SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ธรรมชาติของเสียง
เสียง เป็นคลื่นกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทาให้เกิด
การอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศ ไปยังหู แต่
เสียงสามารถเดินทางผ่านสสารในสถานะก๊าซ ของเหลว และของแข็งก็ได้ แต่ไม่สามารถ
เดินทางผ่านสุญญากาศได้
อัตราเร็วของเสียง
นักฟิสิกส์ศึกษาอัตราเร็วของเสียงในอากาศ เขาได้พบว่าอัตราเร็วของเสียงในอากาศมี
ความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของอากาศโดยประมาณ ตามสมการ
และสามารถเปรียบเทียบอัตราเร็วเสียงที่อุณหภูมิแตกต่างกันได้ดังสมการ
V = 331 + 0.6 t = 20 T
v2
v1
=
T1
T2
การสะท้อนของ
เสียง
การเลี้ยวเบนของ
เสียง
เสียงกับการแทรก
สอด การหักเหของเสียง
สมบัติของคลื่นเสียง
(Interference)
ตาแหน่งที่เสียงรวมกันแบบเสริม เรียกว่า ปฏิบัพ (Antinode) ซึ่งตาแหน่งนี้
เราจะได้ยินเสียงดังกว่าปกติ และตาแหน่งที่เสียงรวมกันแบบหักล้าง เรียกว่า บัพ
(Node) ตาแหน่งนี้เราจะได้ยินเสียงค่อยกว่าปกติ
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างการ
คานวณ
(Diffraction)
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างการ
คานวณ
(Reflection)
เมื่อเสียงเคลื่อนที่กระทบกับ
สิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อน
ที่ถึงผิวของรอยต่อของตัว
กลาง หรือตัวกลางชนิด
เดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน
จะทาให้เกิดการกระท้อน
ของเสียง โดยเสียงสะท้อนที่
วัตถุผิวเรียบได้ดีกว่าวัตถุผิว
ขรุขระ
ถ้าเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางที่มีความ
หนาแน่นมากกว่า ทาให้เฟสของเสียงเปลี่ยนไป 𝜋 เรเดียน เพราะโมเลกุลที่
บริเวณนั้นไม่สามารถสั่นได้ (เหมือนการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกปลายตรึง)
เสียงก้อง (Echo)
เสียงก้อง หรือเสียงสะท้อนกลับ (Echo) เกิดจากเสียงสะท้อนใช้
เวลาเดินทางออกจากแหล่งกาเนิดไปสะท้อนที่ผิวสะท้อนแล้วมาถึงหูผู้ฟังใช้เวลามากกว่า
เสียงจากแหล่งกาเนิดโดยตรงมากกว่า 0.1 วินาที เป็นต้นไปทาให้ผู้ฟังแยกเสียงทั้งสองออก
จากกันได้เป็น 2 เสียง เช่น การตะโกนในถ้า หรือห้องโถงขนาดใหญ่
การสะท้อนของคลื่นเสียงจะ
เกิดขึ้นได้ดีเมื่อวัตถุหรือตัวสะท้อนมี
ขนาดเท่ากับหรือโตกว่าขนาดของ
ความยาวคลื่นเสียง
เสียงก้อง (Echo)
ผิวสะท้อนโตกว่าความยาวคลื่นเสียง
1. ใช้ในการหาความลึกของทะเล โดยส่ง
สัญญาณเสียงออกไป แล้วจับเวลาที่สัญญาณเสียง
สะท้อนกลับมา แล้วนามาคานวณหาความลึกของ
ทะเล
2. ใช้สารวจเกี่ยวกับลักษณะของชั้นหินที่อยู่ใต้ดินโดย
การจับเวลาที่เสียงสะท้อนจากชั้นหินแล้วนามา
วิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้างของชั้นหิน ซึ่งบอก
ถึงทรัพยากรที่อาจมีอยู่ในชั้นหินนั้นๆ
3. ใช้ในการออกแบบอาคารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดเสียง
ก้อง โดยพิจารณาขนาดรูปร่างและชนิดของวัสดุที่ใช้
ทาผิวสะท้อน เป็ นต้น
ตัวอย่างที่ 1 เป็นต่อนั่งอยู่บนบอลลูนซึ่ง
กาลังเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงตัว 10 เมตร
ต่อวินาที ขณะที่อยู่สูงจากพื้นเป็นระยะ 500
เมตร เป็นต่อได้ส่งคลื่นเสียงลงไป จงหาว่าเป็น
ต่อจะได้ยินเสียงสะท้อนกลับเมื่อเวลาผ่านไป
เท่าใดหลังจากส่งคลื่นเสียง หากความเร็วเสียง
ในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
(3.03 วินาที)
ตัวอย่างการ
คานวณ
(Refraction)
การหักเหของเสียงเกิดขึ้นเมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิด
กัน ทาให้ความยาวคลื่นและอัตราเร็วเสียงเปลี่ยนไป หรือ
เสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิแตกต่างกัน ทาให้
อัตราเร็วของเสียงเปลี่ยนแปลงไป
เป็ นไปตามกฎของกฎของสเนลล์
(Snell’s law)
sin θ1
sin θ2
=
λ1
λ2
=
v1
v2
เนื่องจาก v ∝ T จะได้
sin θ1
sin θ2
=
λ1
λ2
=
v1
v2
=
T1
T2
การหักเหของเสียงเมื่อเสียงเดินทางในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า
ไปสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง เสียงจะเบนออกจากเส้นปกติ ( θ2 > θ1 )
และเมื่อเสียงเดินทางในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่บริเวณที่มี
อุณหภูมิต่า คลื่นเสียงจะเบนเข้าหาเส้นปกติ ( θ1 > θ2 )
มุมวิกฤต (Critical Angle : θc)
มุมวิกฤต เป็ นมุมตกกระทบค่าหนึ่ง ที่ทาให้เกิด
มุมหักเหมีค่าเป็ น 90 องศา มุมวิกฤตจะเกิดขึ้นได้เมื่อ
รังสีตกกระทบผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากไปยัง
ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย
มุมวิกฤต (Critical Angle : θc)
ก า ร ส ะ ท้ อ น
กลับหมด เกิดจาก
ก า ร เ ดิน ท า ง ข อ ง
เสียงจากตัวกลางที่มี
ความหนาแน่นมาก
ไ ป ยัง ตัว ก ล า ง ที่มี
ความหนาแน่นน้อย
ก ว่ า เ มื่ อ เ สี ย ง
เดินทางถึงรอยต่อ
ระหว่างตัวกลาง จะ
เกิดการสะท้อนกลับ
ตัวอย่างที่ 2คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่ 1 ไปยังตัวกลางที่ 2 โดย
ทามุมตกระทบกับรอยต่อระหว่างตัวกลางเป็นมุม 30 องศา ถ้าอัตราเร็วของ
เสียงเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า ของอัตราเร็ วเดิม ให้ หามุมหักเห
ในตัวกลางที่ 2 (90 องศา)
ตัวอย่างการ
คานวณ
1. การเกิดฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง
ปรากฏการณ์หักเหของเสียงในธรรมชา
ในขณะเกิดฟ้าแลบ ถ้าอากาศ
เบื้องบนมีอุณหภูมิ ต่ากว่าอากาศเบื้อง
ล่าง ทาให้เสียงฟ้าแลบเคลื่อนที่จาก
อากาศที่มีอุณหภูมิต่าไปอุณหภูมิสูงกว่า
ทิศของเสียงจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก
และเมื่อมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต
จะทาให้เสียงเกิดการสะท้อนกลับหมดไป
ยังอากาศเบื้องบน จึงทาให้ไม่ได้ยินเสียง
ฟ้าร้อง
2. การได้ยินในเวลากลางคืนดังชัดเจนกว่าในเวลากลางวัน
ปรากฏการณ์หักเหของเสียงในธรรมชา
ต อ น
กลางวัน
อากาศเหนือ
พื้น ดิ น จ ะ มี
อุ ณ ห ภู มิ สู ง
ก ว่ า อ า ก า ศ
บริเวณด้านบน
เสียงจะหักเห
ขึ้นสู่อากาศ
2. การได้ยินในเวลากลางคืนดังชัดเจนกว่าในเวลากลางวัน
ปรากฏการณ์หักเหของเสียงในธรรมชา
ตอนกลางคืนนั้น
อากาศเหนือพื้นดินจะมีอุณหภูมิต่า
กว่าอากาศบริเวณด้านบน เสียงจะหัก
เหลงสู่พื้นดิน
3. การหักเหของเสียงเนื่องจากลม
ปรากฏการณ์หักเหของเสียงในธรรมชา
เมื่อมีลมพัดทาให้ทิศทางของคลื่นเสียงเปลี่ยนแปลงไปโดยเมื่อมีลมพัดจากซ้าย
ไปขวา ซึ่งอัตราเร็วของลม ตอนบนจะมากกว่าตอนล่าง เนื่องจากตอนล่างมีสิ่งกีดขวางทา
ให้อัตราเร็วของลมลดลง จึงทาให้อัตราเร็วเสียง และความยาวคลื่นเสียงในทิศทางต่างๆ
เปลี่ยนไป
เสียง
เสียง
เสียง

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 

Similar to เสียง

E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 

Similar to เสียง (13)

E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
Sound
SoundSound
Sound
 

เสียง