่ยวข้องกับสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุหรือไม่ เพราะอะไร (2) นักเรียนค้นคว้าคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับชนิดของวัสดุที่มีสมบัติด้านความเหนียว จากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษหรืออินเทอร์เน็ต และนาเสนอให้เพื่อนฟัง คัดคาศัพท์พร้อมคาแปลลงในสมุด ส่ง 5) ขั้นประเมิน (1) ให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุด ใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ แก้ไขอย่างบ้าง (3) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
  • 4. (4) ทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาถาม เช่น - ความเหนียว คือ อะไร - การพิจารณาสมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ ทาได้ด้วยวิธีการใดบ้าง - ยกตัวอย่างวัสดุที่มีสมบัติด้านความเหนียว ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านความเหนียวโดยร่วมกันสรุปเขียนเป็นแผนที่ความคิด หรือผังมโนทัศน์ 8. การวัดผลและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 2. โดยการตรวจผลงานจากใบงาน 3. โดยการประเมินการเห็นคุณค่า 2. เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 2. แบบตรวจผลงาน 3. แบบประเมินการเห็นคุณค่า 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1) แผ่นกระดาษ และถุงพลาสติก 2) ภาพการแข่งขันชักเย่อ ภาพช้างลากซุง ภาพสะพานที่มีลวดเหล็กยึด 3) ใบงานที่ 3 สังเกต สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ 4) ถุงทราย เชือกฟาง เชือกกล้วย ด้าย เอ็นไม้ยาว ขอเกี่ยว 5) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้น ป. 5 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................... (.....................................................) ............/............................/..............
  • 5. บันทึกหลังการจัดกิจกรรมจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหาและอุปสรรค .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ไขปัญหา ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 4. ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................... (.....................................................) ............/............................/..............
  • 7. ใบงานที่3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของวัสดุในชีวิตประจาวัน เรื่อง สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ ------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชี้แจง ให้นักเรียนทดสอบความเหนียวของวัสดุต่างๆ ด้วยวิธีที่กาหนดให้ แล้วจดบันทึกความยาวที่วัดไว้ ลงในตารางแล้วสรุปผล ขั้นตอน 1. แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5­6 คน 2. พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้ 3. ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟุตที่ขอ นาขอเกี่ยวอีกอันผูกติดปลายล่างของเชือกฟาง 4. แขวนถุงทรายที่ขอเกี่ยวอันล่าง เพิ่มถุงทรายทีละถุงจนเชือกขาด นับจานวนถุงทรายทั้งหมด 5. ทาการทดสอบซ้าโดยเปลี่ยนจากเชือกฟางเป็นเชือกกล้วย ด้าย และเอ็น 6. นาเสนอผลการทดสอบหน้าชั้นเรียน อภิปราย วิเคราะห์ และสรุปผล บันทึกผล สรุปผล ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… วัสดุ จานวนถุงทราย (ถุง) 1. เชือกฟาง 2. เชือกกล้วย 3. ด้าย 4. เอ็น