SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
นวัตกรรมการแพทย์ฉุกเฉิน
                                                                           พญ.สุทธสินี เจียมประเสริฐ
                                                                            โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช

       ภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะวิกฤตของชีวิต หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสมแล้ว อาจจะทา
ให้เกิดการสูญเสียชีวิต อวัยวะหรือเกิดความบกพร่องในการทางานของอวัยวะสาคัญ รวมทั้งทาให้การ
บาดเจ็บหรืออาการป่วยรุนแรงขึ้นโดยไม่สมควร ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบ
การแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทุกมิติ
      การพัฒนาบุคลากรและระบบการรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉินเพื่อให้มีศักยภาพในการทางานกับระบบที่ดีและ
เครื่องมือที่เหมาะสมจะทาให้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนที่
ต้องการ ความช่วยเหลือในช่วงเวลาวิกฤตได้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อให้เป็นกาลัง
สาคัญของการทางานในเชิงรุกและมีความเป็นสากล
       หน่วยกู้ชีพคุ้มเกล้าฯ เมื่อไปรับผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุแล้วยังเล็งเห็นความสาคัญในการดูแลผู้ป่วย
ต่อเนื่องที่มาถึงโรงพยาบาลจึงได้จัดทา activate code ขึ้นเพื่อให้ห้องฉุกเฉินได้มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์
สถานที่ และบุคลากรที่จาเป็นและมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยต่อไป โดยเริ่มดาเนินงานตั้งแต่เดือนมกราคม
๒๕๕๔ เป็นต้นไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้เข้าถึงบริการแพทย์ฉุกเฉินอย่างรวดเร็ว ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมาตรฐาน
2. เพื่อเป็นหน่วยประสานเชื่อมโยงกับห้องฉุกเฉินและอุบัติเหตุ กรณีผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ให้ได้รับการบริการที่
เร่งด่วน
กลุ่มเป้าหมาย
          ผู้ป่วยฉุกเฉิน* ทุกคนที่หน่วยกู้ชีพคุ้มเกล้าฯไปรับ ณ จุดเกิดเหตุ
ผู้ป่วยฉุกเฉิน* คือ
1.ผู้ป่วยหมดสติและเรียกไม่รู้สึกตัว
2.ผู้ป่วยหยุดหายใจ
3.ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น
4.ผู้ป่วยอุบัติเหตุรุนแรงมีการบาดเจ็บหลายส่วนของร่างกายและเกิดภาวะช็อก
   (Multiple injury with unstable V/S and shock)
5.ผู้ป่วยมีภาวะเลือดออกที่ไม่ได้มีสาเหตุจากอุบัติเหตุและเกิดภาวะช็อก
   (Bleeding with unstable V/S and shock)
Nontrauma ( 4 Activate Fast Tract Code)
                                        ในกรณีผู้ป่วยฉุกเฉิน



Code Acute Stroke Fast tract
-ผู้ป่วยมีอาการที่เข้าได้กับ stroke ตามThe Cincinnati Prehospital Stroke Scale ไม่เกิน 4.5ชม.
The Cincinnati Prehospital Stroke Scale ประกอบด้วยอาการ 3 อย่างที่สาคัญ
1.1 Facial Droop ปากเบี้ยวข้างใดข้างหนึ่ง
1.2 Arm Drift เมื่อให้ผู้ป่วยหลับตา แบมือและเหยียดแขนตรงไปด้านหน้า แล้วมีแขนข้างใดข้างหนึ่งตก
1.3 Abnormal Speech ผู้ป่วยไม่สามารถพูดได้จบประโยค “ยายพาหลานไปซื้อของที่ตลาด”
(สงสัยโรคหลอดเลือดสมองใน 3 ชม. ปากเบี้ยว แขนข้างใดข้างหนึ่งอ่อนแรง พูดไม่ชัด)
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญ อาการ ระยะเวลา ประวัติโรคลมชัก เบาหวาน
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น herarin lock และ IV 0.9% NSS) and obtain blood samples เจาะ
DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group,
G/M PRC 1 unit
-Perform neurologic screening ตรวจร่างกายทางระบบประสาท
-Activate Stroke Team ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์เวชศาสตร์
ฉุกเฉิน พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วยตั้งแต่ถึงโรงพยาบาลจนขึ้น ward 8/2 ติดต่อประสาน
อายุรแพทย์ห้องฉุกเฉิน ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน แจ้งพยาบาลทีward8/2ว่ามีผู้ป่วยstroke fast track เพื่อ
                                                                   ่
รายงานอายุรแพทย์ระบบประสาท ต่อไป
-order CT brain scan ประสานห้อง CT และส่งผู้ป่วย ทาNon-contrast CT brain ด่วน
-monitor EKG ตลอดระยะเวลาก่อนที่จะมาถึงโรงพยาบาล

Code BBA (Birth before admit)
 Case BBA (birth before admit)
 Case สูติ case ผู้หญิงตั้งครรภ์มีเด็กศีรษะโผล่หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือคลอดออกมาแล้ว
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญทางสูติศาสตร์ GA น้าเดิน
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ( Evaluate baseline vital signs )Provide oxygen วัด O2 sat
Establish IV access ให้มารดา obtain Blood exam (DTX,CBC,PT,PTT,BS,BUN,Cr,Electrolyte)
-เด็ก ให้ประเมิน Apgar score, keep warm ,ตัดcord sterile
แจ้ง CODE BBA ที่ห้องฉุกเฉินฝั่ง non trauma 02 – 5347147

Code CPR (at Scene )
Case nontruama ที่มีการCPR ณ ที่เกิดเหตุ
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-เริ่มต้นด้วย BLS เสมอ ถ้ามีแพทย์ ACLS
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ( Evaluate baseline vital signs )Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV access ให้มารดา obtain Blood exam (DTX,CBC,PT,PTT,BS,BUN,Cr,Electrolyte) และเก็บ
tube เลือดไว้ส่งเพิ่มเติม
-แจ้ง CODE CPR ที่ ER non trauma 02 – 5347147

Code MI Fast tract
MI Fast tract
-ผู้ป่วยที่มี chest pain และ monitor EKGเป็น Myocardial Infraction
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญ อาการเจ็บหน้าอก อายุผู้ป่วย โรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน
ในเลือด โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Aspirin(grV) 1 เม็ดเคี้ยวทันที,Isordil 5 mg SL, Morphine 2-4 mg iv PRN for chest pain ตามสมควร
-Establish IV ascess and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count,
PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,CK CKMB,Trop-T,HBsAg,Anti-HIV
-Activate MI Team ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วยตั้งแต่ถึงโรงพยาบาล ติดต่อประสานอายุรแพทย์ห้องฉุกเฉินให้มารับ
ผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน และรายงานcase กับอายุรแพทย์โรคหัวใจ
-monitor EKG ตลอดระยะเวลาก่อนที่จะมาถึงโรงพยาบาล
Trauma
                                           ในกรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุ
Code A (airway) ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ทางเดินหายใจอุดตัน
- ผู้ป่วยหมดสติ(Uncincious) เมื่อนอนหงาย มีน้าลายหรือเลือดออกอุดตันทางเดินหายใจส่วนต้น
- การบาดเจ็บที่รุนแรงของใบหน้ามีการบวมมาก เลือดออกมาก (maxillofacial injuries)
- สิ่งแปลกปลอมในปาก คอ หรือลงไปในหลอดลม เช่น ฟันปลอม
- การบาดเจ็บที่คอ Larynx, trachea มีการบวม
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-สามารถเปิดทางเดินหายใจได้- ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ER
พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident Surgery ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน
-ไม่สามารถเปิดทางเดินหายใจได้- ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ER
พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident 2 trauma ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและ
เตรียมอุปกรณ์ difficult Airway ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ.
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น herarin lockหรือ IV LRS และ IV LRSอีกเส้น) and obtain blood
samples เจาะ DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group,
G/M PRC 1 unit

Code B (Breathing, Ventilation)ผู้ป่วยอุบัติเหตุทางเดินหายใจอุดตันส่วนล่าง
ความผิดปกติที่นอกเหนือจากการอุดตันของทางเดินหายใจ มีผลให้เกิดปัญหาของการหายใจได้ไม่เพียงพอ
- Tension pneumothorax
- Massive hemothorax
- Open pneumothorax or sucking chest wound
- Flail chest
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV ascess (เปิด IV LRS) and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count,
PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit
-ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย
ติดต่อประสาน Resident 2 trauma ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและเตรียมอุปกรณ์ difficult
Airway,ICD (อุปกรณ์chest drain) ตามx-ray portable,เครี่องultrasound ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation
trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ.

Code C (circulation) ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ระบบหมุนเวียนโลหิตผิดปกติ
ระบบหมุนเวียนโลหิตผิดปกติ ที่สาคัญคือ Shock เป็นภาวะที่ทาให้ Blood supply ไปยังอวัยวะต่าง ๆ
ไม่เพียงพอ(inadequate tissue perfusion) อาการแสดงที่สาคัญ คือ Hypotension, impairment of
consciousness,cyanosis, oliguria
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น IV LRS loading) and obtain blood samples เจาะ DTX CBC with
plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit
-ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย
ติดต่อประสาน Resident surgery ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและ ตามx-ray portable,เครี่อง
ultrasound,foley’s catheter ,อุปกรณ์ DPL, central line,set cutdownให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma
room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ.

Code M (Multiply Injury)
ผู้ป่วยอุบัติเหตุบาดเจ็บ 2 ระบบขึ้นไปและสัญญาณชีพไม่คงที่
กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า
-Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม
-Provide oxygen วัด O2 sat
-Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น IV LRS loading) and obtain blood samples เจาะ DTX CBC with
plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 2 unit
-Activate trauma team
-ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย
ติดต่อประสาน Staff trauma team ,Neuro surgery และ chief resident orthoให้มารับผู้ป่วย ที่ห้องฉุกเฉินและ
ตามx-ray portable,เครี่องultrasound,foley’s catheter ,อุปกรณ์ DPL, central line,set cutdown,set open
thoracotomy,ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ.
-ติดต่อประสานกับห้องผ่าตัดเพื่อเตรียมผู้บาดเจ็บเข้าห้องผ่าตัดฉุกเฉิน
-ประสานห้องเลือดขอเตรียมเลือด group O Rh+

More Related Content

What's hot

TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม  แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (16)

Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม  แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 

Viewers also liked

นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์taem
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56Dpc Phitsanulok
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมsomjit003
 
Emergency care for elderly
Emergency care for elderlyEmergency care for elderly
Emergency care for elderlytaem
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุtaem
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุThanai Punyakalamba
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setuptaem
 
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014MU
 
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรtaem
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์taem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษtaem
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nursetaem
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุJit Khasana
 

Viewers also liked (20)

นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
Emergency care for elderly
Emergency care for elderlyEmergency care for elderly
Emergency care for elderly
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setup
 
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
 
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurse
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุ
 

Similar to นวัตกรรมแพทย์

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptxssuserab8097
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...Narenthorn EMS Center
 

Similar to นวัตกรรมแพทย์ (20)

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
Introduction to em
Introduction to emIntroduction to em
Introduction to em
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDtaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 

นวัตกรรมแพทย์

  • 1. นวัตกรรมการแพทย์ฉุกเฉิน พญ.สุทธสินี เจียมประเสริฐ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะวิกฤตของชีวิต หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสมแล้ว อาจจะทา ให้เกิดการสูญเสียชีวิต อวัยวะหรือเกิดความบกพร่องในการทางานของอวัยวะสาคัญ รวมทั้งทาให้การ บาดเจ็บหรืออาการป่วยรุนแรงขึ้นโดยไม่สมควร ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบ การแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทุกมิติ การพัฒนาบุคลากรและระบบการรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉินเพื่อให้มีศักยภาพในการทางานกับระบบที่ดีและ เครื่องมือที่เหมาะสมจะทาให้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนที่ ต้องการ ความช่วยเหลือในช่วงเวลาวิกฤตได้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อให้เป็นกาลัง สาคัญของการทางานในเชิงรุกและมีความเป็นสากล หน่วยกู้ชีพคุ้มเกล้าฯ เมื่อไปรับผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุแล้วยังเล็งเห็นความสาคัญในการดูแลผู้ป่วย ต่อเนื่องที่มาถึงโรงพยาบาลจึงได้จัดทา activate code ขึ้นเพื่อให้ห้องฉุกเฉินได้มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากรที่จาเป็นและมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยต่อไป โดยเริ่มดาเนินงานตั้งแต่เดือนมกราคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้เข้าถึงบริการแพทย์ฉุกเฉินอย่างรวดเร็ว ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมาตรฐาน 2. เพื่อเป็นหน่วยประสานเชื่อมโยงกับห้องฉุกเฉินและอุบัติเหตุ กรณีผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ให้ได้รับการบริการที่ เร่งด่วน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยฉุกเฉิน* ทุกคนที่หน่วยกู้ชีพคุ้มเกล้าฯไปรับ ณ จุดเกิดเหตุ ผู้ป่วยฉุกเฉิน* คือ 1.ผู้ป่วยหมดสติและเรียกไม่รู้สึกตัว 2.ผู้ป่วยหยุดหายใจ 3.ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น 4.ผู้ป่วยอุบัติเหตุรุนแรงมีการบาดเจ็บหลายส่วนของร่างกายและเกิดภาวะช็อก (Multiple injury with unstable V/S and shock) 5.ผู้ป่วยมีภาวะเลือดออกที่ไม่ได้มีสาเหตุจากอุบัติเหตุและเกิดภาวะช็อก (Bleeding with unstable V/S and shock)
  • 2. Nontrauma ( 4 Activate Fast Tract Code) ในกรณีผู้ป่วยฉุกเฉิน Code Acute Stroke Fast tract -ผู้ป่วยมีอาการที่เข้าได้กับ stroke ตามThe Cincinnati Prehospital Stroke Scale ไม่เกิน 4.5ชม. The Cincinnati Prehospital Stroke Scale ประกอบด้วยอาการ 3 อย่างที่สาคัญ 1.1 Facial Droop ปากเบี้ยวข้างใดข้างหนึ่ง 1.2 Arm Drift เมื่อให้ผู้ป่วยหลับตา แบมือและเหยียดแขนตรงไปด้านหน้า แล้วมีแขนข้างใดข้างหนึ่งตก 1.3 Abnormal Speech ผู้ป่วยไม่สามารถพูดได้จบประโยค “ยายพาหลานไปซื้อของที่ตลาด” (สงสัยโรคหลอดเลือดสมองใน 3 ชม. ปากเบี้ยว แขนข้างใดข้างหนึ่งอ่อนแรง พูดไม่ชัด) กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญ อาการ ระยะเวลา ประวัติโรคลมชัก เบาหวาน -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs) -Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น herarin lock และ IV 0.9% NSS) and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit -Perform neurologic screening ตรวจร่างกายทางระบบประสาท -Activate Stroke Team ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์เวชศาสตร์ ฉุกเฉิน พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วยตั้งแต่ถึงโรงพยาบาลจนขึ้น ward 8/2 ติดต่อประสาน อายุรแพทย์ห้องฉุกเฉิน ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน แจ้งพยาบาลทีward8/2ว่ามีผู้ป่วยstroke fast track เพื่อ ่ รายงานอายุรแพทย์ระบบประสาท ต่อไป -order CT brain scan ประสานห้อง CT และส่งผู้ป่วย ทาNon-contrast CT brain ด่วน -monitor EKG ตลอดระยะเวลาก่อนที่จะมาถึงโรงพยาบาล Code BBA (Birth before admit) Case BBA (birth before admit) Case สูติ case ผู้หญิงตั้งครรภ์มีเด็กศีรษะโผล่หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือคลอดออกมาแล้ว กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญทางสูติศาสตร์ GA น้าเดิน -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ( Evaluate baseline vital signs )Provide oxygen วัด O2 sat
  • 3. Establish IV access ให้มารดา obtain Blood exam (DTX,CBC,PT,PTT,BS,BUN,Cr,Electrolyte) -เด็ก ให้ประเมิน Apgar score, keep warm ,ตัดcord sterile แจ้ง CODE BBA ที่ห้องฉุกเฉินฝั่ง non trauma 02 – 5347147 Code CPR (at Scene ) Case nontruama ที่มีการCPR ณ ที่เกิดเหตุ กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -เริ่มต้นด้วย BLS เสมอ ถ้ามีแพทย์ ACLS -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ( Evaluate baseline vital signs )Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV access ให้มารดา obtain Blood exam (DTX,CBC,PT,PTT,BS,BUN,Cr,Electrolyte) และเก็บ tube เลือดไว้ส่งเพิ่มเติม -แจ้ง CODE CPR ที่ ER non trauma 02 – 5347147 Code MI Fast tract MI Fast tract -ผู้ป่วยที่มี chest pain และ monitor EKGเป็น Myocardial Infraction กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -ถามประวัติผู้ป่วยที่สาคัญ อาการเจ็บหน้าอก อายุผู้ป่วย โรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ในเลือด โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs) -Provide oxygen วัด O2 sat -Aspirin(grV) 1 เม็ดเคี้ยวทันที,Isordil 5 mg SL, Morphine 2-4 mg iv PRN for chest pain ตามสมควร -Establish IV ascess and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,CK CKMB,Trop-T,HBsAg,Anti-HIV -Activate MI Team ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วยตั้งแต่ถึงโรงพยาบาล ติดต่อประสานอายุรแพทย์ห้องฉุกเฉินให้มารับ ผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน และรายงานcase กับอายุรแพทย์โรคหัวใจ -monitor EKG ตลอดระยะเวลาก่อนที่จะมาถึงโรงพยาบาล
  • 4. Trauma ในกรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุ Code A (airway) ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ทางเดินหายใจอุดตัน - ผู้ป่วยหมดสติ(Uncincious) เมื่อนอนหงาย มีน้าลายหรือเลือดออกอุดตันทางเดินหายใจส่วนต้น - การบาดเจ็บที่รุนแรงของใบหน้ามีการบวมมาก เลือดออกมาก (maxillofacial injuries) - สิ่งแปลกปลอมในปาก คอ หรือลงไปในหลอดลม เช่น ฟันปลอม - การบาดเจ็บที่คอ Larynx, trachea มีการบวม กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -สามารถเปิดทางเดินหายใจได้- ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ER พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident Surgery ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน -ไม่สามารถเปิดทางเดินหายใจได้- ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ER พร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident 2 trauma ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและ เตรียมอุปกรณ์ difficult Airway ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ. -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม -Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น herarin lockหรือ IV LRS และ IV LRSอีกเส้น) and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit Code B (Breathing, Ventilation)ผู้ป่วยอุบัติเหตุทางเดินหายใจอุดตันส่วนล่าง ความผิดปกติที่นอกเหนือจากการอุดตันของทางเดินหายใจ มีผลให้เกิดปัญหาของการหายใจได้ไม่เพียงพอ - Tension pneumothorax - Massive hemothorax - Open pneumothorax or sucking chest wound - Flail chest กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม -Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV ascess (เปิด IV LRS) and obtain blood samples เจาะ DTX ,CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit -ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident 2 trauma ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและเตรียมอุปกรณ์ difficult
  • 5. Airway,ICD (อุปกรณ์chest drain) ตามx-ray portable,เครี่องultrasound ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ. Code C (circulation) ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ระบบหมุนเวียนโลหิตผิดปกติ ระบบหมุนเวียนโลหิตผิดปกติ ที่สาคัญคือ Shock เป็นภาวะที่ทาให้ Blood supply ไปยังอวัยวะต่าง ๆ ไม่เพียงพอ(inadequate tissue perfusion) อาการแสดงที่สาคัญ คือ Hypotension, impairment of consciousness,cyanosis, oliguria กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม -Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น IV LRS loading) and obtain blood samples เจาะ DTX CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 1 unit -ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Resident surgery ER ให้มารับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและ ตามx-ray portable,เครี่อง ultrasound,foley’s catheter ,อุปกรณ์ DPL, central line,set cutdownให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ. Code M (Multiply Injury) ผู้ป่วยอุบัติเหตุบาดเจ็บ 2 ระบบขึ้นไปและสัญญาณชีพไม่คงที่ กิจกรรมที่ทาเมื่อพบผู้ป่วยของเจ้าหน้าที่ศูนย์กู้ชีพคุ้มเกล้า -Assess ABCDs วัดสัญญาณชีพ(evaluate baseline vital signs)และ stabilize ผู้ป่วยให้เหมาะสม -Provide oxygen วัด O2 sat -Establish IV ascess (เปิด IV 2 เส้น เป็น IV LRS loading) and obtain blood samples เจาะ DTX CBC with plt count, PT,PTT,Glucose,BUN,Cr,Electrolyte,Blood group, G/M PRC 2 unit -Activate trauma team -ติดต่อประสานงานและรายงาน case กับพยาบาลคัดกรองและแพทย์ERพร้อมเจ้าหน้าที่เปลเตรียมรับผู้ป่วย ติดต่อประสาน Staff trauma team ,Neuro surgery และ chief resident orthoให้มารับผู้ป่วย ที่ห้องฉุกเฉินและ ตามx-ray portable,เครี่องultrasound,foley’s catheter ,อุปกรณ์ DPL, central line,set cutdown,set open thoracotomy,ให้พร้อม ณ ห้อง resuscitation trauma room ของ ER ก่อนผู้ป่วยมาถึงรพ. -ติดต่อประสานกับห้องผ่าตัดเพื่อเตรียมผู้บาดเจ็บเข้าห้องผ่าตัดฉุกเฉิน -ประสานห้องเลือดขอเตรียมเลือด group O Rh+